SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
๗.๒ ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ชาคริต สิทธิเวช
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
Source: http://www.mindprocessors.com/images/content-page/consumer-goods.jpg
คำถาม (๑)
“product liability” หมายความว่า
อย่างไร
“สินค้า” หมายความว่าอย่างไร
“ผลิตผลเกษตรกรรม” หมายความว่า
อย่างไร
“ผลิต” หมายความว่าอย่างไร
“ผู้เสียหาย” หมายความว่าอย่างไร
“ความเสียหาย” หมายความว่าอย่างไร
“สินค้าที่ไม่ปลอดภัย” หมายความว่า
อย่างไร
“ขาย” หมายความว่าอย่างไร
“นำเข้า” หมายความว่าอย่างไร
“ผู้ประกอบการ” หมายความว่าอย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
2
คำถาม (๒)
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก
สินค้าที่ไม่ปลอดภัยมีขอบเขตอย่างไร
การก่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่
ไม่ปลอดภัยมีผลอย่างไร
มีกรณีใดบ้างหรือไม่ที่อาจไม่ต้องรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่
ปลอดภัย
ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดล่วง
หน้ามีลักษณะอย่างไร และมีผลอย่างไร
การดำเนินคดีเกี่ยวกับความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่
ปลอดภัยมีลักษณะอย่างไร
พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสีย
หายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.
๒๕๕๑ มีข้อดีและข้อเสียประการใดบ้าง
ความรับผิดตามพระราชบัญญัติความรับ
ผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่
ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มีความสัมพันธ์กับ
ความรับผิดเพื่อละเมิดตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
3
คำถาม (๓)
ความรับผิดตามพระราชบัญญัติ
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิด
ขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.
๒๕๕๑ มีความแตกต่างจากความรับ
ผิดเพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ อย่างไร
“ค่าเสียหาย” หมายความว่าอย่างไร
“ค่าสินไหมทดแทนความเสียหาย”
หมายความว่าอย่างไร
“ค่าเสียหายเชิงลงโทษ”
หมายความว่าอย่างไร
“เบี้ยปรับ” หมายความว่าอย่างไร
ค่าเสียหาย ค่าสินไหมทดแทนความ
เสียหาย ค่าเสียหายเชิงลงโทษ และ
เบี้ยปรับ แตกต่างกันอย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
4
Source: http://www.mindprocessors.com/images/content-page/consumer-goods.jpg
5
Source: http://img08.deviantart.net/812a/i/2006/271/6/5/sharp_things_are_dangerous_by_acgfu.jpg
6
Source: http://cmzone.vzbqbxhynotw9ion96xv.netdna-cdn.com/wp-content/uploads/2012/12/Goods-Gear-for-Coffee-Fiends.jpg
7
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
มาตรา ๔๓๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
มาตรา ๔๓๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
มาตรา ๔๓๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก
สินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
มาตรา ๔๓๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
มาตรา ๔๓๗ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
มาตรา ๔๓๗ บุคคลใดครอบครองหรือควบคุมดูแลยานพาหนะอย่าง

ใด ๆ อันเดินด้วยกำลังเครื่องจักรกล บุคคลนั้นจะต้องรับผิดชอบเพื่อการเสีย
หายอันเกิดแต่ยานพาหนะนั้น เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าการเสียหายนั้นเกิดแต่
เหตุสุดวิสัย หรือเกิดเพราะความผิดของผู้ต้องเสียหายนั้นเอง
ความข้อนี้ให้ใช้บังคับได้ตลอดถึงบุคคลผู้มีไว้ในครอบครองของตน ซึ่ง
ทรัพย์อันเป็นของเกิดอันตรายได้โดยสภาพ หรือโดยความมุ่งหมายที่จะใช้ หรือ
โดยอาการกลไกของทรัพย์นั้นด้วย
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๔ ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองดังต่อไปนี้
(๑) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียง
พอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
(๒) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
(๓) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
(๓ ทวิ) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
(๔) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ หรือพระราชบัญญัตินี้บัญญัติไว้
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๔ ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองดังต่อไปนี้
(๑) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียง
พอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
(๒) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
(๓) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
(๓ ทวิ) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
(๔) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ หรือพระราชบัญญัตินี้บัญญัติไว้
ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่งได้
รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ
และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดย
ชอบ แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๔ ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองดังต่อไปนี้
(๑) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียง
พอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
(๒) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
(๓) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
(๓ ทวิ) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
(๔) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ หรือพระราชบัญญัตินี้บัญญัติไว้
ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่งได้
รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ
และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดย
ชอบ แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๔ ผู้บริโภคมีสิทธิได้รับความคุ้มครองดังต่อไปนี้
(๑) สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณาคุณภาพที่ถูกต้องและเพียง
พอเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ
(๒) สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ
(๓) สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ
(๓ ทวิ) สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา
(๔) สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย
ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายว่าด้วยการนั้น ๆ หรือพระราชบัญญัตินี้บัญญัติไว้
ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้ซื้อหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่งได้
รับการเสนอหรือการชักชวนจากผู้ประกอบธุรกิจเพื่อให้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ
และหมายความรวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจโดย
ชอบ แม้มิได้เป็นผู้เสียค่าตอบแทนก็ตาม
ความหมาย และลักษณะของ ความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย
พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก
สินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑
คำถาม???
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
12
ดังนั้น (๑)
“product liability” หมายความว่า
อย่างไร
“สินค้า” หมายความว่าอย่างไร
“ผลิตผลเกษตรกรรม” หมายความว่า
อย่างไร
“ผลิต” หมายความว่าอย่างไร
“ผู้เสียหาย” หมายความว่าอย่างไร
“ความเสียหาย” หมายความว่าอย่างไร
“สินค้าที่ไม่ปลอดภัย” หมายความว่า
อย่างไร
“ขาย” หมายความว่าอย่างไร
“นำเข้า” หมายความว่าอย่างไร
“ผู้ประกอบการ” หมายความว่าอย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
13
ดังนั้น (๒)
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก
สินค้าที่ไม่ปลอดภัยมีขอบเขตอย่างไร
การก่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่
ไม่ปลอดภัยมีผลอย่างไร
มีกรณีใดบ้างหรือไม่ที่อาจไม่ต้องรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่
ปลอดภัย
ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดล่วง
หน้ามีลักษณะอย่างไร และมีผลอย่างไร
การดำเนินคดีเกี่ยวกับความรับผิดต่อ
ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่
ปลอดภัยมีลักษณะอย่างไร
พระราชบัญญัติความรับผิดต่อความเสีย
หายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.
๒๕๕๑ มีข้อดีและข้อเสียประการใดบ้าง
ความรับผิดตามพระราชบัญญัติความรับ
ผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่
ไม่ปลอดภัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มีความสัมพันธ์กับ
ความรับผิดเพื่อละเมิดตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
14
ดังนั้น (๓)
ความรับผิดตามพระราชบัญญัติ
ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิด
ขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย พ.ศ.
๒๕๕๑ มีความแตกต่างจากความรับ
ผิดเพื่อละเมิดตามประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ อย่างไร
“ค่าเสียหาย” หมายความว่าอย่างไร
“ค่าสินไหมทดแทนความเสียหาย”
หมายความว่าอย่างไร
“ค่าเสียหายเชิงลงโทษ”
หมายความว่าอย่างไร
“เบี้ยปรับ” หมายความว่าอย่างไร
ค่าเสียหาย ค่าสินไหมทดแทนความ
เสียหาย ค่าเสียหายเชิงลงโทษ และ
เบี้ยปรับ แตกต่างกันอย่างไร
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
15
คำถามเพิ่มเติม???
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)
16
ความรับผิดทางแพ่งของเจ้าของ หรือผู้
ครอบครอง แหล่งกำเนิดมลพิษ เพื่อการ
ก่อให้เกิด หรือเป็นแหล่งกำเนิดของการ
รั่วไหล หรือแพร่กระจายของมลพิษ หรือ
การทำลาย หรือทำให้สูญหาย หรือเสีย
หายแก่ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเป็นของ
รัฐ หรือเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
chacrit.wordpress.com
น.๒๐๑ (กลุ่มที่ ๒)

More Related Content

More from Chacrit Sitdhiwej

ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 
นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดี
นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดีนักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดี
นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดีChacrit Sitdhiwej
 
การทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาค
การทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาคการทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาค
การทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาคChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติChacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 
LA201 launchpad
LA201 launchpadLA201 launchpad
LA201 launchpad
 
นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดี
นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดีนักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดี
นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับกฎหมายสิ่งแวดล้อมที่ดี
 
การทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาค
การทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาคการทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาค
การทบทวนบทเรียนและการเตรียมสอบปลายภาค
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติกฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
 

ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย