SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงไฟป่าจากข้อมูลจุดภาพความร้อน และู ุ
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
Wild Fi Ri k A l i f H t t d E i t l F tWild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors 
in Mae Hong Son Province
นายชิงชัย หุมห้อง รศ.ดร.ชฎา ณรงค์ฤทธิ์ และ ผศ.ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร
คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ที่มาและความสําคัญ
ไฟป่า นับเป็นมหันตภัยร้ายแรงที่สร้างความสูญเสียให้แก่ทรัพยากรธรรมชาติ
และทรัพย์สินของประชาชนเป็นจํานวนมาก รวมไปถึงชีวิตทั้งมนุษย์และสัตว์ป่า ซึ่งมักจะ
เกิดขึ้นในช่วงระหว่างเดือนพฤศจิกายน-พฤษภาคมของแต่ละปี
สาเหตุที่สําคัญของการเกิดไฟป่ามักเกิดจากการกระทําของมนุษย์เกือบทั้งสิ้นุ ญ ุ
ได้แก่ การใช้ไฟในระหว่างการเก็บหาของป่า การเผาไร่ กิจกรรมในการล่าสัตว์ กิจกรรม
การเลี้ยงสัตว์ พฤติกรรมของนักท่องเที่ยว และการจงใจจุดไฟด้วย
การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงการเกิดไฟป่าโดยพิจารณาจากปัจจัย
ทางด้านสิ่งแวดล้อม และประวัติการเกิดไฟ เพื่อให้ได้ชั้นข้อมลที่บอกถึงระดับความเสี่ยงทางดานสงแวดลอม และประวตการเกดไฟ เพอใหไดชนขอมูลทบอกถงระดบความเสยง
สําหรับเป็นข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจการวางแผนจัดการไฟป่าต่อไป
วัตถุประสงค์
• วิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงการเกิดไฟป่าจากปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม และประวัติการเกิด
ไฟโดยใช้ระบบสารสนเทศภมิศาสตร์ไฟโดยใชระบบสารสนเทศภูมศาสตร
http://news.nipa.co.th/news.action?newsid=207620 http://locals.in.th/index.php?topic=4515.0
พื้นที่ศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ได้เลือกพื้นที่ป่าไม้ของการศกษาครงนไดเลอกพนทปาไมของ
จังหวัดแม่ฮ่องสอนเป็นพื้นที่ศึกษา
ั ั ่ ่ ส ี ื้ ี่ป่ ไ ้จงหวดแมฮองสอน มพนทปาไม
เท่ากับ 11,805 ตารางกิโลมตร
คิดเป็นร้อยละ 92 7 ของพื้นที่ทั้งหมด
ป่
คดเปนรอยละ 92.7 ของพนททงหมด
ของจังหวัด ประกอบด้วย
• ป่าเบญจพรรณ
• ป่าดิบเขา
• ป่าดิบแล้งปาดบแลง
• ป่าสนเขา
• ป่าเต็งรัง
• ป่าเสื่อมโทรม
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
• ข้อมูลจุดภาพความร้อน (Hotspot)  จากดาวเทียม Terra  และ Aqua  เพื่อใช้
เป็นข้อมูลตําแหน่งการเกิดไฟ โดยรวบรวมข้อมูลจุดความร้อนที่เกิดขึ้นในช่วง 2 ปี คือปี
พ.ศ. 2550 และ 2551
• ชั้นข้อมลสภาพแวดล้อมที่พบจดความร้อน 10 ชั้นข้อมล ประกอบด้วยชนขอมูลสภาพแวดลอมทพบจุดความรอน 10 ชนขอมูล ประกอบดวย
1. ความสูง
2. ความชัน
3 ื3. ระยะห่างจากเมือง
4. ระยะห่างจากหมู่บ้าน
5. ระยะห่างจากถนน
้6. ระยะห่างจากเส้นลํานํา
7. ระยะห่างจากแหล่งนํ้าผิวดิน
8. ระยะห่างจากพื้นที่เกษตร
9. ระยะห่างจากป่าไม้
10. ระยะห่างจากอุทยานแห่งชาติ
วิธีการศึกษา
์• การวิเคราะห์ปัจจัยด้านประวัติการสํารวจพบจุดความร้อนจากดาวเทียม
สร้างกริด 3 ขนาด คือ ขนาด 250, 500 และ 1 000 เมตร ให้ครอบคลมทั่วพื้นที่จังหวัดสรางกรด 3 ขนาด คอ ขนาด 250,  500 และ 1,000 เมตร ใหครอบคลุมทวพนทจงหวด
แม่ฮ่องสอน เพื่อใช้นับจํานวนหรือความถี่ของจุดเกิดไฟภายในในแต่ละกริดด้วยวิธี Zonal  Stat  
จากนั้นนําค่าผลรวมของจํานวนที่นับได้จากกริดแต่ละขนาดมาหาผลรวมของจํานวนหรือความถี่จุด
้ ( ั ้ ่ ) ่ ้ ี่ ํ โ ิ ี ั ่ ี้ ไ ้ ํ ิ ์โความรอน (ดงภาพดานลาง) คาผลรวมจุดความรอนทคานวณโดยวธดงกลาวน ไดนามาวเคราะหโดย
ใช้วิธีการ Focal Mean เพื่อทําให้ เรียบ (smooth) ระหว่างกริดที่พบจุดความร้อนกับกริดอื่น ๆ
โดยรอบ
1 0 3 2 26 25 40 39
1
0 0 5 3
0 0 1
24
1 13
7 3
32
25 25 42 40
31 27 28
2 4 0 2
7 3
33 35 27 29
วิธีการศึกษา
• การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่พบจุดความร้อน
เป็นการสกัดค่าข้อมลตัวแปรทางด้านสิ่งแวดล้อมของตําแหน่งเกิดจดความร้อนเปนการสกดคาขอมูลตวแปรทางดานสงแวดลอมของตาแหนงเกดจุดความรอน
ตัวแปรทางสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 10 ตัวแปร คือ ความสูง ความชัน ระยะห่างจาก
เมือง ระยะห่างจากหมู่บ้าน ระยะห่างจากถนน ระยะห่างจากเส้นลํานํ้า ระยะห่างจากู
แหล่งนํ้าผิวดิน ระยะห่างจากพื้นที่เกษตร ระยะห่างจากป่าไม้ และระยะห่างจากอุทยาน
แห่งชาติ
วิธีการศึกษา
ิ ์ ิ ื้ ี่ ื่ ํ ื้ ี่ ี่ ไฟ• การวิเคราะห์เชิงพืนทีเพือกําหนดพืนทีเสียงไฟ
นําปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมของจุดความร้อนทั้ง 10 ตัวแปร มาทําการวิเคราะห์ร่วมกัน โดยใช้
ี ํ (Bi M d l) ้ ้ ่ ้ ี่ ใ ้วิธีการจําลองแบบทวิ (Binary Model)  ค่าข้อมูลของตัวแปรทางด้านสิงแวดล้อมทีอยู่ในช่วง ตังแต่
ค่าเฉลี่ยลบด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จนถึงค่าเฉลี่ยบวกด้วยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถือว่าเป็นพื้นที่เสี่ยง
ซึ่งกําหนดให้มีค่าเท่ากับ 1 ซึ่งถือเป็นพื้นที่เสี่ยง ส่วนค่าที่เหลือกําหนดให้เท่ากับ 0 ซึ่งถือเป็นพื้นที่ไม่เสี่ยง
ผลรวมของตัวแปรสภาพแวดล้อมทั้ง 10 ตัวในที่นี้ถือเป็นค่าคะแนนของสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงเกิดไฟ ค่า
คะแนนที่มีค่าตํ่าสุดคือ 0 แสดงว่าเสี่ยงตํ่า และค่าสูงสุดคือ 10 แสดงว่าเสี่ยงสูง
ข้อมูลจุดภาพความร้อน (Hotspot)  ข้อมูลสภาพแวดล้อมที่พบจุดความร้อน
1
1 0 3 2
0 0 5 3
0 0 1
2 4 0 2
24
1
13
7 3
ความสูง
ความชัน
ระยะห่างจากเมือง
ระยะห่างจากหมู่บ้าน
Focal Mean
ู
ระยะห่างจากถนน
ระยะห่างจากเส้นลํานํ้า
ระยะห่างจากแหล่งนํ้าผิวดิน
ระยะห่างจากพื้นที่เกษตร
ระยะห่างจากป่าไม้ระยะหางจากปาไม
ระยะห่างจากอุทยานแห่งชาติ
แผนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟจากปัจจัย
ด้านประวัติการเกิดจุดความร้อน
แผนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟจาก
ปัจจัยสิ่งแวดล้อม
ผลการวิเคราะห์เพื่อ
กําหนดพื้นที่เสี่ยงไฟป่า
ผลการศึกษาผลการศกษา
ผลการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประวัติการสํารวจพบจุดความร้อนจากดาวเทียม
ค่าจุดความร้อนที่คํานวณได้มีค่าอยู่
ใ ่ ั้ ่ ึ ่ ิ่ ่ ิในช่วงตังแต่ 0 ถึง 25 ค่ายิงสูงแสดงว่าบริเวณ
นั้นพบจุดความร้อนมาก แสดงให้เห็นว่าพื้นที่ที่มี
ประวัติการเกิดจุดความร้อนมาก ๆ จะกระจาย
้เป็นหย่อม ๆ ทั่วทั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยที่
อําเภอแม่สะเรียงพบพื้นที่ที่มีประวัติการเกิดจุด
ความร้อนมากกว่าอําเภออื่น ๆความรอนมากกวาอาเภออน ๆ
ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่พบจุดความร้อน
ชั้นข้อมูล หน่วย Min Max Mean
Std. 
Deviation
ระยะห่างจากป่าไม้ เมตร 0 877  9  44 
ระยะห่างจากอุทยานแห่งชาติ เมตร 0 47,680  7,712  9,687 
ระยะห่างจากพื้นที่เกษตรกรรรม เมตร 0 14,331  1,089  1,671 
ระยะห่างจากเมือง เมตร 0 61,870  23,086  11,467 
ระยะห่างจากหมู่บ้าน เมตร 40 26,796  3,589  2,829 
ระยะห่างจากถนน เมตร 0 16 913 1 325 1 651ระยะหางจากถนน เมตร 0 16,913  1,325  1,651 
ระยะห่างจากเส้นลํานํ้า เมตร 0 4,367  221  325 
ระยะห่างจากแหล่งนํ้า เมตร 256 63,532  20,403  11,877 
63 1 800 709 297ความสูง เมตร 63 1,800  709  297 
ลาดชัน เปอร์เซนต์ 0 155  11  21 
• จุดความร้อนเกิดใกล้พื้นที่ป่าไม้มากกว่าพื้นที่อุทยาน ฯ
• จุดความร้อนอยู่ห่างจากเมืองและแหล่งนํ้ามากที่สุด กล่าวคือ 61.8 และ 63.5 กิโลเมตร หรือเฉลี่ย 23 และ 20 กิโลเมตร
ตามลําดับ
• จุดความร้อนอยู่ใกล้ป่าไม้ เส้นลํานํ้า พื้นที่เกษตร และถนน มากกว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ โดยมีค่าเฉลี่ย 0.009,
0.2, 1.1 และ 1.3 กิโลเมตร ตามลําดับ
• จุดความร้อนมักเกิดใกล้จุดที่ตั้งหมู่บ้านมากกว่าเขตพื้นที่เมือง โดยมีค่าเฉลี่ยระยะห่างจากหมู่บ้าน 3.6 กิโลเมตร และ
ระยะห่างจากเมือง 23 กิโลเมตร
ผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่พบจุดความร้อน
แผนที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟจากปัจจัยสิ่งแวดล้อม
ทั้ง 10 ตัวแปร
ระยะห่างระหว่างจุดความร้อน
กับพื้นที่ป่าไม้
ระยะห่างระหว่างจุดความร้อนกับ
เขตอุทยานแห่งชาติ
ระยะห่างระหว่างจุดความร้อน
กับพื้นที่เกษตรกรรม
ระยะห่างระหว่าง
จุดความร้อนกับเมือง
ระยะห่างระหว่าง
จุดความร้อนกับที่ตั้งหมู่บ้าน
ระยะห่างระหว่าง
จุดความร้อนกับถนน
ระยะห่างระหว่าง
จุดความร้อนกับเส้นลํานํ้า
ระยะห่างระหว่าง
จุดความร้อนกับแหล่งนํ้า
ความสูงของพื้นที่
ที่พบจุดความร้อน
ความลาดชันของพื้นที่
ที่พบจุดความร้อน
ระดับเสี่ยงเกิดไฟป่าจากผลรวมค่าคะแนนของ
ตัวแปรทางสิ่งแวดล้อม
พื้นที่เกือบทั่วจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีความเสี่ยงใน
ิ ไฟป่ ั ั้ ี่ ํ ี่ ี้ไปใ ้การเกิดไฟป่า ดังนัน การทีจะนําแผนทีนีไปใช้
เป็นเครื่องมือสําหรับการเฝ้ าระวังและควบคุม
ปัญหาไฟป่านั้นน่าจะมีข้อจํากัดภายใต้กําลังคน
และงบประมาณที่จํากัด
ผลการวิเคราะห์เชิงพื้นที่เพื่อกําหนดพื้นที่เสี่ยงไฟ
้ ้ ้ในการศึกษานี้จึงทําการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงแบบคัดหาพื้นที่ที่ควรเป็นจุดสนใจ
(focused  area)  สําหรับการเลือกเฝ้ าระวังและควบคุมไฟป่า โดยการให้ความสําคัญ
่ปั ั ้ ป ั ิ ิ ้ ี่ ํ ี ปั ัแก่ปัจจัยด้านประวัติการเกิดจุดความร้อนทีสํารวจพบจากดาวเทียมและปัจจัยทาง
สิ่งแวดล้อมอย่างละเท่า ๆ กัน โดยการกําหนดค่าช่วง (scale)  ของค่าคะแนนปัจจัยด้าน
สภาพแวดล้อมและปัจจัยด้านประวัติการเกิดจดความร้อน ให้มีค่าอย่ในช่วง 0 ถึง 1 จากนั้นสภาพแวดลอมและปจจยดานประวตการเกดจุดความรอน ใหมคาอยูในชวง 0 ถง 1 จากนน
นําค่าช่วงของทั้ง 2 ปัจจัยมาบวกกัน
ระดับเสี่ยงเกิดไฟป่าซึ่งให้ความสําคัญ
เท่า ๆ กัน ระหว่างปัจจัยด้านประวัติเทา ๆ กน ระหวางปจจยดานประวต
การเกิดจุดความร้อนและปัจจัยด้าน
สภาพแวดล้อมที่พบจุดความร้อนุ
พื้นที่ที่มีโอกาสการเกิดสูงมีกระจายเป็นหย่อม ๆ
ทั่วทั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน แต่พบมากบริเวณ
ตอนเหนือ และตอนกลางของจังหวัด
สรุปและอภิปรายผล
1. การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงไฟป่าในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนได้จาก 2 วิธี คือ
‐ วิเคราะห์ปัจจัยด้านประวัติการสํารวจพบจุดความร้อนจากดาวเทียม Terra และ Aqua
‐ วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่พบจดความร้อน ประกอบด้วย 10 ตัวแปร‐ วเคราะหปจจยสภาพแวดลอมทพบจุดความรอน ประกอบดวย 10 ตวแปร
2. ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าพื้นที่ที่มีประวัติการเกิดจุดความร้อนมาก มีการกระจายเป็นหย่อมๆ ทั่วทั้ง
ั ั ่ ่ ํ ่ ี ื้ ี่ ี่ ีป ั ิ ิ ้ ่ ํ ื่จังหวัดแม่ฮ่องสอน อําเภอแม่สะเรียงจะพบพืนทีทีมีประวัติการเกิดจุดความร้อนมากกว่าอําเภออืนๆ
3. จุดความร้อนเกิดขึ้นทั้งในและนอกเขตอุทยานแห่งชาติ โดยเฉลี่ยแล้วจุดความร้อนอยู่ใกล้ป่าไม้
้ ้เส้นลํานํ้า พื้นที่เกษตร และถนน มากกว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ โดยมีค่าเฉลี่ย 0.009, 0.2, 1.1
และ 1.3 กิโลเมตร ตามลําดับ
4. ผลการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงไฟจากทั้งประวัติการเกิดจุดความร้อนและปัจจัยสภาพแวดล้อมสามารถ
นําไปใช้เป็นแนวทางในการจัดเขตพื้นที่ป้ องกันและควมคุมไฟป่า
ขอบคุณครับ

More Related Content

More from Chingchai Humhong

More from Chingchai Humhong (6)

Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GISSpatial Analysis Tools with Open Source GIS
Spatial Analysis Tools with Open Source GIS
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
 
Geoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacherGeoinformatics for teacher
Geoinformatics for teacher
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
 
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่นการขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
การขับเคลื่อนเครือข่ายจัดทําและใช้ข้อมูลแผนที่จีไอเอสในระดับท้องถิ่น
 

Wild Fire Risk Analysis from Hotspots and Environmental Factors in Mae Hong Son Province