SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
การรวบรวมข้ อมูล และการอ่ านเพือทาบันทึกการอ่าน
่
เมื่อวางโครงเรื่ องเรี ยบร้อยแล้ว ให้อ่านข้อมูลที่มีเนื้อหาในหัวข้อต่างๆ ตามลาดับหัวข้อที่กาหนดไว้ใน
โครงเรื่ องทีละหัวข้อ หากหัวข้อใดมีขอมูลน้อยควรค้นหาวัสดุสารนิเทศเพิ่มเติมเพื่อให้มีขอมูลเพียงพอ เมื่ออ่าน
้
้
แล้วควรจะมีการจดบันทึกความรู้ไว้เพื่อจะได้นาไปเรี ยบเรี ยงเป็ นรายงาน สาหรับการจดบันทึกข้อมูลความรู้ ควรจด
ลงในบัตรที่เรี ยกว่า “บัตรบันทึกความรู้ ”
บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรที่บนทึกเรื่ องราว หรื อ ข้อความที่ตองการซึ่งได้จากการค้นคว้า ลักษณะของ
ั
้
บัตรจะเป็ นบัตรแข็งขนาด 5” X 8” หรื อ 4” X 6” หรื อ กระดาษขนาด A4 พับครึ่ ง
ส่ วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้
1.หัวข้อเรื่ องที่ตองการค้นคว้า ลงไว้ที่หวมุมบนขวาของบัตร
้
ั
2.แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรู ปแบบบรรณานุกรม
3. เลขหน้า บันทึกเฉพาะเลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า
้
4. ข้อความที่บนทึก
ั
รู ปแบบของบัตรบันทึกความรู้
หัวข้อเรื่ อง…………………..…
รายการบรรณานุกรมของวัสดุสารนิเทศที่ใช้คนคว้า………………………………………….
้
หน้า................................ (เลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า)
้
(ข้อความที่บนทึก)………………………………………………………………………………
ั
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………..………………………………………………..………
……………………………………………………………………………………..

วิธีเขียนบัตรบันทึก
1.ใช้ หัวข้ อจากโครงเรื่ องเป็ นหลักในการรวบรวมข้ อมูล และหัวข้อของบัตรบันทึกต้องตรงกับหัวข้อโครงเรื่ อง ใน
การบันทึกข้อมูลให้ทาที่ละหัวข้อและบันทึกเฉพาะเนื้ อหาที่เกี่ยวกับหัวข้อนั้น
2. บัตรบันทึกแผ่ นหนึ่งๆ ใช้บนทึกเนื้อหาเพียงหัวข้อเรื่ องเดียว
ั
3. หัวข้ อเรื่ องเดียวกัน ถ้ าบันทึกจากหนังสื อต่ างเล่ มกัน ให้ แยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น
4. หากข้ อมูลมาจากวัสดุสารนิเทศเดียวกันแต่ ต่างหัวข้ อกัน ต้ องแยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น
5. บัตรบันทึกให้ ใช้ เพียงหน้ าเดียว ถ้าบันทึกเนื้อหาไม่หมดในบัตรเดียวให้ต่อบัตรใหม่โดยเขียนหมายเลขบัตรกากับ
ไว้ทายหัวข้อนั้นๆ
้
6.บัตรบันทึกความรู้ อาจเพิ่มเติมหรื อจาหน่ ายออกได้ จนกว่าจะเห็นว่าครอบคลุ่มเนื้ อครบสมบูรณ์
แบบของบัตรบันทึกความรู้
การบันทึกเนื้ อหาข้อมูลมี 3 แบบ คือ
1.แบบย่อความ
2.แบบคัดลอกข้อความ
3.แบบถอดความ
1.บัตรบันทึกความรู ้แบบย่อความ หรื อแบบสรุ ปความ ส่ วนใหญ่การบันทึกจะใช้วธีน้ ี มีหลักการบันทึกดังนี้
ิ
1.1. อ่านเอกสารในหัวเรื่ องที่กาลังบันทึกให้ตลอดเสี ยก่อนเพื่อสารวจเนื้อหาสาระ และแนวคิดของเรื่ อง
1.2. วิเคราะห์เนื้ อหาและเก็บประเด็นหรื อสาระสาคัญหลักของหัวเรื่ องให้ครบถ้วน
1.3. ประเด็นรองหรื อรายละเอียดที่เป็ นสาระที่สาคัญของ
แต่ละประเด็นให้รวบรวมและจัดให้เป็ นระเบียบกะทัดรัดไว้ที่ประเด็นนั้นๆ
1.4. ตัวอย่างรายละเอียดต่างๆ คาพรรณนาสานวนตัดทิ้งไป
1.5. บันทึกข้อมูลลงบัตรบันทึกความรู ้ให้ถูกต้องตามแบบที่กาหนด
ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน
้
่
หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : รู ปแบบของตัวพิมพ์อกษรไทย
้
ั
หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อเรื่ องหนังสื อและการพิมพ์ โดยกาธร สถิรกุล พิมพ์โดย มหาวิทยาลัยรามคาแหง นคร
้
หลวง กรุ งเทพธนบุรี 2515 หน้า 61-62
ข้อความในต้นฉบับ : ลักษณะแบบตัวพิมพ์ไทยที่เป็ น Book face นั้นอาจแบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ตามลักษณะของ
การออกแบบรู ปตัวหนังสื อได้สามกลุ่ม คือ
1. แบบที่เรี ยกว่าตัวเหลี่ยม กลุ่มนี้อยากจะให้ต้ ง ชื่อว่า แบบบลัดเลย์ เพื่อให้เกียรติแก่หมอ
ั
บลัดเลย์ ผูที่ดาเนินการหล่อตัวพิมพ์ไทยขึ้นเป็ นครั้งแรกในเมืองไทยและได้หล่อตัว พิมพ์แบบตัวเหลี่ยมออกมาเป็ น
้
ครั้งแรก ตัวเหลี่ยมนี้เส้นเสมอกันตลอดทั้งตัวไม่มีเส้นหนาเส้นบาง ลักษณะตัวหนังสื อเลียนแบบการคัดลายมือ
บรรจงโดยใช้ดินสอบนกระดาษหรื อการจาร เหล็กแหลมลงบนลาน แต่เส้นนอกด้านบนหักเป็ นเหลี่ยม เป็ นมุมซึ่ง
เรี ยกกันมาแต่เดิมว่าตัวเหลี่ยม รู ปตัวเหลี่ยมมีดงนี้
ั
ก ค อ ฉ ส จ ว ศา
2. แบบที่เรี ยกว่าตัวธรรมดา แบบนี้อยากจะให้ต้ งชื่ อ ว่า แบบมงกุฎ เพื่อถวายพระเกียรติให้แก่
ั
่ ั
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที่ 4 ในฐานะที่พระองค์ท่านเป็ นคนไทย ที่ดาเนินกิจการพิมพ์เป็ นครั้ง
แรก ทรงสนพระทัยในการพิมพ์มากดังจะเห็นได้จากพระราชหัตถเลขาหลายฉบับที่ทรง ติดต่อให้พระสหายได้
จัดหาแท่นพิมพ์เข้ามาในเมืองไทย และส่ งข้าราชการไทยไปศึกษาวิชาการพิมพ์ทางยุโรป ทรงจัดตั้งโรงพิมพ์หลวง
ขึ้นในพระบรมมหาราชวัง ตัวพิมพ์แบบนี้ไม่มีเส้นหนาเส้นบางสม่าเสมอกันตลอดทั้งตัวเป็ นเส้นเล็กคม ลักษณะ
เดียวกับตัวเหลี่ยม แต่เส้นนอนด้านบนเป็ นเส้นโค้ง ดังแบบข้างล่างนี้
กคฉศจ า
3. ตัวฝรั่งเศส อยากให้เรี ยกชื่อว่า แบบอุโฆษ การเรี ยกตัวฝรั่งเศสที่ให้เข้าใจผิดไปว่าเป็ นตัวหนังสื อฝรั่งเศส
ซึ่งใช้ตว อักษรโรมันแต่ความจริ งเป็ นแบบตัวพิมพ์ไทย ซึ่งโรงพิมพ์อสสัมชัญนาเข้ามาใช้เป็ นครั้งแรก โดยแม่พิมพ์
ั
ั
ทองแดงจัดทามาจากประเทศฝรั่งเศส แต่หล่อแล้วนามาใช้พิมพ์หนังสื ออุโฆษเป็ นครั้งแรก อันเป็ นหนังสื อวารสาร
ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญในยุคนั้น ลักษณะตัวหนังสื อมีเส้นหนาเส้นบาง ตัวหนังสื อค่อนข้างหนาและดากว่าตัว
เหลี่ยมและตัวธรรมดา ลักษณะของความหนาบางของตัวหนังสื อเลียนแบบมาจากการเขียนตัวหนังสื อด้วยปากกา
โลหะจิ้มหมึกเขียนลงบนกระดาษเป็ นปากกาจิ้มซึ่ งเขียนแล้วทาให้เกิดมีความหนา ความบางในเส้นตามลักษณะ
ของน้าหนักของมือที่ลากเส้นไปตามตัวหนังสื อนั้นๆ ตัวอย่างตัวฝรั่งเศสเป็ นดังนี้
ก ค ส ข ม ท ฮ วา จ
ขั้นตอนการอ่านและวิเคราะห์ เนือหาได้ ดังนี้
้
1. รู ปแบบตัวพิมพ์จาแนกเป็ น 3 กลุ่ม
2. การตั้งชื่อตัวพิมพ์แต่ละกลุ่ม ยึดหลักการพื้นฐาน 3 ประการ
2.1 ลักษณะของตัวพิมพ์
2.2 ชื่อที่เสนอตั้ง
2.3 เหตุผลการเสนอชื่ อนั้นๆ
ขั้นตอนการบันทึกลงบัตร
1. เขียนรายการที่หวบัตรบันทึกให้ถูกต้อง ตามแบบที่กาหนดโดยสมบูรณ์
ั
2. เก็บประเด็นหรื อสารัตถะของหัวข้อเรื่ องที่วิเคราะห์แล้วทั้งใหญ่และรองลงในบัตรบันทึกให้ครบถ้วน
และเป็ นระเบียบ
การบันทึกลงบัตร
รูปแบบตัวพิมพ์อักษรไทย
2.บัตรบันทึกความรู้ “แบบคัดลอกข้อความ” บัตรบันทึกความรู้แบบคัดลอกข้อความ เป็ นการบันทึกโดย
วิธีการคัดลอกข้อความบางตอนของผูอื่น มีหลักการบันทึกดังนี้
้
2.1. จุดประสงค์ของการบันทึกโดยวิธีคดลอก
ั
2.1.1 เพื่อใช้ขอความนั้นอ้างอิง หรื อสนับสนุนหัวข้อที่เขียน
้
2.1.2 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นประเด็นในการวิเคราะห์ หรื อวิจารณ์ อันเกี่ยวเนื่องกับเรื่ องที่เขียน
้
2.1.3 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นตัวอย่างประกอบเรื่ องที่เขียน
้
2.2. ลักษณะของข้อความที่บนทึกโดยวิธีการคัดลอก
ั
2.2.1 เป็ นข้อความสาคัญซึ่ งไม่อาจสรุ ปความได้ดีเท่าของเดิม เช่น สู ตร กฎ คาจากัดความ สุ ภาษิต
คาพังเพย เป็ นต้น
2.2.2 เป็ นข้อความที่ผทารายงานต้องการอ้างอิง หรื อ สนับสนุนความคิดเห็นของตน เช่น สถิติ
ู้
ต่างๆ
2.3. วิธีการคัดลอก มีดงนี้
ั
2.3.1 คัดลอกให้ถูกต้องตรงตามต้นฉบับทุกประการทั้งข้อความแลตัวสะกดการันต์ และใส่
เครื่ องหมาย “…………………” กากับข้อความที่คดลอกนั้น
ั
2.3.2 ระบุเลขหน้าเฉพาะส่ วนของข้อความที่คดลอกเท่านั้น
ั
ตัวอย่างการบันทึกลงบัตรบันทึกความรู ้ “แบบคัดลอกข้อความ”
แฟลต

3.บัตรบันทึกความรู้แบบถอดความ หรื อการแปล การบันทึกวิธีน้ ีใช้ในกรณี ต่อไปนี้
3.1.ต้นฉบับเป็ นร้อยกรอง แต่ตองการใช้เป็ นร้อยแก้ว
้
3.2. ต้นฉบับเป็ นภาษาที่ไม่คุนเคย เช่น ภาษาบาลี ภาษาถิ่น เป็ นต้น
้
3.3. ต้นฉบับเป็ นภาษาต่างประเทศ
3.4. การถอดความเมื่อถอดความแล้วควร
3.4.1 สื่ อความเข้าใจได้ชดเจน
ั
3.4.2 ใจความถูกต้องและครบประเด็น
3.4.3 ใจความตรงความหมายเดิม แต่ดวยสานวนโวหารของตนเอง
้
3.4.4 ใช้ภาษาสละสลวย กะทัดรัดและสานวนเป็ นไทยๆ
3.4.5 ได้บรรยากาศเหมือนของเดิม หรื อใกล้เคียงมากที่สุด
ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน
้
่
หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : ลักษณะกุลสตรี ไทย
้
หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อลิลิตพระลอ พิมพ์ครั้งที่ 25 โดยองค์การค้าของคุรุสภา กรุ งเทพฯ 2527 หน้า 9
้
ข้อความที่จะถอด : โคลงบทหนึ่ง กล่าวถึงพระเพื่อนพระแพงตอบสนองพระพี่เลี้ยงจะออกอุบายชักชวนพระลอให้
เสด็จมาหาดังนี้
ความคิดผิดรี ตได้
ความอาย พี่เอย
หญิงสื่ อชักชวนชาย
สู่ หย้าว
เจ็บเผือว่าแหนงตาย
ดีกว่า ไส้นา
เผือหากรักท้าวท้าว
ไปรู้จกเผือ
ั
การบันทึกลงบัตร

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...Ham Had
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555Thorsang Chayovan
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560daykrm
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์Taraya Srivilas
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 

What's hot (20)

ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา
พระบรมราโชบายด้านการศึกษา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
วิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(ฉ...
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
เปรียบเทียบหลักสูตร 2551 กับ ปรับปรุง 2560
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์จริยธรรมทางการแพทย์
จริยธรรมทางการแพทย์
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 

ใบความรู้ การรวบรวมข้อมูล และการอ่านเพื่อทำบันทึกการอ่าน

  • 1. การรวบรวมข้ อมูล และการอ่ านเพือทาบันทึกการอ่าน ่ เมื่อวางโครงเรื่ องเรี ยบร้อยแล้ว ให้อ่านข้อมูลที่มีเนื้อหาในหัวข้อต่างๆ ตามลาดับหัวข้อที่กาหนดไว้ใน โครงเรื่ องทีละหัวข้อ หากหัวข้อใดมีขอมูลน้อยควรค้นหาวัสดุสารนิเทศเพิ่มเติมเพื่อให้มีขอมูลเพียงพอ เมื่ออ่าน ้ ้ แล้วควรจะมีการจดบันทึกความรู้ไว้เพื่อจะได้นาไปเรี ยบเรี ยงเป็ นรายงาน สาหรับการจดบันทึกข้อมูลความรู้ ควรจด ลงในบัตรที่เรี ยกว่า “บัตรบันทึกความรู้ ” บัตรบันทึกความรู้ คือ บัตรที่บนทึกเรื่ องราว หรื อ ข้อความที่ตองการซึ่งได้จากการค้นคว้า ลักษณะของ ั ้ บัตรจะเป็ นบัตรแข็งขนาด 5” X 8” หรื อ 4” X 6” หรื อ กระดาษขนาด A4 พับครึ่ ง ส่ วนประกอบของบัตรบันทึกความรู้ 1.หัวข้อเรื่ องที่ตองการค้นคว้า ลงไว้ที่หวมุมบนขวาของบัตร ้ ั 2.แหล่งที่มาของข้อมูลให้เขียนตามรู ปแบบบรรณานุกรม 3. เลขหน้า บันทึกเฉพาะเลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า ้ 4. ข้อความที่บนทึก ั รู ปแบบของบัตรบันทึกความรู้ หัวข้อเรื่ อง…………………..… รายการบรรณานุกรมของวัสดุสารนิเทศที่ใช้คนคว้า…………………………………………. ้ หน้า................................ (เลขหน้าของข้อความในส่ วนที่คนคว้า) ้ (ข้อความที่บนทึก)……………………………………………………………………………… ั ……………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………..………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………….. วิธีเขียนบัตรบันทึก 1.ใช้ หัวข้ อจากโครงเรื่ องเป็ นหลักในการรวบรวมข้ อมูล และหัวข้อของบัตรบันทึกต้องตรงกับหัวข้อโครงเรื่ อง ใน การบันทึกข้อมูลให้ทาที่ละหัวข้อและบันทึกเฉพาะเนื้ อหาที่เกี่ยวกับหัวข้อนั้น 2. บัตรบันทึกแผ่ นหนึ่งๆ ใช้บนทึกเนื้อหาเพียงหัวข้อเรื่ องเดียว ั 3. หัวข้ อเรื่ องเดียวกัน ถ้ าบันทึกจากหนังสื อต่ างเล่ มกัน ให้ แยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น 4. หากข้ อมูลมาจากวัสดุสารนิเทศเดียวกันแต่ ต่างหัวข้ อกัน ต้ องแยกบัตรบันทึกคนละแผ่ น 5. บัตรบันทึกให้ ใช้ เพียงหน้ าเดียว ถ้าบันทึกเนื้อหาไม่หมดในบัตรเดียวให้ต่อบัตรใหม่โดยเขียนหมายเลขบัตรกากับ ไว้ทายหัวข้อนั้นๆ ้ 6.บัตรบันทึกความรู้ อาจเพิ่มเติมหรื อจาหน่ ายออกได้ จนกว่าจะเห็นว่าครอบคลุ่มเนื้ อครบสมบูรณ์
  • 2. แบบของบัตรบันทึกความรู้ การบันทึกเนื้ อหาข้อมูลมี 3 แบบ คือ 1.แบบย่อความ 2.แบบคัดลอกข้อความ 3.แบบถอดความ 1.บัตรบันทึกความรู ้แบบย่อความ หรื อแบบสรุ ปความ ส่ วนใหญ่การบันทึกจะใช้วธีน้ ี มีหลักการบันทึกดังนี้ ิ 1.1. อ่านเอกสารในหัวเรื่ องที่กาลังบันทึกให้ตลอดเสี ยก่อนเพื่อสารวจเนื้อหาสาระ และแนวคิดของเรื่ อง 1.2. วิเคราะห์เนื้ อหาและเก็บประเด็นหรื อสาระสาคัญหลักของหัวเรื่ องให้ครบถ้วน 1.3. ประเด็นรองหรื อรายละเอียดที่เป็ นสาระที่สาคัญของ แต่ละประเด็นให้รวบรวมและจัดให้เป็ นระเบียบกะทัดรัดไว้ที่ประเด็นนั้นๆ 1.4. ตัวอย่างรายละเอียดต่างๆ คาพรรณนาสานวนตัดทิ้งไป 1.5. บันทึกข้อมูลลงบัตรบันทึกความรู ้ให้ถูกต้องตามแบบที่กาหนด
  • 3. ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน ้ ่ หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : รู ปแบบของตัวพิมพ์อกษรไทย ้ ั หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อเรื่ องหนังสื อและการพิมพ์ โดยกาธร สถิรกุล พิมพ์โดย มหาวิทยาลัยรามคาแหง นคร ้ หลวง กรุ งเทพธนบุรี 2515 หน้า 61-62 ข้อความในต้นฉบับ : ลักษณะแบบตัวพิมพ์ไทยที่เป็ น Book face นั้นอาจแบ่งออกเป็ นกลุ่มใหญ่ๆ ตามลักษณะของ การออกแบบรู ปตัวหนังสื อได้สามกลุ่ม คือ 1. แบบที่เรี ยกว่าตัวเหลี่ยม กลุ่มนี้อยากจะให้ต้ ง ชื่อว่า แบบบลัดเลย์ เพื่อให้เกียรติแก่หมอ ั บลัดเลย์ ผูที่ดาเนินการหล่อตัวพิมพ์ไทยขึ้นเป็ นครั้งแรกในเมืองไทยและได้หล่อตัว พิมพ์แบบตัวเหลี่ยมออกมาเป็ น ้ ครั้งแรก ตัวเหลี่ยมนี้เส้นเสมอกันตลอดทั้งตัวไม่มีเส้นหนาเส้นบาง ลักษณะตัวหนังสื อเลียนแบบการคัดลายมือ บรรจงโดยใช้ดินสอบนกระดาษหรื อการจาร เหล็กแหลมลงบนลาน แต่เส้นนอกด้านบนหักเป็ นเหลี่ยม เป็ นมุมซึ่ง เรี ยกกันมาแต่เดิมว่าตัวเหลี่ยม รู ปตัวเหลี่ยมมีดงนี้ ั ก ค อ ฉ ส จ ว ศา 2. แบบที่เรี ยกว่าตัวธรรมดา แบบนี้อยากจะให้ต้ งชื่ อ ว่า แบบมงกุฎ เพื่อถวายพระเกียรติให้แก่ ั ่ ั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหว รัชกาลที่ 4 ในฐานะที่พระองค์ท่านเป็ นคนไทย ที่ดาเนินกิจการพิมพ์เป็ นครั้ง แรก ทรงสนพระทัยในการพิมพ์มากดังจะเห็นได้จากพระราชหัตถเลขาหลายฉบับที่ทรง ติดต่อให้พระสหายได้ จัดหาแท่นพิมพ์เข้ามาในเมืองไทย และส่ งข้าราชการไทยไปศึกษาวิชาการพิมพ์ทางยุโรป ทรงจัดตั้งโรงพิมพ์หลวง ขึ้นในพระบรมมหาราชวัง ตัวพิมพ์แบบนี้ไม่มีเส้นหนาเส้นบางสม่าเสมอกันตลอดทั้งตัวเป็ นเส้นเล็กคม ลักษณะ เดียวกับตัวเหลี่ยม แต่เส้นนอนด้านบนเป็ นเส้นโค้ง ดังแบบข้างล่างนี้ กคฉศจ า 3. ตัวฝรั่งเศส อยากให้เรี ยกชื่อว่า แบบอุโฆษ การเรี ยกตัวฝรั่งเศสที่ให้เข้าใจผิดไปว่าเป็ นตัวหนังสื อฝรั่งเศส ซึ่งใช้ตว อักษรโรมันแต่ความจริ งเป็ นแบบตัวพิมพ์ไทย ซึ่งโรงพิมพ์อสสัมชัญนาเข้ามาใช้เป็ นครั้งแรก โดยแม่พิมพ์ ั ั ทองแดงจัดทามาจากประเทศฝรั่งเศส แต่หล่อแล้วนามาใช้พิมพ์หนังสื ออุโฆษเป็ นครั้งแรก อันเป็ นหนังสื อวารสาร ของโรงเรี ยนอัสสัมชัญในยุคนั้น ลักษณะตัวหนังสื อมีเส้นหนาเส้นบาง ตัวหนังสื อค่อนข้างหนาและดากว่าตัว เหลี่ยมและตัวธรรมดา ลักษณะของความหนาบางของตัวหนังสื อเลียนแบบมาจากการเขียนตัวหนังสื อด้วยปากกา โลหะจิ้มหมึกเขียนลงบนกระดาษเป็ นปากกาจิ้มซึ่ งเขียนแล้วทาให้เกิดมีความหนา ความบางในเส้นตามลักษณะ ของน้าหนักของมือที่ลากเส้นไปตามตัวหนังสื อนั้นๆ ตัวอย่างตัวฝรั่งเศสเป็ นดังนี้ ก ค ส ข ม ท ฮ วา จ
  • 4. ขั้นตอนการอ่านและวิเคราะห์ เนือหาได้ ดังนี้ ้ 1. รู ปแบบตัวพิมพ์จาแนกเป็ น 3 กลุ่ม 2. การตั้งชื่อตัวพิมพ์แต่ละกลุ่ม ยึดหลักการพื้นฐาน 3 ประการ 2.1 ลักษณะของตัวพิมพ์ 2.2 ชื่อที่เสนอตั้ง 2.3 เหตุผลการเสนอชื่ อนั้นๆ ขั้นตอนการบันทึกลงบัตร 1. เขียนรายการที่หวบัตรบันทึกให้ถูกต้อง ตามแบบที่กาหนดโดยสมบูรณ์ ั 2. เก็บประเด็นหรื อสารัตถะของหัวข้อเรื่ องที่วิเคราะห์แล้วทั้งใหญ่และรองลงในบัตรบันทึกให้ครบถ้วน และเป็ นระเบียบ การบันทึกลงบัตร รูปแบบตัวพิมพ์อักษรไทย
  • 5. 2.บัตรบันทึกความรู้ “แบบคัดลอกข้อความ” บัตรบันทึกความรู้แบบคัดลอกข้อความ เป็ นการบันทึกโดย วิธีการคัดลอกข้อความบางตอนของผูอื่น มีหลักการบันทึกดังนี้ ้ 2.1. จุดประสงค์ของการบันทึกโดยวิธีคดลอก ั 2.1.1 เพื่อใช้ขอความนั้นอ้างอิง หรื อสนับสนุนหัวข้อที่เขียน ้ 2.1.2 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นประเด็นในการวิเคราะห์ หรื อวิจารณ์ อันเกี่ยวเนื่องกับเรื่ องที่เขียน ้ 2.1.3 เพื่อใช้ขอความนั้นเป็ นตัวอย่างประกอบเรื่ องที่เขียน ้ 2.2. ลักษณะของข้อความที่บนทึกโดยวิธีการคัดลอก ั 2.2.1 เป็ นข้อความสาคัญซึ่ งไม่อาจสรุ ปความได้ดีเท่าของเดิม เช่น สู ตร กฎ คาจากัดความ สุ ภาษิต คาพังเพย เป็ นต้น 2.2.2 เป็ นข้อความที่ผทารายงานต้องการอ้างอิง หรื อ สนับสนุนความคิดเห็นของตน เช่น สถิติ ู้ ต่างๆ 2.3. วิธีการคัดลอก มีดงนี้ ั 2.3.1 คัดลอกให้ถูกต้องตรงตามต้นฉบับทุกประการทั้งข้อความแลตัวสะกดการันต์ และใส่ เครื่ องหมาย “…………………” กากับข้อความที่คดลอกนั้น ั 2.3.2 ระบุเลขหน้าเฉพาะส่ วนของข้อความที่คดลอกเท่านั้น ั ตัวอย่างการบันทึกลงบัตรบันทึกความรู ้ “แบบคัดลอกข้อความ”
  • 6. แฟลต 3.บัตรบันทึกความรู้แบบถอดความ หรื อการแปล การบันทึกวิธีน้ ีใช้ในกรณี ต่อไปนี้ 3.1.ต้นฉบับเป็ นร้อยกรอง แต่ตองการใช้เป็ นร้อยแก้ว ้ 3.2. ต้นฉบับเป็ นภาษาที่ไม่คุนเคย เช่น ภาษาบาลี ภาษาถิ่น เป็ นต้น ้ 3.3. ต้นฉบับเป็ นภาษาต่างประเทศ 3.4. การถอดความเมื่อถอดความแล้วควร 3.4.1 สื่ อความเข้าใจได้ชดเจน ั 3.4.2 ใจความถูกต้องและครบประเด็น 3.4.3 ใจความตรงความหมายเดิม แต่ดวยสานวนโวหารของตนเอง ้ 3.4.4 ใช้ภาษาสละสลวย กะทัดรัดและสานวนเป็ นไทยๆ 3.4.5 ได้บรรยากาศเหมือนของเดิม หรื อใกล้เคียงมากที่สุด ตัวอย่างเนือหาทีนักเรียนอ่าน ้ ่ หัวข้อเรื่ องที่คนคว้า : ลักษณะกุลสตรี ไทย ้ หนังสื อที่ใช้คนคว้า : หนังสื อลิลิตพระลอ พิมพ์ครั้งที่ 25 โดยองค์การค้าของคุรุสภา กรุ งเทพฯ 2527 หน้า 9 ้ ข้อความที่จะถอด : โคลงบทหนึ่ง กล่าวถึงพระเพื่อนพระแพงตอบสนองพระพี่เลี้ยงจะออกอุบายชักชวนพระลอให้ เสด็จมาหาดังนี้ ความคิดผิดรี ตได้ ความอาย พี่เอย หญิงสื่ อชักชวนชาย สู่ หย้าว เจ็บเผือว่าแหนงตาย ดีกว่า ไส้นา เผือหากรักท้าวท้าว ไปรู้จกเผือ ั