SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
CO-WORKING SPACE IN
BANGKOK
บทวิเคราะห์โดย
- ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์ -
แนวคิดเศรษฐกิจแบ่งปัน
ลองจินตนาการถึงชีวิตที่เราไม่ต้องเป็นเจ้าของอะไรเลย แต่เราใช้วิธีการเช่าทั้งทรัพย์สินและบริการ โดยเมื่อคิดถึงต้นทุนค่าเช่ากลับ
ถูกกว่าการซื้อมาเป็นเจ้าของเสียอีก เพราะเราจ่ายค่าเช่าเฉพาะสิ่งที่เราต้องการ แค่ในช่วงเวลาที่เราใช้งาน หรือจ่ายเงินเพื่อใช้เท่าที่จาเป็นไม่
มากไม่น้อยไป ซึ่งในทางทฤษฎีแล้วเหตุการณ์แบบนี้จะทาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้ทรัพย์สินรวมทั้งบริการ แนวคิดนี้กาลังได้รับความ
สนใจอย่างแพร่หลายดังที่เรารู้จักกันในชื่อ “เศรษฐกิจแบ่งปัน” หรือ Sharing economy
ปัจจุบันเราได้เห็นการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของธุรกิจที่อาศัยแนวคิดนี้ โดยมีปัจจัยเกื้อหนุนจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีซึ่ง
ช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานผ่านแพลตฟอร์มดิจิตอล ทาให้พฤติกรรมผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้นว่าจะซื้อหรือเช่า เช่น
อุตสาหกรรมเพลง เราอาจเลือกซื้อที่เป็นซีดี แผ่นเสียง หรือเป็นไฟล์ดิจิตอล รวมทั้งอาจฟังผ่านสตรีมมิ่ง ขณะที่อุตสาหกรรมรถยนต์
เราอาจเลือกซื้อเป็นของตนเอง หรือเช่าชั่วคราว รวมทั้งใช้บริการผ่าน Grab หรือ Uber เป็นต้น
พฤติกรรมที่กาลังเปลี่ยนไปดังตัวอย่างข้างต้นนี้ ช่วยสะท้อนให้เราเห็นภาพการบริโภคนั้นกาลังมุ่งสู่การแบ่งปันสินทรัพย์
ทางกายภาพเป็นบริการ โดยคาดกันว่าในอีก 10 ปีข้างหน้า รายได้จากธุรกิจการเช่าแบบดั้งเดิมจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในขณะที่รายได้จากธุรกิจที่
ดาเนินตามระบบเศรษฐกิจแบบแบ่งปันจะเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด ดังผลการวิจัยของไพรซ์วอเทอร์เฮาส์คูเปอส์1 ดังแสดงในรูปที่ 1
รูปที่ 1 คาดการณ์รายได้ระหว่างธุรกิจในระบบเศรษฐกิจแบ่งปันและธุรกิจให้เช่าแบบดั้งเดิม2
ที่มา: PricewaterhouseCoopers, 2560 เรียบเรียงโดย ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์
1 ไพรซ์วอเทอร์เฮาส์คูเปอส์ (PricewaterhouseCoopers หรือ PwC) เป็นหนึ่งในบริษัทตรวจสอบบัญชีสี่แห่งที่ใหญ่ที่สุดในโลกควบคู่กับ ดีลอยต์ทูชโทมัตสุ, เอินส์ท แอนด์ ยัง
และ เคพีเอ็มจี
2 Hawksworth, J., Vaughan, R., & Vaughan, R. (2014). The sharing economy – sizing the revenue opportunity, 2025, 1–6. PricewaterhouseCoopers.
Retrieved February 16, 2017, from: www.pwc.co.uk
15
240
335
335
0 100 200 300 400 500 600 700
ธุรกิจในระบบเศรษฐกิจแบ่งปัน:
Sharing Economy
ธุรกิจให้เช่าแบบดั้งเดิม:
Traditional Rental
ปี 2556
ปี 2568
หน่วย:
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ธุรกิจในระบบเศรษฐกิจแบ่งปัน
>> Sharing Economy
ธุรกิจให้เช่าแบบดั้งเดิม
>> Traditional Rental
พื้นที่สานักงานร่วมเกาะกระแสแห่งการแบ่งปัน
พื้นที่สานักงานร่วม หรือ Co-working Space เป็นหนึ่งในธุรกิจที่พบเห็นได้ทั่วไปในหลายเมืองใหญ่ทั่วโลก ขณะที่ในประเทศไทย
ส่วนใหญ่จะเป็นการให้เช่าพื้นที่ภายในอาคารขนาด 100-200 ตารางเมตร เน้นตอบโจทย์กลุ่มคนรุ่นใหม่ซึ่งไม่ชอบความจาเจของการนั่ง
ทางานแบบเดิมๆในออฟฟิศ รวมถึงผู้ประกอบการที่เพิ่งเริ่มต้นธุรกิจ ต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายที่มาจากค่าเช่าและค่าอุปกรณ์เครื่องใช้
สานักงานแต่ยังคงต้องการสถานที่ทางานที่ให้ภาพลักษณ์ความเป็นมืออาชีพ มีที่อยู่สาหรับติดต่อลูกค้าหรือมีสถานที่จัดประชุมคล้ายกับ
เป็นออฟฟิศของบริษัทเอง แต่จ่ายน้อยกว่าการเช่าอาคารสานักงานตามปกติ ด้วยเหตุนี้พื้นที่สานักงานร่วมจึงเป็นทางเลือกที่กาลังได้รับ
ความนิยมสาหรับเหล่าสตาร์ท-อัพ ฟรีแลนซ์ และนักศึกษา ที่ต้องการใช้บริการสถานที่ที่มีสิ่งอานวยความสะดวกครบครันสาหรับการทางาน
จากจุดกาเนิดในปี 2548 ที่สหรัฐอเมริกา ความนิยมนี้ได้ขยายมาสู่ประเทศในแถบเอเชียโดยยังคงมีแนวโน้มการตอบรับที่ดีและ
เติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ดังเห็นได้จากรายงานการประชุมของ GCUC3 ในปี 2560 ที่พบจานวนผู้ใช้บริการราว 1.74 ล้านรายทั่วโลกและ
จานวนผู้ใช้บริการขยายตัวนับจากปี 2558 เฉลี่ยถึง 83% ต่อปี พร้อมกันนี้รายงาน GCUC ยังคาดการณ์ไว้อีกว่าจานวนผู้ใช้จะเพิ่มไปถึง
5.1 ล้านรายในปี 2565 ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลให้จานวนพื้นที่สานักงานร่วมมีการขยายตัวเพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากปัจจุบันใน
ปี 2561 ที่น่าจะมีอยู่ 17,725 แห่งและเติบโตเฉลี่ยราว 16% ต่อปีนั้นกลายเป็น 30,432 แห่งทั่วโลกในปี 2565
รูปที่ 2 คาดการณ์จานวนพื้นที่สานักงานร่วมระหว่างปี 2558 – 2565 ในทุกประเทศ4
ที่มา: Global Co-working Unconference Conference, 2560 และ Money & Wealth, 2559 เรียบเรียงโดย ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์
การจัดประเภทของธุรกิจพื้นที่
ส า นั ก ง า น ร่ ว ม มั ก อ อ ก แ บ บ ต า ม
กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการให้บริการโดยเรา
สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ด้วยกัน
โดยแบบแรกเรียกว่า Total Office จะเน้น
บรรยากาศภายในพื้นที่ที่ค่อนข้างเป็นทางการ
สาหรับกลุ่มที่ต้องการความน่าเชื่อถือและใช้
งานเพื่อประชุมติดต่อกับลูกค้า เช่น บัญชี
กฎหมาย PR Agency เป็นต้น มีอุปกรณ์
สานักงานไว้คอยบริการ มีราคาค่าใช้บริการ
พื้นที่ค่อนข้างสูง พฤติกรรมลูกค้าจึงเลือกใช้
พื้นที่เฉพาะช่วงเวลาที่จาเป็นเท่านั้น หรือการ
ใช้บริการต่อครั้งมีเวลาไม่นาน
3 Global Co-working Unconference Conference หรือ GCUC เป็นการประชุมของผู้ประกอบการพื้นที่สานักงานร่วมทั่วโลก เพื่อนาเสนอผลการสารวจและหาแนวทาง
พัฒนาต่อยอดธุรกิจทั้งในด้านการออกแบบ, สถานที่, แบรนด์และการสร้างชุมชนระหว่างผู้ใช้งาน
4 Stromy McBride (201). 2018 Global co-working forecast, 1–3. Global Co-working Unconference Conference USA. Retrieved December 18, 2017,
from: www. usa.gcuc.co
 ตัวอย่าง Total Office Space: Kliquedesk สุขุมวิท 23 (ประสานมิตร)
50 71
7,805
11,100
14,411
17,725
21,306
24,306
27,919
30,432
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565
ทุกประเทศ ประเทศไทย
50 71 91
รูปแบบต่อมาเราจะเห็นได้เยอะบริเวณกลางเมืองช่วงสีลม, ปทุมวัน
และพญาไท โดยเรียกว่า Co-working Places ซึ่งกลุ่มลูกค้าจะเป็นนักเรียน,
นักศึกษาที่ต้องการมาติวหนังสือ รวมไปถึงฟรีแลนซ์ที่อยากนั่งทางานส่วนตัว
แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ด้วย ทางร้านจะตกแต่งไว้
อย่างทันสมัยแต่ไม่เป็นทางการ ราคาค่าใช้บริการพื้นที่ไม่สูงมาก ลูกค้าส่วนใหญ่
มักนั่งใช้บริการค่อนข้างนาน และรูปแบบสุดท้ายเรียกว่า Startup-oriented
incubators เหมาะสาหรับกลุ่มสตาร์ทอัพซึ่งบางพื้นที่จะให้บริการเฉพาะกลุ่มที่
เป็นสตาร์ทอัพเข้าใช้บริการเท่านั้น เพื่อที่จะให้กลุ่มคนสามารถแชร์ความคิด
สร้างสรรค์ซึ่งกันและกันได้อย่างเต็มที่ อีกทั้งอาจมีการสนับสนุนในเรื่องของ
การลงทุนหรืออบรมความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสตาร์ทอัพอีกด้วย
หันกลับมามองจุดเริ่มต้นของธุรกิจพื้นที่สานักงานร่วมในประเทศไทย เมื่ออุทกภัยครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกลุ่มคนทางาน
ทั้งพนักงานบริษัท, นักธุรกิจและฟรีแลนซ์หลายรายไม่สามารถไปทางานยังออฟฟิศได้ตามปกติ จึงต้องอาศัยร้านกาแฟหรือร้านอาหารที่มี
สัญญาณ Wi-Fi ในการทางานแทน คุณอมฤตซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ต้องตกอยู่ในสถานการณ์นี้ จึงได้เล็งเห็นโอกาสและกลายเป็นจุดเริ่มต้นใน
การศึกษาธุรกิจ Co-working Space จนกระทั่งในปีต่อมาได้เปิดตัว HUBBA Coworking Space ขึ้นมาและถือเป็นพื้นที่สานักงานร่วม
แห่งแรกในประเทศไทย
ถึงปัจจุบันเราพบว่ามีพื้นที่สานักงานร่วมทั้งหมด 91 แห่งทั่วประเทศ โดย 70% เป็นพื้นที่ที่ให้บริการในกรุงเทพมหานคร และ 30%
ไปกระจายอยู่ตามหัวเมืองต่างจังหวัด เช่น เชียงใหม่ ภูเก็ต พัทยา หาดใหญ่ เป็นต้น มีค่าใช้บริการแบบรายวันประมาณ 180 - 500 บาท
หรืออาจคิดค่าบริการแบบเหมารายเดือนประมาณ 3,000 - 7,450 บาท ด้วยรูปแบบที่ยืดหยุ่นและตอบโจทย์การทางานของคนรุ่นใหม่จึงทา
ให้ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาธุรกิจมีการขยายสาขาเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 35% ด้วยข้อมูลทั้งหมดนี้อาจสรุปแนวโน้มของพื้นที่สานักงานร่วมได้ว่า
เป็นธุรกิจที่มีทิศทางเติบโตได้อีกมากในอนาคตทั้งภายในประเทศไทยและประเทศอื่นทั่วโลก
ทางเลือกที่กาลังได้รับความนิยม
ในยุคของ Information technology นับเป็นช่วงเวลาที่
ทุกอย่างถูกเชื่อมโยงเข้าหากันด้วยเทคโนโลยี ทาให้การพัฒนาการของ
เศรษฐกิจ สังคม และชุมชน ภายในประเทศไทยถูกเชื่อมโยงไว้กับ
โครงข่ายการสื่อสารทั้งแบบไร้สายและมีสาย เสริมด้วยการพัฒนา
ทางด้านเทคโนโลยีที่นาไปสู่ระบบดิจิตอลภายใต้แนวโน้มใหญ่ 4 ประการ
คือ Big Data, Cloud Computing, Software as a Service
(SAAS) และ Internet of Thing โดยที่กระแส Internet of Thing
กาลังเป็นแนวโน้มใหญ่ที่จะเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ของผู้คนในประเทศให้
สามารถเลือกใช้ทรัพยากรได้อย่างสอดคล้องกับความต้องการ
ส่วนตัวรวมไปถึงความต้องการทางธุรกิจ
ในอีกทางหนึ่ง เมื่อพิจารณาจากกระแสการเพิ่มขึ้นของกลุ่ม
คนที่หันมาทางานอาชีพอิสระที่เพิ่มขึ้นบวกกับพฤติกรรมการทางาน
ของกลุ่ม Generation Y ที่ต้องการความยืดหยุ่นไม่ยึดติดกับ
สถานที่ทางานแบบเดิมๆ จึงส่งเสริมให้ธุรกิจ Co-working Space
สามารถเข้ามาตอบโจทย์ได้ตั้งแต่ความต้องการพื้นฐานทั้งในด้านวัสดุ
อุปกรณ์สานักงาน สิ่งอานวยความสะดวก ห้องประชุม และอาจเสริม
เรื่องการรวมเป็นชุมชน (Communities) ที่มีวิธีการคิด วิธีการทางาน
แบบเดียวกันให้มาช่วยแบ่งปันต่อยอดกันในเชิงธุรกิจได้อีกด้วย
 ตัวอย่าง Co-working Places: Growth Café & Co. สยามสแควร์
 สัดส่วน Co-working space แต่ละภูมิภาคในประเทศไทย พ.ศ. 2560
ด้านทาเลที่ตั้งของพื้นที่บริการ
ถือเป็นประเด็นสาคัญอีกเรื่องหนึ่งที่เรายัง
พบว่าปัจจุบันนิยมตั้งอยู่ในเขตที่สามารถ
เดินทางติดต่อธุรกิจหรือนัดประชุมระหว่าง
กันได้ง่าย จึงทาให้บริเวณที่เป็นศูนย์กลาง
ธุรกิจหรือเขตกรุงเทพชั้นใน ทั้งพื้นที่อโศก
และสีลม สาธร ซึ่งเดิมมีอาคารสานักงาน
ตั้งอยู่มากมาย ได้รับความสนใจในการพัฒนา
เป็นพื้นที่สานักงานร่วมเพื่อสร้างทางเลือก
ใหม่สาหรับกลุ่มเป้าหมายที่มีความต้องการ
หลากหลายขึ้นกว่าในอดีต
กระแสธุรกิจตัวนี้ได้ดึงดูดความ
น่าสนใจให้ทั้งนักธุรกิจภายในประเทศและกลุ่ม
นักธุรกิจจากต่างประเทศซึ่งมีทั้งประสบการณ์
และความเชี่ยมชาญจากการให้บริการมาแล้ว
ในหลายประเทศทั่วโลก ต่างอยากเข้ามาลงทุนในประเทศไทย เช่น JustCo จากสิงคโปร์ที่เป็นผู้เล่นรายใหญ่ ก็เล็งเห็นโอกาสในการเติบโตและ
เลือกเข้ามาเปิดสาขาในประเทศไทยถึง 2 สาขาใน 2 ทาเลที่เป็นศูนย์กลางของออฟฟิศในเขตเมือง โดยยังคงตอกย้าถึงจุดเด่นของตนที่เน้น
การเลือกตั้งสาขาในทาเลที่มีศักยภาพ ควบคู่กับพื้นที่ให้บริการที่มีขนาดใหญ่อีกด้วย
รูปที่ 3 เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายระหว่างการเช่าพื้นที่สานักงานร่วมกับอาคารสานักงานทั่วไป
เขตและพื้นที่ทาเล
ค่าเช่าและค่าบริการ ( บาท ต่อ เดือน )
พื้นที่สานักงานร่วม อาคารสานักงาน
อโศก 5,170
145,507
(เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 227 ตร.ม.)
พหลโยธิน 5,010
69,126
(เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 123 ตร.ม.)
สีลม สาธร 5,733
114,600
(เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 150 ตร.ม.)
พญาไท 4,360
67,984
(เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 112 ตร.ม.)
ที่มา: ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์
แต่อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็กที่เพิ่งเริ่มต้น เป็นสตาร์ท-อัพ หรือเป็นฟรีแลนซ์ เบื้องต้นค่าใช้จ่ายอาจเป็นแรงจูงใจหลัก
ที่ทาให้คนกลุ่มนี้รู้สึกว่าไม่ต้องจ่ายถึงเดือนละเป็นแสนในการเช่าสานักงานที่แถวสีลม สาธร แต่กลับจ่ายเพียงไม่ถึง 6,000 บาท ในขณะที่
ทาเลก็อยู่ในเขตเดียวกัน โซนเดียวกัน ใกล้รถไฟฟ้าเหมือนกัน ตกแต่งดูทันสมัยและตอบโจทย์อื่นๆได้เหมือนกัน แต่หากวิเคราะห์ให้ลึกลงไป
แล้วจะพบว่า สิ่งที่พื้นที่สานักงานร่วมประสบความสาเร็จและเติบโตขึ้นเรื่อยๆ มาจากลักษณะการทางานภายในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้
เกิดการแบ่งปัน ทั้งในด้านความคิด ความสร้างสรรค์งานที่ผู้บริหารพื้นที่สานักงานร่วมแต่ละแห่ง ต่างใช้เป็นกลยุทธ์หลักในการบริหารจัดการ
ร้านค้าให้สามารถชักจูงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่มีศักยภาพการเติบโตสูงเหล่านี้จับมือและดึงให้ธุรกิจเติบโตตามไปด้วย
ข้อจากัดในความรับผิดชอบ : งานวิจัยนี้จัดทาขึ้นจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ดี
ทีมวิจัยไม่ได้รับรองความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหาและความคิดเห็นที่ปรากฎในงานวิจัย
ตลอดจนปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัย นอกจากนี้บุคคลใน บริษัท แสนสิริ จากัด (มหาชน)
และ บริษัท พลัส พร็อพเพอร์ตี้ จากัด จะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในกรณีที่เกิดความเสียหาย
ทั้งทางตรงและทางอ้อมอันเกิดจากการใช้ข้อมูลวิจัยหรือข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยฉบับนี้
คณะผู้เขียน: ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์
เอกรัฐ พิมไทย EAKARAT@SANSIRI.COM
ปรารถนา ชานาญกิจ PRATANA@SANSIRI.COM
ปารมี ตีรบุลกุล PARAMEET@SANSIRI.COM
 ค่าบริการเฉลี่ยต่อวันและต่อเดือนของ Co-Working Space ในแต่ละทาเล

More Related Content

Similar to Co-working Space Analysis in Thailand

การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
kasetpcc
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Patchara Pussadee
 
โคงงาน vintage -3-
โคงงาน vintage -3-โคงงาน vintage -3-
โคงงาน vintage -3-
Bin Breakbad
 
How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)
How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)
How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)
Paiboon Panusbordee
 
ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
palmpannawat
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
Mc'Or K-kung
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
bbeammaebb
 

Similar to Co-working Space Analysis in Thailand (20)

Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
03
0303
03
 
Cms
CmsCms
Cms
 
Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
001
001001
001
 
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงานใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
ใบงานที่3 ขอบข่ายและประเถทของโครงงาน
 
โคงงาน vintage -3-
โคงงาน vintage -3-โคงงาน vintage -3-
โคงงาน vintage -3-
 
03
0303
03
 
03
0303
03
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)
How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)
How to maintain the cost and scale up plan from 1 user to 1 million users (thai)
 
ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
Social Network & Social Media for PR
Social Network & Social Media for PRSocial Network & Social Media for PR
Social Network & Social Media for PR
 

Co-working Space Analysis in Thailand

  • 1. CO-WORKING SPACE IN BANGKOK บทวิเคราะห์โดย - ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์ - แนวคิดเศรษฐกิจแบ่งปัน ลองจินตนาการถึงชีวิตที่เราไม่ต้องเป็นเจ้าของอะไรเลย แต่เราใช้วิธีการเช่าทั้งทรัพย์สินและบริการ โดยเมื่อคิดถึงต้นทุนค่าเช่ากลับ ถูกกว่าการซื้อมาเป็นเจ้าของเสียอีก เพราะเราจ่ายค่าเช่าเฉพาะสิ่งที่เราต้องการ แค่ในช่วงเวลาที่เราใช้งาน หรือจ่ายเงินเพื่อใช้เท่าที่จาเป็นไม่ มากไม่น้อยไป ซึ่งในทางทฤษฎีแล้วเหตุการณ์แบบนี้จะทาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้ทรัพย์สินรวมทั้งบริการ แนวคิดนี้กาลังได้รับความ สนใจอย่างแพร่หลายดังที่เรารู้จักกันในชื่อ “เศรษฐกิจแบ่งปัน” หรือ Sharing economy ปัจจุบันเราได้เห็นการเติบโตอย่างก้าวกระโดดของธุรกิจที่อาศัยแนวคิดนี้ โดยมีปัจจัยเกื้อหนุนจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีซึ่ง ช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งานผ่านแพลตฟอร์มดิจิตอล ทาให้พฤติกรรมผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้นว่าจะซื้อหรือเช่า เช่น อุตสาหกรรมเพลง เราอาจเลือกซื้อที่เป็นซีดี แผ่นเสียง หรือเป็นไฟล์ดิจิตอล รวมทั้งอาจฟังผ่านสตรีมมิ่ง ขณะที่อุตสาหกรรมรถยนต์ เราอาจเลือกซื้อเป็นของตนเอง หรือเช่าชั่วคราว รวมทั้งใช้บริการผ่าน Grab หรือ Uber เป็นต้น พฤติกรรมที่กาลังเปลี่ยนไปดังตัวอย่างข้างต้นนี้ ช่วยสะท้อนให้เราเห็นภาพการบริโภคนั้นกาลังมุ่งสู่การแบ่งปันสินทรัพย์ ทางกายภาพเป็นบริการ โดยคาดกันว่าในอีก 10 ปีข้างหน้า รายได้จากธุรกิจการเช่าแบบดั้งเดิมจะเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในขณะที่รายได้จากธุรกิจที่ ดาเนินตามระบบเศรษฐกิจแบบแบ่งปันจะเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด ดังผลการวิจัยของไพรซ์วอเทอร์เฮาส์คูเปอส์1 ดังแสดงในรูปที่ 1 รูปที่ 1 คาดการณ์รายได้ระหว่างธุรกิจในระบบเศรษฐกิจแบ่งปันและธุรกิจให้เช่าแบบดั้งเดิม2 ที่มา: PricewaterhouseCoopers, 2560 เรียบเรียงโดย ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์ 1 ไพรซ์วอเทอร์เฮาส์คูเปอส์ (PricewaterhouseCoopers หรือ PwC) เป็นหนึ่งในบริษัทตรวจสอบบัญชีสี่แห่งที่ใหญ่ที่สุดในโลกควบคู่กับ ดีลอยต์ทูชโทมัตสุ, เอินส์ท แอนด์ ยัง และ เคพีเอ็มจี 2 Hawksworth, J., Vaughan, R., & Vaughan, R. (2014). The sharing economy – sizing the revenue opportunity, 2025, 1–6. PricewaterhouseCoopers. Retrieved February 16, 2017, from: www.pwc.co.uk 15 240 335 335 0 100 200 300 400 500 600 700 ธุรกิจในระบบเศรษฐกิจแบ่งปัน: Sharing Economy ธุรกิจให้เช่าแบบดั้งเดิม: Traditional Rental ปี 2556 ปี 2568 หน่วย: พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ธุรกิจในระบบเศรษฐกิจแบ่งปัน >> Sharing Economy ธุรกิจให้เช่าแบบดั้งเดิม >> Traditional Rental
  • 2. พื้นที่สานักงานร่วมเกาะกระแสแห่งการแบ่งปัน พื้นที่สานักงานร่วม หรือ Co-working Space เป็นหนึ่งในธุรกิจที่พบเห็นได้ทั่วไปในหลายเมืองใหญ่ทั่วโลก ขณะที่ในประเทศไทย ส่วนใหญ่จะเป็นการให้เช่าพื้นที่ภายในอาคารขนาด 100-200 ตารางเมตร เน้นตอบโจทย์กลุ่มคนรุ่นใหม่ซึ่งไม่ชอบความจาเจของการนั่ง ทางานแบบเดิมๆในออฟฟิศ รวมถึงผู้ประกอบการที่เพิ่งเริ่มต้นธุรกิจ ต้องการประหยัดค่าใช้จ่ายที่มาจากค่าเช่าและค่าอุปกรณ์เครื่องใช้ สานักงานแต่ยังคงต้องการสถานที่ทางานที่ให้ภาพลักษณ์ความเป็นมืออาชีพ มีที่อยู่สาหรับติดต่อลูกค้าหรือมีสถานที่จัดประชุมคล้ายกับ เป็นออฟฟิศของบริษัทเอง แต่จ่ายน้อยกว่าการเช่าอาคารสานักงานตามปกติ ด้วยเหตุนี้พื้นที่สานักงานร่วมจึงเป็นทางเลือกที่กาลังได้รับ ความนิยมสาหรับเหล่าสตาร์ท-อัพ ฟรีแลนซ์ และนักศึกษา ที่ต้องการใช้บริการสถานที่ที่มีสิ่งอานวยความสะดวกครบครันสาหรับการทางาน จากจุดกาเนิดในปี 2548 ที่สหรัฐอเมริกา ความนิยมนี้ได้ขยายมาสู่ประเทศในแถบเอเชียโดยยังคงมีแนวโน้มการตอบรับที่ดีและ เติบโตได้อย่างต่อเนื่อง ดังเห็นได้จากรายงานการประชุมของ GCUC3 ในปี 2560 ที่พบจานวนผู้ใช้บริการราว 1.74 ล้านรายทั่วโลกและ จานวนผู้ใช้บริการขยายตัวนับจากปี 2558 เฉลี่ยถึง 83% ต่อปี พร้อมกันนี้รายงาน GCUC ยังคาดการณ์ไว้อีกว่าจานวนผู้ใช้จะเพิ่มไปถึง 5.1 ล้านรายในปี 2565 ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลให้จานวนพื้นที่สานักงานร่วมมีการขยายตัวเพื่อรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้นจากปัจจุบันใน ปี 2561 ที่น่าจะมีอยู่ 17,725 แห่งและเติบโตเฉลี่ยราว 16% ต่อปีนั้นกลายเป็น 30,432 แห่งทั่วโลกในปี 2565 รูปที่ 2 คาดการณ์จานวนพื้นที่สานักงานร่วมระหว่างปี 2558 – 2565 ในทุกประเทศ4 ที่มา: Global Co-working Unconference Conference, 2560 และ Money & Wealth, 2559 เรียบเรียงโดย ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์ การจัดประเภทของธุรกิจพื้นที่ ส า นั ก ง า น ร่ ว ม มั ก อ อ ก แ บ บ ต า ม กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการให้บริการโดยเรา สามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ด้วยกัน โดยแบบแรกเรียกว่า Total Office จะเน้น บรรยากาศภายในพื้นที่ที่ค่อนข้างเป็นทางการ สาหรับกลุ่มที่ต้องการความน่าเชื่อถือและใช้ งานเพื่อประชุมติดต่อกับลูกค้า เช่น บัญชี กฎหมาย PR Agency เป็นต้น มีอุปกรณ์ สานักงานไว้คอยบริการ มีราคาค่าใช้บริการ พื้นที่ค่อนข้างสูง พฤติกรรมลูกค้าจึงเลือกใช้ พื้นที่เฉพาะช่วงเวลาที่จาเป็นเท่านั้น หรือการ ใช้บริการต่อครั้งมีเวลาไม่นาน 3 Global Co-working Unconference Conference หรือ GCUC เป็นการประชุมของผู้ประกอบการพื้นที่สานักงานร่วมทั่วโลก เพื่อนาเสนอผลการสารวจและหาแนวทาง พัฒนาต่อยอดธุรกิจทั้งในด้านการออกแบบ, สถานที่, แบรนด์และการสร้างชุมชนระหว่างผู้ใช้งาน 4 Stromy McBride (201). 2018 Global co-working forecast, 1–3. Global Co-working Unconference Conference USA. Retrieved December 18, 2017, from: www. usa.gcuc.co  ตัวอย่าง Total Office Space: Kliquedesk สุขุมวิท 23 (ประสานมิตร) 50 71 7,805 11,100 14,411 17,725 21,306 24,306 27,919 30,432 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 ทุกประเทศ ประเทศไทย 50 71 91
  • 3. รูปแบบต่อมาเราจะเห็นได้เยอะบริเวณกลางเมืองช่วงสีลม, ปทุมวัน และพญาไท โดยเรียกว่า Co-working Places ซึ่งกลุ่มลูกค้าจะเป็นนักเรียน, นักศึกษาที่ต้องการมาติวหนังสือ รวมไปถึงฟรีแลนซ์ที่อยากนั่งทางานส่วนตัว แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ด้วย ทางร้านจะตกแต่งไว้ อย่างทันสมัยแต่ไม่เป็นทางการ ราคาค่าใช้บริการพื้นที่ไม่สูงมาก ลูกค้าส่วนใหญ่ มักนั่งใช้บริการค่อนข้างนาน และรูปแบบสุดท้ายเรียกว่า Startup-oriented incubators เหมาะสาหรับกลุ่มสตาร์ทอัพซึ่งบางพื้นที่จะให้บริการเฉพาะกลุ่มที่ เป็นสตาร์ทอัพเข้าใช้บริการเท่านั้น เพื่อที่จะให้กลุ่มคนสามารถแชร์ความคิด สร้างสรรค์ซึ่งกันและกันได้อย่างเต็มที่ อีกทั้งอาจมีการสนับสนุนในเรื่องของ การลงทุนหรืออบรมความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสตาร์ทอัพอีกด้วย หันกลับมามองจุดเริ่มต้นของธุรกิจพื้นที่สานักงานร่วมในประเทศไทย เมื่ออุทกภัยครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกลุ่มคนทางาน ทั้งพนักงานบริษัท, นักธุรกิจและฟรีแลนซ์หลายรายไม่สามารถไปทางานยังออฟฟิศได้ตามปกติ จึงต้องอาศัยร้านกาแฟหรือร้านอาหารที่มี สัญญาณ Wi-Fi ในการทางานแทน คุณอมฤตซึ่งเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ต้องตกอยู่ในสถานการณ์นี้ จึงได้เล็งเห็นโอกาสและกลายเป็นจุดเริ่มต้นใน การศึกษาธุรกิจ Co-working Space จนกระทั่งในปีต่อมาได้เปิดตัว HUBBA Coworking Space ขึ้นมาและถือเป็นพื้นที่สานักงานร่วม แห่งแรกในประเทศไทย ถึงปัจจุบันเราพบว่ามีพื้นที่สานักงานร่วมทั้งหมด 91 แห่งทั่วประเทศ โดย 70% เป็นพื้นที่ที่ให้บริการในกรุงเทพมหานคร และ 30% ไปกระจายอยู่ตามหัวเมืองต่างจังหวัด เช่น เชียงใหม่ ภูเก็ต พัทยา หาดใหญ่ เป็นต้น มีค่าใช้บริการแบบรายวันประมาณ 180 - 500 บาท หรืออาจคิดค่าบริการแบบเหมารายเดือนประมาณ 3,000 - 7,450 บาท ด้วยรูปแบบที่ยืดหยุ่นและตอบโจทย์การทางานของคนรุ่นใหม่จึงทา ให้ช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาธุรกิจมีการขยายสาขาเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 35% ด้วยข้อมูลทั้งหมดนี้อาจสรุปแนวโน้มของพื้นที่สานักงานร่วมได้ว่า เป็นธุรกิจที่มีทิศทางเติบโตได้อีกมากในอนาคตทั้งภายในประเทศไทยและประเทศอื่นทั่วโลก ทางเลือกที่กาลังได้รับความนิยม ในยุคของ Information technology นับเป็นช่วงเวลาที่ ทุกอย่างถูกเชื่อมโยงเข้าหากันด้วยเทคโนโลยี ทาให้การพัฒนาการของ เศรษฐกิจ สังคม และชุมชน ภายในประเทศไทยถูกเชื่อมโยงไว้กับ โครงข่ายการสื่อสารทั้งแบบไร้สายและมีสาย เสริมด้วยการพัฒนา ทางด้านเทคโนโลยีที่นาไปสู่ระบบดิจิตอลภายใต้แนวโน้มใหญ่ 4 ประการ คือ Big Data, Cloud Computing, Software as a Service (SAAS) และ Internet of Thing โดยที่กระแส Internet of Thing กาลังเป็นแนวโน้มใหญ่ที่จะเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ของผู้คนในประเทศให้ สามารถเลือกใช้ทรัพยากรได้อย่างสอดคล้องกับความต้องการ ส่วนตัวรวมไปถึงความต้องการทางธุรกิจ ในอีกทางหนึ่ง เมื่อพิจารณาจากกระแสการเพิ่มขึ้นของกลุ่ม คนที่หันมาทางานอาชีพอิสระที่เพิ่มขึ้นบวกกับพฤติกรรมการทางาน ของกลุ่ม Generation Y ที่ต้องการความยืดหยุ่นไม่ยึดติดกับ สถานที่ทางานแบบเดิมๆ จึงส่งเสริมให้ธุรกิจ Co-working Space สามารถเข้ามาตอบโจทย์ได้ตั้งแต่ความต้องการพื้นฐานทั้งในด้านวัสดุ อุปกรณ์สานักงาน สิ่งอานวยความสะดวก ห้องประชุม และอาจเสริม เรื่องการรวมเป็นชุมชน (Communities) ที่มีวิธีการคิด วิธีการทางาน แบบเดียวกันให้มาช่วยแบ่งปันต่อยอดกันในเชิงธุรกิจได้อีกด้วย  ตัวอย่าง Co-working Places: Growth Café & Co. สยามสแควร์  สัดส่วน Co-working space แต่ละภูมิภาคในประเทศไทย พ.ศ. 2560
  • 4. ด้านทาเลที่ตั้งของพื้นที่บริการ ถือเป็นประเด็นสาคัญอีกเรื่องหนึ่งที่เรายัง พบว่าปัจจุบันนิยมตั้งอยู่ในเขตที่สามารถ เดินทางติดต่อธุรกิจหรือนัดประชุมระหว่าง กันได้ง่าย จึงทาให้บริเวณที่เป็นศูนย์กลาง ธุรกิจหรือเขตกรุงเทพชั้นใน ทั้งพื้นที่อโศก และสีลม สาธร ซึ่งเดิมมีอาคารสานักงาน ตั้งอยู่มากมาย ได้รับความสนใจในการพัฒนา เป็นพื้นที่สานักงานร่วมเพื่อสร้างทางเลือก ใหม่สาหรับกลุ่มเป้าหมายที่มีความต้องการ หลากหลายขึ้นกว่าในอดีต กระแสธุรกิจตัวนี้ได้ดึงดูดความ น่าสนใจให้ทั้งนักธุรกิจภายในประเทศและกลุ่ม นักธุรกิจจากต่างประเทศซึ่งมีทั้งประสบการณ์ และความเชี่ยมชาญจากการให้บริการมาแล้ว ในหลายประเทศทั่วโลก ต่างอยากเข้ามาลงทุนในประเทศไทย เช่น JustCo จากสิงคโปร์ที่เป็นผู้เล่นรายใหญ่ ก็เล็งเห็นโอกาสในการเติบโตและ เลือกเข้ามาเปิดสาขาในประเทศไทยถึง 2 สาขาใน 2 ทาเลที่เป็นศูนย์กลางของออฟฟิศในเขตเมือง โดยยังคงตอกย้าถึงจุดเด่นของตนที่เน้น การเลือกตั้งสาขาในทาเลที่มีศักยภาพ ควบคู่กับพื้นที่ให้บริการที่มีขนาดใหญ่อีกด้วย รูปที่ 3 เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายระหว่างการเช่าพื้นที่สานักงานร่วมกับอาคารสานักงานทั่วไป เขตและพื้นที่ทาเล ค่าเช่าและค่าบริการ ( บาท ต่อ เดือน ) พื้นที่สานักงานร่วม อาคารสานักงาน อโศก 5,170 145,507 (เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 227 ตร.ม.) พหลโยธิน 5,010 69,126 (เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 123 ตร.ม.) สีลม สาธร 5,733 114,600 (เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 150 ตร.ม.) พญาไท 4,360 67,984 (เริ่มต้นเช่าอย่างน้อย 112 ตร.ม.) ที่มา: ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์ แต่อย่างไรก็ดี ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจขนาดเล็กที่เพิ่งเริ่มต้น เป็นสตาร์ท-อัพ หรือเป็นฟรีแลนซ์ เบื้องต้นค่าใช้จ่ายอาจเป็นแรงจูงใจหลัก ที่ทาให้คนกลุ่มนี้รู้สึกว่าไม่ต้องจ่ายถึงเดือนละเป็นแสนในการเช่าสานักงานที่แถวสีลม สาธร แต่กลับจ่ายเพียงไม่ถึง 6,000 บาท ในขณะที่ ทาเลก็อยู่ในเขตเดียวกัน โซนเดียวกัน ใกล้รถไฟฟ้าเหมือนกัน ตกแต่งดูทันสมัยและตอบโจทย์อื่นๆได้เหมือนกัน แต่หากวิเคราะห์ให้ลึกลงไป แล้วจะพบว่า สิ่งที่พื้นที่สานักงานร่วมประสบความสาเร็จและเติบโตขึ้นเรื่อยๆ มาจากลักษณะการทางานภายในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ เกิดการแบ่งปัน ทั้งในด้านความคิด ความสร้างสรรค์งานที่ผู้บริหารพื้นที่สานักงานร่วมแต่ละแห่ง ต่างใช้เป็นกลยุทธ์หลักในการบริหารจัดการ ร้านค้าให้สามารถชักจูงกลุ่มลูกค้าเป้าหมายที่มีศักยภาพการเติบโตสูงเหล่านี้จับมือและดึงให้ธุรกิจเติบโตตามไปด้วย ข้อจากัดในความรับผิดชอบ : งานวิจัยนี้จัดทาขึ้นจากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ อย่างไรก็ดี ทีมวิจัยไม่ได้รับรองความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของเนื้อหาและความคิดเห็นที่ปรากฎในงานวิจัย ตลอดจนปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัย นอกจากนี้บุคคลใน บริษัท แสนสิริ จากัด (มหาชน) และ บริษัท พลัส พร็อพเพอร์ตี้ จากัด จะไม่มีส่วนเกี่ยวข้องในกรณีที่เกิดความเสียหาย ทั้งทางตรงและทางอ้อมอันเกิดจากการใช้ข้อมูลวิจัยหรือข้อมูลใดที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยฉบับนี้ คณะผู้เขียน: ฝ่ายวิจัยและพัฒนากลยุทธ์ เอกรัฐ พิมไทย EAKARAT@SANSIRI.COM ปรารถนา ชานาญกิจ PRATANA@SANSIRI.COM ปารมี ตีรบุลกุล PARAMEET@SANSIRI.COM  ค่าบริการเฉลี่ยต่อวันและต่อเดือนของ Co-Working Space ในแต่ละทาเล