SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
ชาคริต สิทธิเวช
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ 
แนวทางการศึกษา 
การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย 
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของตนเอง 
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของบุคคลอื่น 
ความรับผิดเพื่อความเสียหาย 
อันเกิดจากทรัพย์ 
จัดการงานนอกสั่ง 
ลาภมิควรได้ 
ละเมิด 
เหตุแห่งละเมิด ผลแห่งละเมิด 
ค่าสินไหมทดแทน 
เหตุยกเว้น 
๑๘ ส.ค. 
๒๐, ๒๗ ต.ค. ๓, ๑๐ พ.ย. ๑๗ พ.ย. 
๒๔ พ.ย. 
๑ ธ.ค. 
การทำละเมิด 
การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย 
การส่งข่าวสาร 
การร่วมกันทำละเมิด 
๒๕ ส.ค., 
๑, ๘, ๑๕ ก.ย. 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง 
๒๒, ๒๙ ก.ย., 
๖, ๑๓ ต.ค.
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ 
แนวทางการศึกษา 
การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย 
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของตนเอง 
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของบุคคลอื่น 
ความรับผิดเพื่อความเสียหาย 
อันเกิดจากทรัพย์ 
จัดการงานนอกสั่ง 
ลาภมิควรได้ 
ละเมิด 
เหตุแห่งละเมิด ผลแห่งละเมิด 
ค่าสินไหมทดแทน 
เหตุยกเว้น 
๑๘ ส.ค. 
๒๐, ๒๗ ต.ค. ๓, ๑๐ พ.ย. ๑๗ พ.ย. 
๒๔ พ.ย. 
๑ ธ.ค. 
การทำละเมิด 
การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย 
การส่งข่าวสาร 
การร่วมกันทำละเมิด 
๒๕ ส.ค., 
๑, ๘, ๑๕ ก.ย. 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
๒๒, ๒๙ ก.ย., 
๖, ๑๓ ต.ค.
สัปดาห์ก่อน 
3
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของบุคคลอื่น 
4
• ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง 
• ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
• ความรับผิดเพื่อละเมิดของตัวแทน 
• ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความ 
สามารถ 
5
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของลูกจ้าง 
6
คำถามที่ต้องตอบ 
• “นายจ้าง” หมายความว่าอย่างไร 
• “ลูกจ้าง” หมายความว่าอย่างไร 
• “กระทำไปในทางการที่จ้าง” หมายความว่า 
อย่างไร 
7
มาตรา ๔๒๕ นายจ้าง 
ต้องร่วมกันรับผิดกับ 
ลูกจ้างในผลแห่ง 
ละเมิดซึ่งลูกจ้างได้ 
กระทำไปในทางการที่ 
จ้างนั้น 
Section 425. An 
employer is jointly 
liable with his 
employee for the 
consequences of a 
wrongful act 
committed by such 
employee in the 
course of his 
employment. 
8
สัญญาจ้างแรงงาน 
9
นายจ้าง 
สัญญาจ้างแรงงาน 
9
นายจ้าง 
สัญญาจ้างแรงงาน 
ลูกจ้าง 
9
นายจ้าง (employer) 
10
ลูกจ้าง (employee) 
11
กระทำไปใน 
ทางการที่จ้าง 
(in the course of … 
employment) 
12
ใครทำละเมิด??? 
13
ใครทำละเมิด??? 
ลูกจ้างทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ 
13
นายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ 
แต่มาตรา ๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้อง 
ร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ถ้าการทำละเมิด 
ของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” 
ใครทำละเมิด??? 
ลูกจ้างทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ 
13
มาตรา ๔๒๖ นายจ้าง 
ซึ่งได้ใช้ค่าสินไหม 
ทดแทนให้แก่บุคคล 
ภายนอกเพื่อละเมิดอัน 
ลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่ 
จะได้ชดใช้จากลูกจ้าง 
นั้น 
Section 426. The 
employer who has 
made compensation 
to a third person for a 
wrongful act 
committed by his 
employee is entitled 
to reimbursement 
from such employee. 
14
นายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ 
แต่มาตรา ๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้อง 
ร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ถ้าการทำละเมิด 
ของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” 
ใครทำละเมิด??? 
ลูกจ้างทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ 
15
เพราะนายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา 
๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง 
ถ้าการทำละเมิดของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” 
16
เพราะนายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา 
๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง 
ถ้าการทำละเมิดของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” 
ลูกจ้างต่างหากที่ทำละเมิด 
ตามมาตรา ๔๒๐ 
16
เพราะนายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา 
๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง 
ถ้าการทำละเมิดของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” 
ลูกจ้างต่างหากที่ทำละเมิด 
ตามมาตรา ๔๒๐ 
ดังนั้น มาตรา ๔๒๖ จึง “บัญญัติ” ให้นายจ้างได้ชดใช้ 
(ไล่เบี้ย) จากลูกจ้างนั้นได้ 
16
คำถาม? 
17
ความรับผิดเพื่อ 
ละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
18
คำถามที่ต้องตอบ 
• “เจ้าหน้าที่” หมายความว่าอย่างไร 
• “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่าอย่างไร 
• ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่แตกต่าง 
จากความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง 
อย่างไร 
19
หน่วยงานของรัฐ = นายจ้าง 
20
ดังนั้น 
21
ความรับผิดของ 
หน่วยงานของรัฐ 
ความรับผิดของ 
= นายจ้าง 
22
มาตรา ๔๒๕ นายจ้าง 
ต้องร่วมกันรับผิดกับ 
ลูกจ้างในผลแห่ง 
ละเมิดซึ่งลูกจ้างได้ 
กระทำไปในทางการที่ 
จ้างนั้น 
Section 425. An 
employer is jointly 
liable with his 
employee for the 
consequences of a 
wrongful act 
committed by such 
employee in the 
course of his 
employment. 
23
แต่ ... 
24
25
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย 
25
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย 
กฎหมายกำหนดโทษ 
25
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย 
กฎหมายกำหนดโทษ 
วินัย 
25
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย 
กฎหมายกำหนดโทษ 
อาญา วินัย 
25
อำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย 
กฎหมายกำหนดโทษ 
อาญา วินัย ละเมิด 
25
ปัญหา!!! 
26
มาตรา ๔๒๖ นายจ้าง 
ซึ่งได้ใช้ค่าสินไหม 
ทดแทนให้แก่บุคคล 
ภายนอกเพื่อละเมิดอัน 
ลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่ 
จะได้ชดใช้จากลูกจ้าง 
นั้น 
Section 426. The 
employer who has 
made compensation 
to a third person for a 
wrongful act 
committed by his 
employee is entitled 
to reimbursement 
from such employee. 
27
ดังนั้น ... 
28
พระราชบัญญัติ 
ความรับผิดทางละเมิด 
ของเจ้าหน้าที่ 
พ.ศ. ๒๕๓๙ 
29
หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การที่เจ้าหน้าที่ดำเนินกิจการต่าง ๆ 
ของหน่วยงานของรัฐนั้น หาได้เป็นไปเพื่อประโยชน์อันเป็นการเฉพาะตัวไม่ การปล่อยให้ความรับผิด 
ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ในกรณีที่ปฏิบัติงานในหน้าที่และเกิดความเสียหายแก่เอกชนเป็นไปตามหลัก 
กฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จึงเป็นการไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความเข้าใจผิด 
ว่า เจ้าหน้าที่จะต้องรับผิดในการกระทำต่าง ๆ เป็นการเฉพาะตัวเสมอไป เมื่อการที่ทำไปทำให้หน่วย 
งานของรัฐต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกเพียงใดก็จะมีการฟ้องไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่เต็มจำนวนนั้น ทั้ง 
ที่บางกรณีเกิดขึ้นโดยความไม่ตั้งใจหรือความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยในการปฏิบัติหน้าที่ นอกจากนั้น 
ยังมีการนำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมในระบบกฎหมายแพ่งมาใช้บังคับ ให้เจ้าหน้าที่ต้องร่วมรับผิดในการกระ 
ทำของเจ้าหน้าที่ผู้อื่นด้วย ซึ่งระบบนั้นมุ่งหมายแต่จะได้เงินครบโดยไม่คำนึงถึงความเป็นธรรมที่จะมีต่อ 
แต่ละคน กรณีเป็นการก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่เจ้าหน้าที่และยังเป็นการบั่นทอนกำลังขวัญในการ 
ทำงานของเจ้าหน้าที่ด้วย จนบางครั้งกลายเป็นปัญหาในการบริหารเพราะเจ้าหน้าที่ไม่กล้าตัดสินใจดำ 
เนินงานเท่าที่ควร เพราะเกรงความรับผิดชอบที่จะเกิดแก่ตน อนึ่ง การให้คุณให้โทษแก่เจ้าหน้าที่เพื่อ 
ควบคุมการทำงานของเจ้าหน้าที่ยังมีวิธีการในการบริหารงานบุคคลและการดำเนินการทางวินัยกำกับ 
ดูแลอีกส่วนหนึ่ง อันเป็นหลักประกันมิให้เจ้าหน้าที่ทำการใด ๆ โดยไม่รอบคอบอยู่แล้ว ดังนั้น จึงสมควร 
กำหนดให้เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหน้าที่เฉพาะเมื่อเป็นการจงใจกระทำเพื่อ 
การเฉพาะตัว หรือจงใจให้เกิดความเสียหายหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น และให้แบ่งแยก 
ความรับผิดของแต่ละคนมิให้นำหลักลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและเพิ่มพูน 
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของรัฐ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 
30
มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับ 
ใด ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ 
หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ 
ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน 
31
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ 
“เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ 
ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการ 
หรือฐานะอื่นใด 
“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือ 
ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน 
ภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราช 
บัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่น 
ของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็นหน่วยงานของรัฐตามพระ 
ราชบัญญัตินี้ด้วย 
32
มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างใน 
ผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น 
มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน 
ผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติ 
หน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดัง 
กล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ 
ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วย 
งานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน 
ของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง 
33
มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างใน 
ผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น 
ป.พ.พ. 
มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน 
ผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติ 
หน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดัง 
กล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ 
ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วย 
งานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน 
ของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง 
33
มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างใน 
ผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น 
ป.พ.พ. 
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ 
มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน 
ผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติ 
หน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดัง 
กล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ 
ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วย 
งานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน 
ของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง 
33
มาตรา ๖ ถ้าการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ 
มิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่ต้อง 
รับผิดในการนั้นเป็นการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผู้เสีย 
หายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้องหน่วย 
งานของรัฐไม่ได้ 
34
มาตรา ๗ ในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐ ถ้าหน่วย 
งานของรัฐเห็นว่าเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดหรือต้องร่วมรับผิด 
หรือในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าที่ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็นเรื่องที่ 
หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดหรือต้องร่วมรับผิด หน่วยงานของรัฐหรือ 
เจ้าหน้าที่ดังกล่าวมีสิทธิขอให้ศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยู่เรียกเจ้าหน้าที่ 
หรือหน่วยงานของรัฐแล้วแต่กรณี เข้ามาเป็นคู่ความในคดี 
ถ้าศาลพิพากษายกฟ้องเพราะเหตุที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้า 
หน้าที่ที่ถูกฟ้องมิใช่ผู้ต้องรับผิด ให้ขยายอายุความฟ้องร้องผู้ที่ต้อง 
รับผิดซึ่งมิได้ถูกเรียกเข้ามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแต่วันที่คำ 
พิพากษานั้นถึงที่สุด 
35
มาตรา ๘ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ 
ผู้เสียหายเพื่อการละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้เจ้า 
หน้าที่ผู้ทำละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของรัฐได้ ถ้า 
เจ้าหน้าที่ได้กระทำการนั้นไปด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้าย 
แรง 
สิทธิเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได้เพียงใดให้ 
คำนึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรมในแต่ละกรณี 
เป็นเกณฑ์โดยมิต้องให้ใช้เต็มจำนวนของความเสียหายก็ได้ 
ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐ 
หรือระบบการดำเนินงานส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออก 
ด้วย 
ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ 
ร่วมมาใช้บังคับและเจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะ 
ส่วนของตนเท่านั้น 
36
มาตรา ๙ ถ้าหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ได้ 
ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย สิทธิที่จะเรียกให้ 
อีกฝ่ายหนึ่งชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนให้มี 
กำหนดอายุความหนึ่งปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ 
หรือเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้นแก่ผู้เสีย 
หาย 
37
มาตรา ๑๐ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทำละเมิดต่อหน่วยงาน 
ของรัฐไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐที่ผู้นั้นอยู่ในสังกัดหรือไม่ ถ้า 
เป็นการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน 
จากเจ้าหน้าที่ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ 
ถ้ามิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่ง 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ทั้งสองประการ 
ตามวรรคหนึ่ง ให้มีกำหนดอายุความสองปีนับแต่วันที่หน่วยงานของ 
รัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน 
และกรณีที่หน่วยงานของรัฐเห็นว่าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นไม่ต้องรับผิด แต่ 
กระทรวงการคลังตรวจสอบแล้วเห็นว่าต้องรับผิด ให้สิทธิเรียกร้องค่า 
สินไหมทดแทนนั้นมีกำหนดอายุความหนึ่งปีนับแต่วันที่หน่วยงานของ 
รัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง 
38
มาตรา ๑๑ ในกรณีที่ผู้เสียหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดตาม 
มาตรา ๕ ผู้เสียหายจะยื่นคำขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่า 
สินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดแก่ตนก็ได้ ในการนี้หน่วยงานของ 
รัฐต้องออกใบรับคำขอให้ไว้เป็นหลักฐานและพิจารณาคำขอนั้นโดยไม่ชักช้า 
เมื่อหน่วยงานของรัฐมีคำสั่งเช่นใดแล้วหากผู้เสียหายยังไม่พอใจในผลการ 
วินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐก็ให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้อง 
ทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่ 
วันที่ตนได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย 
ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาคำขอที่ได้รับตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จ 
ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน หากเรื่องใดไม่อาจพิจารณาได้ทันในกำหนดนั้นจะ 
ต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือกำกับหรือควบคุม 
ดูแลหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได้ แต่ 
รัฐมนตรีดังกล่าวจะพิจารณาอนุมัติให้ขยายระยะเวลาให้อีกได้ไม่เกินหนึ่งร้อย 
แปดสิบวัน 
39
มาตรา ๑๒ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่า 
สินไหมทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ให้แก่ผู้เสีย 
หายตามมาตรา ๘ หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องใช้ 
ค่าสินไหมทดแทนเนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้นั้นได้กระทำ 
ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๑๐ ประกอบ 
กับมาตรา ๘ ให้หน่วยงานของรัฐที่เสียหายมีอำนาจ 
ออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นชำระเงินดังกล่าว 
ภายในเวลาที่กำหนด 
40
มาตรา ๑๓ ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบ 
เพื่อให้เจ้าหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดตามมาตรา ๘ และ 
มาตรา ๑๐ สามารถผ่อนชำระเงินที่จะต้องรับผิดนั้น 
ได้โดยคำนึงถึงรายได้ ฐานะ ครอบครัวและความ 
รับผิดชอบ และพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย 
41
คำถาม? 
42
คำถามที่ต้องตอบ??? 
• “เจ้าหน้าที่” หมายความว่าอย่างไร 
• “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่าอย่างไร 
• ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่แตกต่าง 
จากความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง 
อย่างไร 
43

More Related Content

Viewers also liked

บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนChacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์Chacrit Sitdhiwej
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทยทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทยChacrit Sitdhiwej
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทยหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทยChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...Chacrit Sitdhiwej
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539ประพันธ์ เวารัมย์
 
กฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
กฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศกฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
กฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศChacrit Sitdhiwej
 
Cuny Ipo Presentation
Cuny Ipo PresentationCuny Ipo Presentation
Cuny Ipo PresentationStevenj129
 
Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012
Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012
Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012Claire O'Rourke
 
Cogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ Almaty
Cogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ AlmatyCogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ Almaty
Cogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ AlmatyCogitainment
 
Derecho agrario y órganos administrativos
Derecho agrario y órganos administrativosDerecho agrario y órganos administrativos
Derecho agrario y órganos administrativosLeonelaLeon21
 
1 gatazka
1 gatazka1 gatazka
1 gatazkaIciarU
 

Viewers also liked (18)

บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
 
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
กฎหมายกับการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
 
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทยทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
ทฤษฎีและหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม และหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
 
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทยหมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
หมวดหมู่ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมไทย
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
 
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัยความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
 
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
ความรับผิดเพื่อการก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการรั่วไหล หรือแพร่กระจายข...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากยานพาหนะอันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล หรื...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 
กฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
กฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศกฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
กฎหมายกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
Cuny Ipo Presentation
Cuny Ipo PresentationCuny Ipo Presentation
Cuny Ipo Presentation
 
Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012
Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012
Coalition Campaigning in the 3rd sector - ACOSS NGO Media Forum 28032012
 
Cogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ Almaty
Cogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ AlmatyCogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ Almaty
Cogitainment - On Happiness, Dreams&Goals, Success _ Almaty
 
Derecho agrario y órganos administrativos
Derecho agrario y órganos administrativosDerecho agrario y órganos administrativos
Derecho agrario y órganos administrativos
 
Abraham maslow
Abraham maslowAbraham maslow
Abraham maslow
 
April 23-2012 meeting
April 23-2012 meetingApril 23-2012 meeting
April 23-2012 meeting
 
1 gatazka
1 gatazka1 gatazka
1 gatazka
 
Magazine mind map
Magazine mind mapMagazine mind map
Magazine mind map
 

More from Chacrit Sitdhiwej

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมChacrit Sitdhiwej
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 

ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่

  • 2. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ แนวทางการศึกษา การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ความรับผิดเพื่อ ละเมิดของตนเอง ความรับผิดเพื่อ ละเมิดของบุคคลอื่น ความรับผิดเพื่อความเสียหาย อันเกิดจากทรัพย์ จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ละเมิด เหตุแห่งละเมิด ผลแห่งละเมิด ค่าสินไหมทดแทน เหตุยกเว้น ๑๘ ส.ค. ๒๐, ๒๗ ต.ค. ๓, ๑๐ พ.ย. ๑๗ พ.ย. ๒๔ พ.ย. ๑ ธ.ค. การทำละเมิด การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย การส่งข่าวสาร การร่วมกันทำละเมิด ๒๕ ส.ค., ๑, ๘, ๑๕ ก.ย. ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง ๒๒, ๒๙ ก.ย., ๖, ๑๓ ต.ค.
  • 3. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ แนวทางการศึกษา การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย ความรับผิดเพื่อ ละเมิดของตนเอง ความรับผิดเพื่อ ละเมิดของบุคคลอื่น ความรับผิดเพื่อความเสียหาย อันเกิดจากทรัพย์ จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได้ ละเมิด เหตุแห่งละเมิด ผลแห่งละเมิด ค่าสินไหมทดแทน เหตุยกเว้น ๑๘ ส.ค. ๒๐, ๒๗ ต.ค. ๓, ๑๐ พ.ย. ๑๗ พ.ย. ๒๔ พ.ย. ๑ ธ.ค. การทำละเมิด การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลาย การส่งข่าวสาร การร่วมกันทำละเมิด ๒๕ ส.ค., ๑, ๘, ๑๕ ก.ย. ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่ ๒๒, ๒๙ ก.ย., ๖, ๑๓ ต.ค.
  • 6. • ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง • ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ • ความรับผิดเพื่อละเมิดของตัวแทน • ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความ สามารถ 5
  • 8. คำถามที่ต้องตอบ • “นายจ้าง” หมายความว่าอย่างไร • “ลูกจ้าง” หมายความว่าอย่างไร • “กระทำไปในทางการที่จ้าง” หมายความว่า อย่างไร 7
  • 9. มาตรา ๔๒๕ นายจ้าง ต้องร่วมกันรับผิดกับ ลูกจ้างในผลแห่ง ละเมิดซึ่งลูกจ้างได้ กระทำไปในทางการที่ จ้างนั้น Section 425. An employer is jointly liable with his employee for the consequences of a wrongful act committed by such employee in the course of his employment. 8
  • 18. นายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา ๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้อง ร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ถ้าการทำละเมิด ของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” ใครทำละเมิด??? ลูกจ้างทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ 13
  • 19. มาตรา ๔๒๖ นายจ้าง ซึ่งได้ใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่บุคคล ภายนอกเพื่อละเมิดอัน ลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่ จะได้ชดใช้จากลูกจ้าง นั้น Section 426. The employer who has made compensation to a third person for a wrongful act committed by his employee is entitled to reimbursement from such employee. 14
  • 20. นายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา ๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้อง ร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ถ้าการทำละเมิด ของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” ใครทำละเมิด??? ลูกจ้างทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ 15
  • 21. เพราะนายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา ๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ถ้าการทำละเมิดของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” 16
  • 22. เพราะนายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา ๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ถ้าการทำละเมิดของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” ลูกจ้างต่างหากที่ทำละเมิด ตามมาตรา ๔๒๐ 16
  • 23. เพราะนายจ้าง “มิได้” ทำละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แต่มาตรา ๔๒๕ “บัญญัติ” ให้นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้าง ถ้าการทำละเมิดของลูกจ้างนั้น “กระทำไปในทางการที่จ้าง” ลูกจ้างต่างหากที่ทำละเมิด ตามมาตรา ๔๒๐ ดังนั้น มาตรา ๔๒๖ จึง “บัญญัติ” ให้นายจ้างได้ชดใช้ (ไล่เบี้ย) จากลูกจ้างนั้นได้ 16
  • 26. คำถามที่ต้องตอบ • “เจ้าหน้าที่” หมายความว่าอย่างไร • “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่าอย่างไร • ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่แตกต่าง จากความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง อย่างไร 19
  • 30. มาตรา ๔๒๕ นายจ้าง ต้องร่วมกันรับผิดกับ ลูกจ้างในผลแห่ง ละเมิดซึ่งลูกจ้างได้ กระทำไปในทางการที่ จ้างนั้น Section 425. An employer is jointly liable with his employee for the consequences of a wrongful act committed by such employee in the course of his employment. 23
  • 32. 25
  • 39. มาตรา ๔๒๖ นายจ้าง ซึ่งได้ใช้ค่าสินไหม ทดแทนให้แก่บุคคล ภายนอกเพื่อละเมิดอัน ลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่ จะได้ชดใช้จากลูกจ้าง นั้น Section 426. The employer who has made compensation to a third person for a wrongful act committed by his employee is entitled to reimbursement from such employee. 27
  • 42. หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ การที่เจ้าหน้าที่ดำเนินกิจการต่าง ๆ ของหน่วยงานของรัฐนั้น หาได้เป็นไปเพื่อประโยชน์อันเป็นการเฉพาะตัวไม่ การปล่อยให้ความรับผิด ทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ ในกรณีที่ปฏิบัติงานในหน้าที่และเกิดความเสียหายแก่เอกชนเป็นไปตามหลัก กฎหมายเอกชนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์จึงเป็นการไม่เหมาะสมก่อให้เกิดความเข้าใจผิด ว่า เจ้าหน้าที่จะต้องรับผิดในการกระทำต่าง ๆ เป็นการเฉพาะตัวเสมอไป เมื่อการที่ทำไปทำให้หน่วย งานของรัฐต้องรับผิดต่อบุคคลภายนอกเพียงใดก็จะมีการฟ้องไล่เบี้ยเอาจากเจ้าหน้าที่เต็มจำนวนนั้น ทั้ง ที่บางกรณีเกิดขึ้นโดยความไม่ตั้งใจหรือความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยในการปฏิบัติหน้าที่ นอกจากนั้น ยังมีการนำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมในระบบกฎหมายแพ่งมาใช้บังคับ ให้เจ้าหน้าที่ต้องร่วมรับผิดในการกระ ทำของเจ้าหน้าที่ผู้อื่นด้วย ซึ่งระบบนั้นมุ่งหมายแต่จะได้เงินครบโดยไม่คำนึงถึงความเป็นธรรมที่จะมีต่อ แต่ละคน กรณีเป็นการก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่เจ้าหน้าที่และยังเป็นการบั่นทอนกำลังขวัญในการ ทำงานของเจ้าหน้าที่ด้วย จนบางครั้งกลายเป็นปัญหาในการบริหารเพราะเจ้าหน้าที่ไม่กล้าตัดสินใจดำ เนินงานเท่าที่ควร เพราะเกรงความรับผิดชอบที่จะเกิดแก่ตน อนึ่ง การให้คุณให้โทษแก่เจ้าหน้าที่เพื่อ ควบคุมการทำงานของเจ้าหน้าที่ยังมีวิธีการในการบริหารงานบุคคลและการดำเนินการทางวินัยกำกับ ดูแลอีกส่วนหนึ่ง อันเป็นหลักประกันมิให้เจ้าหน้าที่ทำการใด ๆ โดยไม่รอบคอบอยู่แล้ว ดังนั้น จึงสมควร กำหนดให้เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดทางละเมิดในการปฏิบัติงานในหน้าที่เฉพาะเมื่อเป็นการจงใจกระทำเพื่อ การเฉพาะตัว หรือจงใจให้เกิดความเสียหายหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงเท่านั้น และให้แบ่งแยก ความรับผิดของแต่ละคนมิให้นำหลักลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของรัฐ จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้ 30
  • 43. มาตรา ๓ บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับ ใด ๆ ในส่วนที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน 31
  • 44. มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้ ปฏิบัติงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็นการแต่งตั้งในฐานะเป็นกรรมการ หรือฐานะอื่นใด “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม หรือ ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วน ภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจที่ตั้งขึ้นโดยพระราช บัญญัติหรือพระราชกฤษฎีกา และให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอื่น ของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็นหน่วยงานของรัฐตามพระ ราชบัญญัตินี้ด้วย 32
  • 45. มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างใน ผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน ผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติ หน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดัง กล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วย งานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน ของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง 33
  • 46. มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างใน ผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น ป.พ.พ. มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน ผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติ หน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดัง กล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วย งานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน ของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง 33
  • 47. มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างใน ผลแห่งละเมิดซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น ป.พ.พ. พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ฯ มาตรา ๕ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน ผลแห่งละเมิดที่เจ้าหน้าที่ของตนได้กระทำในการปฏิบัติ หน้าที่ ในกรณีนี้ผู้เสียหายอาจฟ้องหน่วยงานของรัฐดัง กล่าวได้โดยตรง แต่จะฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วย งานของรัฐแห่งใดให้ถือว่ากระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน ของรัฐที่ต้องรับผิดตามวรรคหนึ่ง 33
  • 48. มาตรา ๖ ถ้าการกระทำละเมิดของเจ้าหน้าที่ มิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่ต้อง รับผิดในการนั้นเป็นการเฉพาะตัว ในกรณีนี้ผู้เสีย หายอาจฟ้องเจ้าหน้าที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้องหน่วย งานของรัฐไม่ได้ 34
  • 49. มาตรา ๗ ในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องหน่วยงานของรัฐ ถ้าหน่วย งานของรัฐเห็นว่าเป็นเรื่องที่เจ้าหน้าที่ต้องรับผิดหรือต้องร่วมรับผิด หรือในคดีที่ผู้เสียหายฟ้องเจ้าหน้าที่ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่าเป็นเรื่องที่ หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดหรือต้องร่วมรับผิด หน่วยงานของรัฐหรือ เจ้าหน้าที่ดังกล่าวมีสิทธิขอให้ศาลที่พิจารณาคดีนั้นอยู่เรียกเจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานของรัฐแล้วแต่กรณี เข้ามาเป็นคู่ความในคดี ถ้าศาลพิพากษายกฟ้องเพราะเหตุที่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้า หน้าที่ที่ถูกฟ้องมิใช่ผู้ต้องรับผิด ให้ขยายอายุความฟ้องร้องผู้ที่ต้อง รับผิดซึ่งมิได้ถูกเรียกเข้ามาในคดีออกไปถึงหกเดือนนับแต่วันที่คำ พิพากษานั้นถึงที่สุด 35
  • 50. มาตรา ๘ ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ ผู้เสียหายเพื่อการละเมิดของเจ้าหน้าที่ ให้หน่วยงานของรัฐมีสิทธิเรียกให้เจ้า หน้าที่ผู้ทำละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังกล่าวแก่หน่วยงานของรัฐได้ ถ้า เจ้าหน้าที่ได้กระทำการนั้นไปด้วยความจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้าย แรง สิทธิเรียกให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามวรรคหนึ่งจะมีได้เพียงใดให้ คำนึงถึงระดับความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรมในแต่ละกรณี เป็นเกณฑ์โดยมิต้องให้ใช้เต็มจำนวนของความเสียหายก็ได้ ถ้าการละเมิดเกิดจากความผิดหรือความบกพร่องของหน่วยงานของรัฐ หรือระบบการดำเนินงานส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งความรับผิดดังกล่าวออก ด้วย ในกรณีที่การละเมิดเกิดจากเจ้าหน้าที่หลายคน มิให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ ร่วมมาใช้บังคับและเจ้าหน้าที่แต่ละคนต้องรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทนเฉพาะ ส่วนของตนเท่านั้น 36
  • 51. มาตรา ๙ ถ้าหน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ได้ ใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหาย สิทธิที่จะเรียกให้ อีกฝ่ายหนึ่งชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนให้มี กำหนดอายุความหนึ่งปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ หรือเจ้าหน้าที่ได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนนั้นแก่ผู้เสีย หาย 37
  • 52. มาตรา ๑๐ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่เป็นผู้กระทำละเมิดต่อหน่วยงาน ของรัฐไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐที่ผู้นั้นอยู่ในสังกัดหรือไม่ ถ้า เป็นการกระทำในการปฏิบัติหน้าที่การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน จากเจ้าหน้าที่ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๘ มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ ถ้ามิใช่การกระทำในการปฏิบัติหน้าที่ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ สิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนจากเจ้าหน้าที่ทั้งสองประการ ตามวรรคหนึ่ง ให้มีกำหนดอายุความสองปีนับแต่วันที่หน่วยงานของ รัฐรู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ ผู้จะพึงต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน และกรณีที่หน่วยงานของรัฐเห็นว่าเจ้าหน้าที่ผู้นั้นไม่ต้องรับผิด แต่ กระทรวงการคลังตรวจสอบแล้วเห็นว่าต้องรับผิด ให้สิทธิเรียกร้องค่า สินไหมทดแทนนั้นมีกำหนดอายุความหนึ่งปีนับแต่วันที่หน่วยงานของ รัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง 38
  • 53. มาตรา ๑๑ ในกรณีที่ผู้เสียหายเห็นว่า หน่วยงานของรัฐต้องรับผิดตาม มาตรา ๕ ผู้เสียหายจะยื่นคำขอต่อหน่วยงานของรัฐให้พิจารณาชดใช้ค่า สินไหมทดแทนสำหรับความเสียหายที่เกิดแก่ตนก็ได้ ในการนี้หน่วยงานของ รัฐต้องออกใบรับคำขอให้ไว้เป็นหลักฐานและพิจารณาคำขอนั้นโดยไม่ชักช้า เมื่อหน่วยงานของรัฐมีคำสั่งเช่นใดแล้วหากผู้เสียหายยังไม่พอใจในผลการ วินิจฉัยของหน่วยงานของรัฐก็ให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อคณะกรรมการวินิจฉัยร้อง ทุกข์ตามกฎหมายว่าด้วยคณะกรรมการกฤษฎีกาได้ภายในเก้าสิบวันนับแต่ วันที่ตนได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย ให้หน่วยงานของรัฐพิจารณาคำขอที่ได้รับตามวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จ ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน หากเรื่องใดไม่อาจพิจารณาได้ทันในกำหนดนั้นจะ ต้องรายงานปัญหาและอุปสรรคให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือกำกับหรือควบคุม ดูแลหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได้ แต่ รัฐมนตรีดังกล่าวจะพิจารณาอนุมัติให้ขยายระยะเวลาให้อีกได้ไม่เกินหนึ่งร้อย แปดสิบวัน 39
  • 54. มาตรา ๑๒ ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่า สินไหมทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้ใช้ให้แก่ผู้เสีย หายตามมาตรา ๘ หรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ต้องใช้ ค่าสินไหมทดแทนเนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้นั้นได้กระทำ ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๑๐ ประกอบ กับมาตรา ๘ ให้หน่วยงานของรัฐที่เสียหายมีอำนาจ ออกคำสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้นั้นชำระเงินดังกล่าว ภายในเวลาที่กำหนด 40
  • 55. มาตรา ๑๓ ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดตามมาตรา ๘ และ มาตรา ๑๐ สามารถผ่อนชำระเงินที่จะต้องรับผิดนั้น ได้โดยคำนึงถึงรายได้ ฐานะ ครอบครัวและความ รับผิดชอบ และพฤติการณ์แห่งกรณีประกอบด้วย 41
  • 57. คำถามที่ต้องตอบ??? • “เจ้าหน้าที่” หมายความว่าอย่างไร • “หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่าอย่างไร • ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่แตกต่าง จากความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง อย่างไร 43