SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
การประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบโตโยต้านอกพื้นที่
ปฏิบัติงานนั้น สามารถทาได้เช่นกัน แต่อาจจะต้องใช้ความคิด
สร้างสรรค์อยู่บ้าง แน่นอนว่าหลักการพื้นฐานสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้กับกระบวนการด้านธุรการ เราส่งพนักงานจานวน
หนึ่งจากสานักงานการส่งเสริม Kaizen ของเราไปพบบรรดา
ตัวแทนจาหน่าย เพื่อช่วยเหลือพวกเขา พวกเขาสามารถลด
เวลาที่ใช้ในการตรวจสอบยานยนต์ และทาการซ่อมแซม
ตามลาดับขั้นตอนที่ตายตัว เช่นการเปลี่ยนชิ้ นส่วน หรือการ
เปลี่ยนน้ามันเครื่อง จากเดิมใช้เวลา 60 นาทีในบางกรณี เหลือ
เพียง 10 นาที ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีมากสาหรับเราและลูกค้าก็รู้สึก
พึงพอใจมาก ยังมีโอกาสอีกมากมายที่เราจาเป็นต้องปรับปรุง
แก้ไขด้วยความคิดสร้างสรรค์ของเรา
-Fujio Cho, President, Toyota Motor Corporation-
เราสามารถนาระบบ Lean ไปใช้ในจุดปฏิบัติการด้านการ
ให้บริการ โดยการตอบสนองของบุคลากรที่แบ่งออกเป็น สามประเภท คือ
การสร้างการไหลในองค์กรด้านเทคนิคและด้านการบริหารมีด้วยกัน
5 ขั้นตอน
1. บ่งชี้ ว่า ใครคือลูกค้าสาหรับกระบวนการดาเนินงาน และบ่งชี้ ถึงคุณค่าเพิ่มซึ่งพวก
เขาต้องการให้มีการส่งมอบ
2. แยกแยะกระบวนการที่ทาซ้า ๆ และกระบวนการเฉพาะ และเรียนรู้ที่จะนา TPS ไป
ประยุกต์ใช้กับกระบวนการทาซ้า ๆ เหล่านั้น
3. ร่างแผนผังการไหลเพื่อระบุถึงการเพิ่มคุณค่าและการไม่เพิ่มคุณค่า
4. คิดอย่างสร้างสรรค์ถึงการประยุกต์ใช้หลักการตามแบบโตโยต้า โดยใช้แผนผังสาย
ธารแห่งคุณค่าแสดงสภาพการที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต
5. เริ่มต้นทาตามแผนงานและเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยใช้ วัฏจักร PDCA จากนั้นจึง
ขยายเข้าไปประยุกต์ใช้กับกระบวนการทาซ้า ๆ ให้น้อยลง
การพัฒนาและการใช้ แผนผังสายธารแห่งคุณค่า ด้วยการสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการด้าน Kaizen มีทั้งสิ้น 3 ระยะ
• ระยะแรก : การเตรียมการสาหรับการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
• ระยะที่สอง : การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Kaizen
• ระยะที่สาม : หลังการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
1) กาหนดขอบเขตอย่างชัดเจน
2) กาหนดวัตถุประสงค์
3) สร้างแผนผังแสดงสถานภาพปัจจุบันเบื้องต้น
4) รวบรวมเอกสารทั้งหมดที่มีความเกี่ยวข้อง
5) ติดแผนผังแสดงสถานภาพปัจจุบันเบื้องต้นไว้ที่ห้องของคณะทางาน
1) ใครคือลูกค้า
2) วิเคราะห์สถานภาพปัจจุบัน
3) พัฒนาวิสัยทัศน์เกี่ยวกับสภาพอนาคต
4) การใช้ปฏิบัติ ลงมือทากันเลย
5) ประเมินผล
1) ทบทวนสถานภาพการดาเนินงานตามหัวข้อที่แจ้งไว้ใน
แผนผังของโครงการ
2) ทบทวนตัวชี้ วัดของกระบวนการเพื่อนยืนยันว่าการ
ปรับปรุงบรรลุตามเป้ าหมาย
3) อภิปรายถึงข้าเสนอแนะเพิ่มเติมสาหรับการปรับปรุง
4) ปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง
ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในบทแรก ๆ ว่า ปัจจัยสาคัญในการประยุกต์ใช้ระบบ
TPS ในสภาพแวดล้อมใด ๆ คือ การให้ความสาคัญกับ “จุดปฏิบัติงานที่เพิ่มคุณค่า”
และ “การกาจัดความสูญเปล่า” ซึ่งทั้งนี้การพิจารณาสายธารแห่งคุณค่า โดยเริ่มจาก การ
วิเคราะห์กระบวนการจากมุมมองของลูกค้า วาดแผนผังแสดงสถานะปัจจุบัน ซึ่งจะเปิดเผย
ให้เห็นถึงความสูญเปล่า กาหนดการไหลของกระบวนการในอนาคตบนแผนผังแสดง
สถานะภาพในอนาคต พัฒนาแผนงานที่จะนาไปใช้ปฏิบัติ พร้อมด้วยบทบาทและหน้าที่
รับผิดชอบต่างๆ ติดจามความก้าวหน้าด้วยสายตา และให้ความสาคัญกับการปรับปรุง
กระบวนการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิผล ขั้นตอนง่าย ๆ เปล่านี้จะทาให้คุณไปได้
อีกไกล
1.นางสาวชญานิน หวังดีธรรม รหัส 5710224072
2.นางสาวนภัสชล อนันตรัมพร รหัส 5710224080
3.นายรชต นกแก้ว รหัส 5710224121
4.นายเพชร นันทวิสัย รหัส 5710224124
5.นางสาวมนัสวี จุลสมบูรณ์ รหัส 5710224187

More Related Content

More from NIDA Business School (20)

Remaking singapore
Remaking singaporeRemaking singapore
Remaking singapore
 
Chile the latin american tiger
Chile the latin american tigerChile the latin american tiger
Chile the latin american tiger
 
On competition chapter 6 the competitive advantage of nations
On competition chapter 6 the competitive advantage of nationsOn competition chapter 6 the competitive advantage of nations
On competition chapter 6 the competitive advantage of nations
 
On competition chapter 3 how information gives you competitive advantage
On competition chapter 3 how information gives you competitive advantageOn competition chapter 3 how information gives you competitive advantage
On competition chapter 3 how information gives you competitive advantage
 
On competition chapter 2 what is strategy
On competition chapter 2 what is strategyOn competition chapter 2 what is strategy
On competition chapter 2 what is strategy
 
On competition chapter 1 the five competitive forces that shape strategy
On competition chapter 1 the five competitive forces that shape strategyOn competition chapter 1 the five competitive forces that shape strategy
On competition chapter 1 the five competitive forces that shape strategy
 
On competition chapter 7 clusters and competition
On competition chapter 7 clusters and competitionOn competition chapter 7 clusters and competition
On competition chapter 7 clusters and competition
 
The japanese facsimile industry in 1990 case study
The japanese facsimile industry in 1990 case studyThe japanese facsimile industry in 1990 case study
The japanese facsimile industry in 1990 case study
 
Volvo trucks case study
Volvo trucks case studyVolvo trucks case study
Volvo trucks case study
 
Tw22
Tw22Tw22
Tw22
 
Tw20
Tw20Tw20
Tw20
 
Tw19
Tw19Tw19
Tw19
 
Tw18
Tw18Tw18
Tw18
 
Tw16
Tw16Tw16
Tw16
 
Tw17
Tw17Tw17
Tw17
 
Tw15
Tw15Tw15
Tw15
 
Tw14
Tw14Tw14
Tw14
 
Tw12
Tw12Tw12
Tw12
 
Tw11
Tw11Tw11
Tw11
 
Tw10
Tw10Tw10
Tw10
 

Tw21

  • 1.
  • 2. การประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบโตโยต้านอกพื้นที่ ปฏิบัติงานนั้น สามารถทาได้เช่นกัน แต่อาจจะต้องใช้ความคิด สร้างสรรค์อยู่บ้าง แน่นอนว่าหลักการพื้นฐานสามารถนาไป ประยุกต์ใช้กับกระบวนการด้านธุรการ เราส่งพนักงานจานวน หนึ่งจากสานักงานการส่งเสริม Kaizen ของเราไปพบบรรดา ตัวแทนจาหน่าย เพื่อช่วยเหลือพวกเขา พวกเขาสามารถลด เวลาที่ใช้ในการตรวจสอบยานยนต์ และทาการซ่อมแซม ตามลาดับขั้นตอนที่ตายตัว เช่นการเปลี่ยนชิ้ นส่วน หรือการ เปลี่ยนน้ามันเครื่อง จากเดิมใช้เวลา 60 นาทีในบางกรณี เหลือ เพียง 10 นาที ซึ่งเป็นเรื่องที่ดีมากสาหรับเราและลูกค้าก็รู้สึก พึงพอใจมาก ยังมีโอกาสอีกมากมายที่เราจาเป็นต้องปรับปรุง แก้ไขด้วยความคิดสร้างสรรค์ของเรา -Fujio Cho, President, Toyota Motor Corporation-
  • 3. เราสามารถนาระบบ Lean ไปใช้ในจุดปฏิบัติการด้านการ ให้บริการ โดยการตอบสนองของบุคลากรที่แบ่งออกเป็น สามประเภท คือ
  • 4. การสร้างการไหลในองค์กรด้านเทคนิคและด้านการบริหารมีด้วยกัน 5 ขั้นตอน 1. บ่งชี้ ว่า ใครคือลูกค้าสาหรับกระบวนการดาเนินงาน และบ่งชี้ ถึงคุณค่าเพิ่มซึ่งพวก เขาต้องการให้มีการส่งมอบ 2. แยกแยะกระบวนการที่ทาซ้า ๆ และกระบวนการเฉพาะ และเรียนรู้ที่จะนา TPS ไป ประยุกต์ใช้กับกระบวนการทาซ้า ๆ เหล่านั้น 3. ร่างแผนผังการไหลเพื่อระบุถึงการเพิ่มคุณค่าและการไม่เพิ่มคุณค่า 4. คิดอย่างสร้างสรรค์ถึงการประยุกต์ใช้หลักการตามแบบโตโยต้า โดยใช้แผนผังสาย ธารแห่งคุณค่าแสดงสภาพการที่คาดว่าจะเกิดในอนาคต 5. เริ่มต้นทาตามแผนงานและเรียนรู้จากการปฏิบัติ โดยใช้ วัฏจักร PDCA จากนั้นจึง ขยายเข้าไปประยุกต์ใช้กับกระบวนการทาซ้า ๆ ให้น้อยลง
  • 5. การพัฒนาและการใช้ แผนผังสายธารแห่งคุณค่า ด้วยการสัมมนาเชิง ปฏิบัติการด้าน Kaizen มีทั้งสิ้น 3 ระยะ • ระยะแรก : การเตรียมการสาหรับการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ • ระยะที่สอง : การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Kaizen • ระยะที่สาม : หลังการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
  • 6. 1) กาหนดขอบเขตอย่างชัดเจน 2) กาหนดวัตถุประสงค์ 3) สร้างแผนผังแสดงสถานภาพปัจจุบันเบื้องต้น 4) รวบรวมเอกสารทั้งหมดที่มีความเกี่ยวข้อง 5) ติดแผนผังแสดงสถานภาพปัจจุบันเบื้องต้นไว้ที่ห้องของคณะทางาน
  • 7. 1) ใครคือลูกค้า 2) วิเคราะห์สถานภาพปัจจุบัน 3) พัฒนาวิสัยทัศน์เกี่ยวกับสภาพอนาคต 4) การใช้ปฏิบัติ ลงมือทากันเลย 5) ประเมินผล
  • 8. 1) ทบทวนสถานภาพการดาเนินงานตามหัวข้อที่แจ้งไว้ใน แผนผังของโครงการ 2) ทบทวนตัวชี้ วัดของกระบวนการเพื่อนยืนยันว่าการ ปรับปรุงบรรลุตามเป้ าหมาย 3) อภิปรายถึงข้าเสนอแนะเพิ่มเติมสาหรับการปรับปรุง 4) ปรับปรุงกระบวนการอย่างต่อเนื่อง
  • 9. ดังที่ได้กล่าวไปแล้วในบทแรก ๆ ว่า ปัจจัยสาคัญในการประยุกต์ใช้ระบบ TPS ในสภาพแวดล้อมใด ๆ คือ การให้ความสาคัญกับ “จุดปฏิบัติงานที่เพิ่มคุณค่า” และ “การกาจัดความสูญเปล่า” ซึ่งทั้งนี้การพิจารณาสายธารแห่งคุณค่า โดยเริ่มจาก การ วิเคราะห์กระบวนการจากมุมมองของลูกค้า วาดแผนผังแสดงสถานะปัจจุบัน ซึ่งจะเปิดเผย ให้เห็นถึงความสูญเปล่า กาหนดการไหลของกระบวนการในอนาคตบนแผนผังแสดง สถานะภาพในอนาคต พัฒนาแผนงานที่จะนาไปใช้ปฏิบัติ พร้อมด้วยบทบาทและหน้าที่ รับผิดชอบต่างๆ ติดจามความก้าวหน้าด้วยสายตา และให้ความสาคัญกับการปรับปรุง กระบวนการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิผล ขั้นตอนง่าย ๆ เปล่านี้จะทาให้คุณไปได้ อีกไกล
  • 10. 1.นางสาวชญานิน หวังดีธรรม รหัส 5710224072 2.นางสาวนภัสชล อนันตรัมพร รหัส 5710224080 3.นายรชต นกแก้ว รหัส 5710224121 4.นายเพชร นันทวิสัย รหัส 5710224124 5.นางสาวมนัสวี จุลสมบูรณ์ รหัส 5710224187