SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
กฎหมายเปรียบเทียบกับ
การพัฒนากฎหมาย
ชาคริต สิทธิเวช
1
กฎหมายเปรียบเทียบ
การพัฒนากฎหมาย
2
Law reform
commissions
Ireland
Australia
Hong Kong Tanzania
UK Fiji
New Zealand
3
คณะกรรมการ
พัฒนากฎหมาย
คณะกรรมการกฤษฎีกา
สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย
4
มาตรา ๗  คณะกรรมการกฤษฎีกามีอํานาจหน้าที่
ดังต่อไปนี้
(๑) จัดทําร่างกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ
ประกาศตามคําสั่งของนายกรัฐมนตรีหรือมติของคณะ
รัฐมนตรี
(๒) รับปรึกษาให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วย
งานของรัฐหรือตามคําสั่งของนายกรัฐมนตรีหรือมติของ
คณะรัฐมนตรี
(๓) เสนอความเห็นและข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี
เกี่ยวกับการให้มีกฎหมายหรือแก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิก
กฎหมาย
5
มาตรา ๑๗ ทวิ วรรคหนึ่ง ให้มีคณะกรรมการเรียก
ว่า “คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย” ประกอบด้วย
กรรมการกฤษฎีกาตามมาตรา ๑๑ และกรรมการผู้ทรง
คุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานของรัฐหรือของ
เอกชน ซึ่งประธานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นผู้แต่งตั้ง มี
จํานวนไม่น้อยกว่าเก้าคน แต่ไม่เกินสิบห้าคน เป็น
กรรมการพัฒนากฎหมาย ในจํานวนนี้ให้มีกรรมการ
กฤษฎีกาเป็นประธาน และกรรมการกฤษฎีกาอื่นไม่น้อย
กว่ากึ่งหนึ่ง และให้เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็น
กรรมการพัฒนากฎหมายโดยตําแหน่ง ให้คณะกรรมการ
พัฒนากฎหมายมีอํานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้
6
มาตรา ๑๗ ตรี  ให้สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีหน้าที่ศึกษา
พิจารณาตรวจสอบบรรดากฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ถ้าเห็นว่ากฎหมายฉบับใดหรือ
เรื่องใดมีบทบัญญัติที่จํากัดเสรีภาพในร่างกาย ทรัพย์สิน หรือการประกอบอาชีพ
ของประชาชนโดยไม่สมควรหรือก่อให้เกิดภาระแก่การประกอบอาชีพหรือธุรกิจ
ของบุคคลโดยไม่จําเป็น หรือไม่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลหรือการ
พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง หรือการบริหารราชการ หรือเห็นว่า
ประเทศไทยควรจะมีกฎหมายขึ้นใหม่เพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ
ประชาชนให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น หรือเพื่อประโยชน์แก่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
การเมืองหรือการบริหารราชการ ให้สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ
ความเห็นต่อคณะกรรมการพัฒนากฎหมายเพื่อจัดทําแผนงานหรือโครงการ
พัฒนากฎหมายต่อไป โดยระบุขอบเขตของงาน ขั้นตอนและวิธีดําเนินการ
ตลอดจนงบประมาณสําหรับดําเนินการ และในกรณีที่มีความจําเป็น ต้องมีงบ
ประมาณเพิ่มเติม ให้นําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ความใน
วรรคนี้ไม่ใช้บังคับแก่การตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของกระทรวง ทบวง กรม
ซึ่งคณะรัฐมนตรีส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา
การเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย ถ้าได้มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการพัฒนากฎหมายตามสาขาวิชากฎหมาย ให้เสนอต่อคณะ
กรรมการตามสาขาวิชากฎหมาย
7
มาตรา ๑๗ จัตวา  เมื่อคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแผน
งานหรือโครงการพัฒนากฎหมายตามมาตรา ๑๗ ตรี
แล้ว ให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายดําเนินการศึกษา
วิจัยและจัดทํารายงานพร้อมทั้งร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป โดยจะแต่งตั้งผู้
วิจัยเพื่อจัดทํารายงานตามที่มอบหมายก็ได้ เพื่อการนี้ให้
คณะกรรมการพัฒนากฎหมายมีอํานาจกําหนดค่า
ตอบแทนหรือให้เงินอุดหนุนแก่การวิจัยตามระเบียบที่
ประธานคณะกรรมการกฤษฎีกากําหนด
ในกรณีมีเหตุอันควร คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย
จะขอให้ที่ประชุมใหญ่กรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให้
ความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใดก็ได้
8
มาตรา ๑๗ เบญจ  เพื่อประโยชน์ในการดําเนินงานตาม
มาตรา ๑๗ ตรี หรือมาตรา ๑๗ จัตวา สํานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกาจะจัดให้มีการวิจัย การสัมมนา หรือการรับฟังความคิด
เห็นจากหน่วยงานหรือบุคคลต่าง ๆ ทั้งในภาครัฐบาลและภาค
เอกชนตามความเหมาะสมแก่กรณีก็ได้
 
มาตรา ๑๗ ฉ  ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการพัฒนา
กฎหมายจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เพื่อ
ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการพัฒนากฎหมายมอบหมายก็ได้
 
มาตรา ๑๗ สัตต  ให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายและคณะ
อนุกรรมการตามมาตรา ๑๗ ฉ มีอํานาจเชิญผู้แทนหน่วยงานและ
บุคคลต่าง ๆ ทั้งในภาครัฐบาลและภาคเอกชนมาให้ข้อเท็จจริงหรือ
แสดงความคิดเห็นได้
9
มาตรา ๖๒  ให้มีสํานักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกามีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
...
๙) ศึกษาและรวบรวมข้อมูล รวมทั้งจัดให้ได้
มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับระบบกฎหมายไทยและระบบ
กฎหมายต่างประเทศ และงานวิจัยกฎหมายหรือ
วิชาอื่นที่เกี่ยวกับกฎหมายทั้งของไทยและต่าง
ประเทศ เพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติงานของคณะ
กรรมการกฤษฎีกาและคณะกรรมการพัฒนา
กฎหมายตามพระราชบัญญัตินี้
10
คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
11
คําถาม?
12

More Related Content

Viewers also liked

ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...Chacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิด
ข้อยกเว้นความรับผิดข้อยกเว้นความรับผิด
ข้อยกเว้นความรับผิดChacrit Sitdhiwej
 
การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...
การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...
การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
รู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบ
รู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบรู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบ
รู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบChacrit Sitdhiwej
 
จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้
จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้
จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียมChacrit Sitdhiwej
 
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์Chacrit Sitdhiwej
 

Viewers also liked (9)

ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ...
 
ข้อยกเว้นความรับผิด
ข้อยกเว้นความรับผิดข้อยกเว้นความรับผิด
ข้อยกเว้นความรับผิด
 
การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...
การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...
การวิเคราะห์ร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์และเ...
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดเพื่อละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
รู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบ
รู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบรู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบ
รู้จักและเข้าใจกฎหมายเปรียบเทียบ
 
จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้
จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้
จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปิโตรเลียม
 
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากทรัพย์
 

More from Chacrit Sitdhiwej

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมChacrit Sitdhiwej
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพChacrit Sitdhiwej
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมChacrit Sitdhiwej
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์Chacrit Sitdhiwej
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างChacrit Sitdhiwej
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industryChacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่Chacrit Sitdhiwej
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างChacrit Sitdhiwej
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายChacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)Chacrit Sitdhiwej
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้Chacrit Sitdhiwej
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)Chacrit Sitdhiwej
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐Chacrit Sitdhiwej
 

More from Chacrit Sitdhiwej (20)

ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
 
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพสิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
สิทธิ และหน้าที่ด้านสุขภาพ
 
นิรโทษกรรม
นิรโทษกรรมนิรโทษกรรม
นิรโทษกรรม
 
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิดข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
ข้อยกเว้นความรับผิดเพื่อละเมิด
 
Management of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in ThailandManagement of archaeological sites in Thailand
Management of archaeological sites in Thailand
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากโรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ต้นไม้ หร...
 
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
ความรับผิดเพื่อความเสียหายอันเกิดจากสัตว์
 
การร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิดการร่วมกันทำละเมิด
การร่วมกันทำละเมิด
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้ไร้ความสามารถ
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริตความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
ความรับผิดเพื่อละเมิดของบุคคลไร้ความสามารถ เพราะเหตุเป็นผู้เยาว์ หรือวิกลจริต
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของผู้รับจ้าง
 
Control of petroleum industry
Control of petroleum industryControl of petroleum industry
Control of petroleum industry
 
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
 
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้างความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
ความรับผิดเพื่อละเมิดของลูกจ้าง
 
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลายการกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
การกล่าว หรือการไขข่าวแพร่หลาย
 
การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)การทำละเมิด (๒)
การทำละเมิด (๒)
 
การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)การทำละเมิด (๑)
การทำละเมิด (๑)
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับละเมิด จัดการงานนอกสั่ง และลาภมิควรได้
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย (๑)
 
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
กำหนดการศึกษาวิชา น. ๒๐๑ (ภาคบัณฑิต) ปีการศึกษา ๒๕๖๐
 

กฎหมายเปรียบเทียบกับการพัฒนากฎหมาย

  • 3. Law reform commissions Ireland Australia Hong Kong Tanzania UK Fiji New Zealand 3
  • 5. มาตรา ๗  คณะกรรมการกฤษฎีกามีอํานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดทําร่างกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือ ประกาศตามคําสั่งของนายกรัฐมนตรีหรือมติของคณะ รัฐมนตรี (๒) รับปรึกษาให้ความเห็นทางกฎหมายแก่หน่วย งานของรัฐหรือตามคําสั่งของนายกรัฐมนตรีหรือมติของ คณะรัฐมนตรี (๓) เสนอความเห็นและข้อสังเกตต่อคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับการให้มีกฎหมายหรือแก้ไขปรับปรุงหรือยกเลิก กฎหมาย 5
  • 6. มาตรา ๑๗ ทวิ วรรคหนึ่ง ให้มีคณะกรรมการเรียก ว่า “คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย” ประกอบด้วย กรรมการกฤษฎีกาตามมาตรา ๑๑ และกรรมการผู้ทรง คุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานของรัฐหรือของ เอกชน ซึ่งประธานคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็นผู้แต่งตั้ง มี จํานวนไม่น้อยกว่าเก้าคน แต่ไม่เกินสิบห้าคน เป็น กรรมการพัฒนากฎหมาย ในจํานวนนี้ให้มีกรรมการ กฤษฎีกาเป็นประธาน และกรรมการกฤษฎีกาอื่นไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่ง และให้เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาเป็น กรรมการพัฒนากฎหมายโดยตําแหน่ง ให้คณะกรรมการ พัฒนากฎหมายมีอํานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ 6
  • 7. มาตรา ๑๗ ตรี  ให้สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีหน้าที่ศึกษา พิจารณาตรวจสอบบรรดากฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ ถ้าเห็นว่ากฎหมายฉบับใดหรือ เรื่องใดมีบทบัญญัติที่จํากัดเสรีภาพในร่างกาย ทรัพย์สิน หรือการประกอบอาชีพ ของประชาชนโดยไม่สมควรหรือก่อให้เกิดภาระแก่การประกอบอาชีพหรือธุรกิจ ของบุคคลโดยไม่จําเป็น หรือไม่สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลหรือการ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง หรือการบริหารราชการ หรือเห็นว่า ประเทศไทยควรจะมีกฎหมายขึ้นใหม่เพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชนให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น หรือเพื่อประโยชน์แก่การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองหรือการบริหารราชการ ให้สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาเสนอ ความเห็นต่อคณะกรรมการพัฒนากฎหมายเพื่อจัดทําแผนงานหรือโครงการ พัฒนากฎหมายต่อไป โดยระบุขอบเขตของงาน ขั้นตอนและวิธีดําเนินการ ตลอดจนงบประมาณสําหรับดําเนินการ และในกรณีที่มีความจําเป็น ต้องมีงบ ประมาณเพิ่มเติม ให้นําเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ความใน วรรคนี้ไม่ใช้บังคับแก่การตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งคณะรัฐมนตรีส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา การเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย ถ้าได้มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการพัฒนากฎหมายตามสาขาวิชากฎหมาย ให้เสนอต่อคณะ กรรมการตามสาขาวิชากฎหมาย 7
  • 8. มาตรา ๑๗ จัตวา  เมื่อคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแผน งานหรือโครงการพัฒนากฎหมายตามมาตรา ๑๗ ตรี แล้ว ให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายดําเนินการศึกษา วิจัยและจัดทํารายงานพร้อมทั้งร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป โดยจะแต่งตั้งผู้ วิจัยเพื่อจัดทํารายงานตามที่มอบหมายก็ได้ เพื่อการนี้ให้ คณะกรรมการพัฒนากฎหมายมีอํานาจกําหนดค่า ตอบแทนหรือให้เงินอุดหนุนแก่การวิจัยตามระเบียบที่ ประธานคณะกรรมการกฤษฎีกากําหนด ในกรณีมีเหตุอันควร คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย จะขอให้ที่ประชุมใหญ่กรรมการกฤษฎีกาพิจารณาให้ ความเห็นในเรื่องหนึ่งเรื่องใดก็ได้ 8
  • 9. มาตรา ๑๗ เบญจ  เพื่อประโยชน์ในการดําเนินงานตาม มาตรา ๑๗ ตรี หรือมาตรา ๑๗ จัตวา สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกาจะจัดให้มีการวิจัย การสัมมนา หรือการรับฟังความคิด เห็นจากหน่วยงานหรือบุคคลต่าง ๆ ทั้งในภาครัฐบาลและภาค เอกชนตามความเหมาะสมแก่กรณีก็ได้   มาตรา ๑๗ ฉ  ในกรณีที่เห็นสมควร คณะกรรมการพัฒนา กฎหมายจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคณะหนึ่งหรือหลายคณะ เพื่อ ปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการพัฒนากฎหมายมอบหมายก็ได้   มาตรา ๑๗ สัตต  ให้คณะกรรมการพัฒนากฎหมายและคณะ อนุกรรมการตามมาตรา ๑๗ ฉ มีอํานาจเชิญผู้แทนหน่วยงานและ บุคคลต่าง ๆ ทั้งในภาครัฐบาลและภาคเอกชนมาให้ข้อเท็จจริงหรือ แสดงความคิดเห็นได้ 9
  • 10. มาตรา ๖๒  ให้มีสํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกามีอํานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ ... ๙) ศึกษาและรวบรวมข้อมูล รวมทั้งจัดให้ได้ มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับระบบกฎหมายไทยและระบบ กฎหมายต่างประเทศ และงานวิจัยกฎหมายหรือ วิชาอื่นที่เกี่ยวกับกฎหมายทั้งของไทยและต่าง ประเทศ เพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติงานของคณะ กรรมการกฤษฎีกาและคณะกรรมการพัฒนา กฎหมายตามพระราชบัญญัตินี้ 10