SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
1
Flash ActionScript 2
2
ActionScript
คือ ภาษาสคริปต์ชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้
ในการสร้างให้มูฟวี่ในโปรแกรม Flash สามารถ
ทางานในรูปแบบ Interactive เช่น ตอบสนอง
ต่อการคลิกเมาส์ หรือการกดแป้นพิมพ์ เป็นต้น
3
การเคลื่อนไหวแบบทวีนกับการเขียนสคริปต์
 แบบทวีน การเคลื่อนไหวจะอาศัยการค่อยๆ
เปลี่ยนภาพในแต่ละเฟรม
 ใช้ ActionScritp เป็นการใช้คาสั่ง สั่งการ
เคลื่อนไหวของรูปภาพที่เป็นตัวแทนของซิม
บอล
4
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Tween
5
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ ActionScript
6
หน้าต่าง Action
Actions Toolbox
Script navigator
Script panel Toolbar
7
การเขียนคาสั่งในหน้าต่าง Action
 การเขียนคาสั่งในหน้าต่าง Actions ทาได้ 2
โหมด คือ
 Script Assist
 Expert Mode
 วิธีการสลับการทางานของ 2 โหมด คือ การคลิก
เลือกที่ปุ่ม
8
การใช้งาน Script Assist
 เป็นโหมด Script Assist เราสามารถเขียนคาสั่ง
ต่างๆ โดยการเลือกจากรายการคาสั่งที่จัดเตรียม
ไว้ให้ และมีช่องสาหรับการกาหนด
ค่าพารามิเตอร์ในบางคาสั่ง
9
การใช้งาน Expert Mode
 ในโหมด Expert นี้เราสามารถจะเขียนคาสั่งต่างๆ
ใน Script panel ด้านขวา ซึ่งเราสามารถจะใส่
หรือแก้ไขพารามิเตอร์ต่างๆ ได้โดยตรงในโค้ด
หรือจะใช้งานร่วมกับ Actions Toolbox ก็ได้
10
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
1. สีแสดงไวยกรณ์
 Foreground (เช่น { , ( , :,=) จะเป็นสีดา
 Keywords (เช่น var , function) น้าเงิน
 Identifiers (เช่น object , function) น้าเงิน
 Comments (คาอธิบายสคริปต์) สีเทา
 String (เช่น “Hello”) สีเขียว
11
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
2. การบอกใบ้สาหรับคาสั่ง
ขณะที่เราทาการพิมพ์สคริปต์ที่สอดคล้องกับ
คาสั่งใน ActionScript โปรแกรมจะบอกใบ้
รูปแบบการใช้งานคาสั่งนั้น หรือ พิมพ์ชื่อ
object ก็จะปรากฏเมนูให้เราเลือก method
หรือ Properties ของ object
12
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
 ตัวอย่างการบอกใบ้สาหรับคาสั่ง
13
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
3. การตรวจสอบไวยกรณ์
หากเรายังไม่มีความชานาญในการเขียน Action
Script เราสามารถทาการตรวจสอบความ
ถูกต้องของไวยกรณ์ในการเขียนสคริปต์ที่เรา
กาลังทางานอยู่ ณ ปัจจุบัน ได้
โดยคลิกที่ปุ่ม (Check Syntax)
14
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
 ตัวอย่างการตรวจสอบไวยกรณ์
15
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
4. การแสดงหมายเลขบรรทัด
การแสดงหมายเลขบรรทัดมีประโยชน์มากใน
ขั้นตอนการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดใน
โปรแกรม ซึ่งทาได้โดย
คลิกปุ่ม ที่บนมุมขวาในหน้าต่าง Action
จากนั้นเลือก Line Numbers
16
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
 ตัวอย่างการแสดงหมายเลขบรรทัด
แสดงหมายเลขบรรทัด
เลือกคาสั่ง Line Number
17
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
5. การตัดบรรทัด
ในบางครั้งเราอาจพิมพ์คาสั่งบรรทัดเดียวยาว
มากๆ เพื่อความสะดวกในการอ่านโค้ด เรา
สามารถใช้คาสั่งบรรทัดอัตโนมัติ
โดยคลิกปุ่ม จากนั้นทาการเลือกคาสั่ง
Word Wrap จากเมนูลัด
18
การใช้งานเครื่องมือสาหรับเขียน Script
 ตัวอย่างการตัดบรรทัด
บรรทัดยาวจะถูกตัดให้เห็น
ภายในหน้าต่าง Action
เลือกคาสั่ง Word Wrap
19
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 การระบุถึงพรอพเพอร์ตี้หรือเมธอด
เราจะใช้เครื่องหมายจุด (.) สาหรับระบุถึง
Properties หรือ Method ที่มีในมูฟวี่คลิป โดย
พิมพ์จุดขั้นกลางระหว่างชื่อ instance ของ
MovieClips กับ Properties เช่น
myMovieClip._visible
myMovieClip._play();
20
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 ตัวพิมพ์ใหญ่-พิมพ์เล็ก(Case sensitivity)
ภาษา ActionScript จะมีความเข้มงวดเรื่อง
ตัวพิมพ์ใหญ่-พิมพ์เล็กของตัวอักษร ซึ่งจะมองว่า
ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ และพิมพ์เล็กเป็นคนละตัวกัน
21
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 อัฒภาค Semicolons (;)
ใน ActionScript เมื่อจบคาสั่งจะต้องปิดท้ายด้วย
เครื่องหมาย (;) แต่ก็มีการอนุโลมไม่ให้เกิด
ข้อผิดพลาด หากมีการขึ้นบรรทัดที่ถูกต้อง
var x = 5; var x = 5
var y = 10; var y = 10 x=5 y=10;
ไม่ถูกต้อง
22
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 การเขียนคอมเมนต์ (Comment)
การเขียนคอมเมนต์เป็นการเขียนข้อความกากับ
เพื่ออธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับโค้ด
//ในการเขียนคอมเมนต์สาหรับบรรทัดที่ต้องการ
เช่น // this is comment
/**/ ใช้ในการเขียนคอมเมนต์ครั้งละหลายบรรทัด
เช่น /* this is first comment
this is second comment */
23
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 การใช้งานคาสั่ง trace แสดงค่าของสคริปต์
ในการทดสอบ movie หรือ scene เราจะใช้
action trace แสดงผลลัพธ์จากการคานวณต่างๆ
ออกทางหน้าต่าง Output
trace(expression);
24
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 ตัวแปรใน ActionScript
 การประกาศตัวแปร
1. การประกาศตัวแปรอัตโนมัติ
var my_x=10;
my_x= “Good Morning”;
25
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 ตัวแปรใน ActionScript
2. การประกาศแบบชัดเจน
var variablename:datatype;
โดยที่ variablename หมายถึง ชื่อตัวแปร
datatype หมายถึง ชนิดข้อมูล
เช่น var my_Num:Number = 1;
26
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 หลักการตั้งชื่อตัวแปร
 ค่าที่ใช้ตั้งเป็นชื่อตัวแปร ต้องเป็น identifier
คือ ขึ้นต้นด้วยอักษรภาษาอังกฤษ , _ , $ แต่
ภายในชื่อต้องไม่มีช่องว่าง หรือ สัญลักษณ์
พิเศษ เช่น *, #, @
 ค่าที่ใช้ต้องไม่ซ้ากับ Keyword เช่น break
case true false
 ต้องไม่ซ้ากับชื่อตัวแปรที่ถูกตั้งไว้ก่อนแล้ว
27
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 ชนิดของข้อมูล
 ข้อมูลชนิด String ต้องล้อมรอบด้วย
เครื่องหมาย „‟ หรือ “” เช่น “Tommy”
 ข้อมูลชนิด Number สามารถกาหนดได้ทั้ง
จานวนเต็ม (Integer) และ จานวนจริง
 ข้อมูลชนิด Boolean มี 2 ค่า คือ True และ
False ซึ่งจะแทนด้วย 1 และ 0 ตามลาดับ
28
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 การใช้โอเปอร์เรเตอร์ใน ActionScript
 โอเปอร์เรเตอร์เชิงตัวเลข
 โอเปอร์เรเตอร์กาหนดค่า
 โอเปอร์เรเตอร์เชิงเปรียบเทียบ
 โอเปอร์เรเตอร์เชิงตรรกะ
29
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 โอเปอร์เรเตอร์เชิงตัวเลข (Numeric Operators)
เกี่ยวข้องกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น
การบวก การลบ การคูณ เป็นต้น
+ เช่น 2+4 % เช่น 10%3
- เช่น 4 - 2 ++ เช่น X++
* เช่น 4 * 2 - เช่น X-
/ เช่น 5 / 2
30
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 โอเปอร์เรเตอร์กาหนดค่า (Assignment
Operators)
เป็นการกาหนดค่าให้กับตัวแปร โดยใช้
เครื่องหมาย = ร่วมกับ เครื่องหมาย + - * /
= เช่น x = y
+= เช่น x += y
-= เช่น x -= y
*= เช่น x *= y
31
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 โอเปอร์เรเตอร์เชิงเปรียบเทียบ (Comparison
Operators)
ใช้เปรียบเทียบระหว่าง 2 ค่า โดยมีผลลัพธ์เป็น
true หรือ false
> เช่น x > y == เช่น x == y
>= เช่น x >= y != เช่น X != y
< เช่น x < y
<= เช่น x <= y
32
พื้นฐานการเขียนสคริปต์
 โอเปอร์เรเตอร์เชิงตรรกะ (Logical Operators)
โอเปอร์เรเตอร์เชิงตรรกะจะให้ผลลัพธ์เป็นค่า
true และ false
&& (and) เช่น expr1 && expr2
|| (or) เช่น expr1 || expr2
! (not) เช่น !exp

More Related Content

Similar to Scripts 1

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีPatipat04
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C0872671746
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นSamart Phetdee
 
Vb 6.0
Vb 6.0 Vb 6.0
Vb 6.0 ictppk
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chartbbgunner47
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 

Similar to Scripts 1 (20)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
โครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซีโครงสร้างภาษาซี
โครงสร้างภาษาซี
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง7 2โครงสร้าง
7 2โครงสร้าง
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
Vb 6.0
Vb 6.0 Vb 6.0
Vb 6.0
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
Algorithm flow chart
Algorithm flow chartAlgorithm flow chart
Algorithm flow chart
 
Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
12
1212
12
 
Chapter 10 flash
Chapter 10 flashChapter 10 flash
Chapter 10 flash
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
02 basic
02 basic02 basic
02 basic
 

Scripts 1