SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
ด.ญ. ธัญชนก มาประสพ ม.3/2 เลขที่ 22
ด.ญ. นุชรี บุญเลิศ ม.3/2 เลขที่ 23
ด.ญ. ประกายวรรณ ขยันดี ม.3/2 เลขที่ 24
ด.ญ. พัทธ์ธีรา ทาทอง ม.3/2 เลขที่ 25
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปให้ความ
เป็นอยู่ของคนในบ้าน ในชุมชน ในสังคม มีความสุขและสะดวกต่างๆที่ต้องการ
เช่น พลังงานความร้อน พลังงานเสียง พลังงานกล พลังงานเคมี และช่วยสบาย แต่
ถ้าใช้กันอย่างไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะสม ก็จะส่งผลกรทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น
การสร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าทาให้เนื้อที่ป่าถูกทาลายทั้งสัตว์ต่างๆ ที่ดารงชิ
วิตอยู่ในบริเวณนั้นหรือการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง ก็ส่งผลกระทบ โดยเกิด
มลภาวะทางอากาศ และ ทางนาได้
ข้อควรระวังในการใช้
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า- ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่าง
ระมัดระวัง- หมั่นตรวจดูแลสายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้ได้ดีและ
ปลอดภัย- ถ้าไม่มีความรู้จริง อย่าแก้หรือซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้าเองเป็นอันขาด
ผลเสียที่จะเกิดขึ้น เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ระมัดระวัง- ถูกไฟฟ้าช็อต
เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือไฟฟ้ารั่ว- เกิดเพลิงไหม้เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือ
ไฟฟ้ารั่ว
อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานแสง ได้แก่ หลอดไฟฟ้ า
หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส แอลวา เอดิสัน
(ThomasAlva Edison) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ได้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้ า ขึ้นเป็น
ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2422 โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆเป็นไส้หลอดและต่อมาได้
มีการพัฒนาขึ้น จนเป็นหลอดไฟฟ้ าที่ใช้ในปัจจุบัน
หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า เป็น
เครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3
ชนิด คือ1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูป
พลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง
หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดามี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบ
ดังนี้
1 ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความทานสูง
เช่น ทังสเตน 1.2 หลอดแก้วทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศ
ออกจนหมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทา
ปฏิกิริยายากช่วย
ป้ องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ขาดง่าย
ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้หลอดขาดง่าย 1.3 ขั้ว
หลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว เนื่องจาก
หลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วยการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
ความร้อนก่อนที่จะให้แสงสว่างออกมา จึงทาให้สิ้นเปลือง พลังงานไฟฟ้ามากกว่า
หลอดชนิดอื่น ในขนาดกาลังไฟฟ้า ของหลอดไฟซึ่งจะกาหนดไว้ที่หลอดไฟทุก
ดวง เช่นหลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์เป็นต้น
หลักการทางานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา
การที่หลอด ไฟฟ้าให้แสงสว่างได้เป็นไปตามหลักการดังนี้ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความ
ร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง ออกมาได้ซึ่งมีการเปลี่ยนรูปพลังงานดังนี้
พลังงานไฟฟ้า ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง
หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์
(Fluorescent Lamp)
หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วยหลอดแก้วที่
สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง
หลอดเรืองแสงอาจทาเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้ ส่วนประกอบและการทา
งานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้
1 ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน
เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆแล้วแต่
ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้องฉาบด้วย
สารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟ้ าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพูฉาบด้วย
แคดเนียมบอเรต เป็นต้น
2 ไส้หลอด ทาด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้า
ผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทาให้ไอปรอทที่
บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่
สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทาให้ความต้านทานของหลอดสูง
สตาร์ตเตอร์
ทาหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้ าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทาด้วย
หลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อได้รับความร้อน เมื่อ
กระแสไฟฟ้ าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทาให้แผ่นโลหะคู่งอ
จนแตะติดกันทาให้กลายเป็นวงจรปิดทาให้กระแสไฟฟ้ าผ่านแผ่น โลหะได้ครบวงจร
ก๊าซนีออนที่ติด ริไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิด
ความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันทีซึ่งขณะ เดียวกันกระแสไฟฟ้ าจะผ่านไส้หลอดได้มาก
ขึ้นทาให้ไส้หลอดร้อนขึนมาก ปรอทก็ จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นากระแสไฟฟ้ า
ได้ 2.4 แบลลัสต์ เป็นขดลวดที่พันอยู่บนแกนเหล็ก ขณะกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านจะเกิด
การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้ าทาให้เกิดแรงเคลื่อน ไฟฟ้ าเหนี่ยวนาขึ้น เมื่อแผ่นโลหะคู่
ในสตาร์ตเตอร์แยกตัวออกจากกันนั้นจะเกิดวงจรเปิดชั่วขณะ แรงเคลื่อนไฟฟ้ า
เหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นในแบลลัสต์จึงทาให้เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างไส้หลอดทั้งสอง
ข้างสูงขึ้นเพียงพอที่จะทาให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน ไอปรอทจากไส้หลอดข้างหนึ่งไป
ยังไส้หลอดอีกข้างหนึ่งได้ แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนาทีเกิดจากแบลลัสต์นั้นจะทาให้
เกิดกระแสไฟฟ้ า เหนี่ยวนาไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้ าจากวงจรไฟฟ้ าในบ้าน ทาให้
กระแส ไฟฟ้ าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง
หลักการทางานของหลอดฟลูออเรสเซนต์
เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านไอปรอท จะคายพลังงานไฟฟ้ าให้แก่ไอปรอท ซึ่งจะทาให้
อะตอม ของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (exited state) เป็นผลให้อะตอมปรอท
คายพลังงานออกมาเพื่อ ลดระดับพลังงานในตัวเองในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต
ซึ่งมองไม่เห็น เมื่อรังสีชนิดนี้ไปกระทบกับสารวาวแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวด้านในของ
หลอดฟลูออเรส เซนต์ สารเหล่านี้จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆตามชนิดของ
สารวาวแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น ซิงค์ซิลิเคท (Zinc silicate) ให้แสงสีเขียว
ซิงค์เบริลเลียมซิลิเคท (Zinc Berylliumsilicate) ให้แสงสีเหลืองนวล นอกจากนี้ยังอาจ
ผสมสารวาวแสงเหล่านี้ เพื่อให้ได้แสงสีผสมที่แตกต่างกันออกไปได้อีกด้วย
โฆษณาหรือหลอดนีออน
หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้วดัดให้เป็น
รูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้ าทาด้วยโลหะ
ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์
ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆ
ออกมาเมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซฮีเลียม
ให้แสงสีชมพู ความต่างศักย์ที่สูงมากๆ จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิด
การแตกตัวเป็นนีออน
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานความร้อน เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็น
พลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดตัวนาที่มี
ความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้นจะร้อนจนสามารถนาความร้อนออกไปใช้
ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้ ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่
เท่ากัน ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความ
ระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว
กระทะไฟฟ้ า กาต้มน้า เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้ า ฯลฯ
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานกล โดย
อาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้ า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่ามอเตอร์ และ เครื่อง
ควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม
เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้าผลไม้ ฯลฯ
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับวิทยุเครื่อง
ขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ 1.เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้ าให้แรงขึ้นเมื่อ
ผ่านสัญญาณไฟฟ้ านี้ไปยังลาโพงจะทาให้ลาโพงสั่น สะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่
สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานเสียง
ของเครื่องรับวิทยุ
การบารุงรักษา และใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกวิธี
เครื่องใช้ไฟฟ้ า เป็นเครื่องใช้ภายในบ้านที่ต้องใช้ไฟฟ้ าจึงจะทางานได้ เช่น เครื่องทา
น้าอุ่นโทรทัศน์ พัดลม ซึ่งการบารุงรักษา และใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกวิธีและ
ประหยัดพลังงาน ควรปฏิบัติ ดังนี้
1. เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้ ำ การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี
- ควรพิจารณาเลือกเครื่องทาน้าอุ่นให้เหมาะสมกับการใช้เป็นหลัก เช่น ต้องการใช้
น้าอุ่นเพื่ออาบน้าเท่านั้น ก็ควรจะติดตั้งชนิดทาน้าอุ่นได้จุดเดียว
- ควรเลือกใช้ฝักบัวชนิดประหยัดน้า (Water Efficient Showerhead) เพราะ
สามารถประหยัดน้าได้ถึงร้อยละ 25-75
- ควรเลือกใช้เครื่องทาน้าอุ่นที่มีถังน้าภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุ้ม เพราะ
สามารถลดการใช้พลังงานได้ร้อยละ 10-20
- ควรหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้ าชนิดที่ไม่มีถังน้าภายใน เพราะจะทา
ให้สิ้นเปลืองการใช้พลังงาน
- ปิดวาล์วน้าและสวิตช์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน
กำรดูแลรักษำ
ควรหมั่นตรวจสอบการทางานของเครื่องให้มีสภาพดีอยู่เสมอ ตลอดจน
ตรวจดูระบบท่อน้าและรอยต่อ อย่าให้มีการรั่วซึม และเมื่อเครื่องมีปัญหาควร
ตรวจสอบ ดังนี้
- ถ้าน้าที่ออกจากเครื่องน้าเย็น อันเนื่องจากไม่มีกระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าสู่ขด
ลวดความร้อนสาเหตุอาจเกิดจากฟิวส์ขาด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ไฟ
ผ่าน
- ถ้าไฟสัญญาณติดแต่ขดลวดความร้อนไม่ทางาน น้าไม่อุ่น สาเหตุอาจเกิด
จากขดลวด ความร้อนขาด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิเสีย
- ถ้าน้าจากเครื่องร้อน หรือเย็นเกินไป สาเหตุอาจเกิดจากอุปกรณ์ควบคุม
อุณหภูมิทางาน ผิดปกติ
โทรทัศน์
การเลือกใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี
- การเลือกใช้โทรทัศน์สีควรคานึงถึงความเหมาะสมของขนาดและการใช้กาลังไฟฟ้ า
- โทรทัศน์สีระบบเดียวกันแต่ขนาดต่างกัน จะใช้พลังงานต่างกันด้วย กล่าวคือ
โทรทัศน์สีที่มีขนาดใหญ่ และมีราคาแพงกว่า จะใช้กาลังไฟฟ้ ามากกว่าโทรทัศน์สี
ขนาดเล็ก เช่น ระบบทั่วไป ขนาด 16 นิ้ว จะเสียค่าใช้ไฟฟ้ ามากกว่า 14 นิ้ว ร้อยละ
5 หรือ ขนาด 20 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ ามากกว่าขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 5 หรือขนาด
20 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ ามากกว่าขนาด 16 นิ้ว ร้อยละ 34
- ปิดเมื่อไม่มีคนดู หรือตั้งเวลาปิดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติ เพื่อช่วยประหยัดไฟฟ้ า
- ไม่ควรเสียปลั๊กเครื่องเล่นวีดีโอ หรือเครื่องเล่นซีดีในขณะที่ยังไม่ต้องการใช้
เพราะเครื่องเล่นเหล่านี้จะทางานอยู่ตลอดเวลา จึงทาให้เสียค่าไฟฟ้ าโดยไม่จาเป็น
- พิจารณาเลือกดูรายการเอาไว้ล่วงหน้า ดูเฉพาะรายการที่เลือกตามช่วงเวลา
นั้นๆ
หากดูรายการเดียวกันควรเปิดโทรทัศน์เพียงเครื่องเดียว
กำรดูแลรักษำ
การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคงทน
ภาพที่
ได้ชัดเจน และมีอายุการทางานยาวนานขึ้นแล้ว ผลพลอยได้อีกส่วนหนึ่งก็คือ
ประหยัดพลังงาน
- ควรเลือกใช้เสาอากาศภายนอกบ้านที่มีคุณภาพดี และติดตั้งถูกต้องตามหลัก
วิชาการ เช่น หันเสาไปทางที่ตั้งของสถานีในลักษณะให้ตั้งฉาก เป็นต้น
- ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาสได้ดี และตั้งห่างจากผนัง หรือมู่ลี่
อย่าง น้อยประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อให้เครื่องสามารถระบายความร้อนได้
สะดวก
- ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป เพราะจะทาให้หลอดภาพมีอายุสั้น และ
สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ าโดยไม่จาเป็น
- ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวตู้โทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่างอ่อน หรือน้ายาล้าง
จาน ผสมกับน้า ชุบทาบางๆ แล้วเช็ดด้วยผ้านุ่มให้แห้ง โดยอย่าลืมถอดปลั๊กออก
ก่อนทาความสะอาด
- อย่าถอดด้านหลังของเครื่องด้วยตนเอง เพราะอาจจะเกิดความเสียหายต่อ
โทรทัศน์ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโทรทัศน์สีจะผลิตกระแสไฟฟ้ าแรงดันสูง (High Voltage)
ซึ่งเป็นอันตรายต่อการสัมผัส แม้ว่าจะปิดไฟแล้วก็ตาม
เครื่องดูดฝุ่ น
การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี
- ควรเลือกขนาดของเครื่องตามความจาเป็นในการใช้งาน
- วัสดุที่เป็นพรมหรือผ้าซึ่งฝุ่นสามารถเกาะได้อย่างแน่นหนา ควรใช้เครื่องที่มีขนาด
กาลังไฟฟ้ ามาก (Heavy Duty) ส่วนบ้านเรือนที่เป็นพื้นไม้ พื้นปูน หรือหินอ่อนที่ง่าย
ต่อการ ทาความสะอาด เพราะฝุ่นละอองไม่เกาะติดแน่น ก็ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นที่มี
กาลังไฟฟ้ าต่าซึ่งจะไม่ สิ้นเปลืองการใช้ไฟฟ้ า
- ควรหมั่นถอดตัวกรองหรือตะแกรงดักฝุ่นออกมาทาความสะอาด เพราะถ้าเกิด
การ อุดตัน นอกจากจะทาให้ลดประสิทธิภาพการดูดฝุ่น ดูดฝุ่นไม่เต็มที่ และเพิ่ม
เวลาการดูดฝุ่น
เป็นการเพิ่มปริมาณการใช้ไฟฟ้ าของมอเตอร์ที่ต้องทางานหนักและอาจไหม้ได้
- ควรใช้ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อเป็นการระบายความร้อนตัวมอเตอร์
- ไม่ควรใช้ดูดวัสดุที่มีส่วนประกอบของน้า ความชื้น และของเหลวต่างๆ รวมทั้ง
สิ่งของที่มีคม และของที่กาลังติดไฟ เช่น ใบมีดโกน บุหรี่ เป็นต้น เพราะอาจก่อให้เกิด
อันตราย ต่อส่วนประกอบต่างๆ
- ควรหมั่นถอดถุงผ้าหรือกล่องเก็บฝุ่นออกมาทิ้ง อย่าให้สะสมจนเต็มเพราะมอเตอร์
ต้องทางานหนักขึ้น อาจทาให้มอเตอร์ไหม้ได้ และยังทาให้การใช้ไฟฟ้ าสิ้นเปลืองขึ้น
- ใช้หัวดูดฝุ่นให้เหมาะกับลักษณะฝุ่นหรือสถานที่ เช่น หัวดูดชนิดปากปลายแหลมจะ
ใช้กับบริเวณที่เป็นซอกเล็กๆ หัวดูดที่เป็นแปรงใช้กับโคมไฟ เพดาน กรอบรูป เป็นต้น
ถ้าใช้ ผิดประเภทจะทาให้ประสิทธิภาพในการดูดลดลง สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ า
- ก่อนดูดฝุ่น ควรตรวจสอบข้อต่อของท่อดูดหรือชิ้นส่วนต่างๆ ให้แน่น มิฉะนั้นอาจ
เกิดการรั่วของอากาศ ประสิทธิภาพของเครื่องจะลดลง และมอเตอร์อาจทางานหนัก
และไหม้ได้
กำรดูแลรักษำ
- หมั่นทาความสะอาดส่วนต่างๆ ของเครื่องให้สะอาด และอย่าให้มีสิ่งสกปรก
เข้าไปทาให้อุดตัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวกรองหรือตะแกรงกันเศษวัสดุมิให้เข้า
สู่มอเตอร์ ควรทาความสะอาดโดยใช้แปรงถูเบาๆ และล้างน้า จากนั้นนาไป
ตากแดดในที่ร่มให้แห้ง ไม่ควรใช้น้าอุ่นล้างน้าควรมีอุณหภูมิต่ากว่า 45 องศา
เซลเซียส
- หลังจากใช้งานเรียบร้อยแล้ว ควรนาไปวางในสถานที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี
เพื่อ
ให้มอเตอร์ระบายความร้อนได้อย่างรวดเร็ว
เครื่องใช้ไฟฟ้ าทุกชนิดจะมีอายุไขของมันและขึ้นอยู่กับการ
ดูแลรักษาของเราถ้าเรารักษาเครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกวิธี
เครื่องใช้ไฟฟ้ าก็จะไม่เสียบ่อยถ้าเรารักษาเครื่องใช้ไฟฟ้ าผิด
วิธีอาจก่อให้เกิดอันตรายก็เป็นได้
สิ้นสุดการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

ไฟฟ้าในบ้าน
ไฟฟ้าในบ้านไฟฟ้าในบ้าน
ไฟฟ้าในบ้านsiriwan3335
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsaranya3235
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsaranya3235
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsaranya3235
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จPanatsaya
 
CLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWCLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWJack Wong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand Jack Wong
 
เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302chindekthai01
 

What's hot (11)

ไฟฟ้าในบ้าน
ไฟฟ้าในบ้านไฟฟ้าในบ้าน
ไฟฟ้าในบ้าน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
สำเร็จ
สำเร็จสำเร็จ
สำเร็จ
 
CLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWCLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kW
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
 
เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302เครื่องใชเไฟฟ้า302
เครื่องใชเไฟฟ้า302
 

Viewers also liked

Propiedades de la materia
Propiedades de la materiaPropiedades de la materia
Propiedades de la materiaRobero_Parra
 
DIVERSIFY- Modern business MUST DO!
DIVERSIFY- Modern business MUST DO!DIVERSIFY- Modern business MUST DO!
DIVERSIFY- Modern business MUST DO!Mick Muianga
 
DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.
DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.
DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.Mick Muianga
 
Biología i bloque i
Biología i bloque iBiología i bloque i
Biología i bloque iRobero_Parra
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าbew122
 
Clasificación de los seres vivos
Clasificación de los seres vivosClasificación de los seres vivos
Clasificación de los seres vivosRobero_Parra
 
Visual and Digital Shade Analysis of Vital Human Teeth
Visual and Digital Shade Analysis of Vital Human TeethVisual and Digital Shade Analysis of Vital Human Teeth
Visual and Digital Shade Analysis of Vital Human TeethMick Muianga
 
Presentación de biología
Presentación de biologíaPresentación de biología
Presentación de biologíaRobero_Parra
 
Geografía Bloque II
Geografía Bloque IIGeografía Bloque II
Geografía Bloque IIRobero_Parra
 
CAD/CAM in dentistry
CAD/CAM in dentistryCAD/CAM in dentistry
CAD/CAM in dentistryMick Muianga
 
Facial Morphology of Southern African Ethnic Groups
Facial Morphology of Southern African Ethnic GroupsFacial Morphology of Southern African Ethnic Groups
Facial Morphology of Southern African Ethnic GroupsMick Muianga
 
CEREC CAD/CAM in dentistry
CEREC CAD/CAM in dentistryCEREC CAD/CAM in dentistry
CEREC CAD/CAM in dentistryMick Muianga
 
Implant Prosthetics Complications - Avoiding Failures
Implant Prosthetics Complications - Avoiding FailuresImplant Prosthetics Complications - Avoiding Failures
Implant Prosthetics Complications - Avoiding FailuresMick Muianga
 

Viewers also liked (17)

Propiedades de la materia
Propiedades de la materiaPropiedades de la materia
Propiedades de la materia
 
DIVERSIFY- Modern business MUST DO!
DIVERSIFY- Modern business MUST DO!DIVERSIFY- Modern business MUST DO!
DIVERSIFY- Modern business MUST DO!
 
Natureland
NaturelandNatureland
Natureland
 
La familia
 La familia La familia
La familia
 
DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.
DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.
DIVERSIFY - Why you are still stuck in EVERYTHING.
 
Biología i bloque i
Biología i bloque iBiología i bloque i
Biología i bloque i
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Clasificación de los seres vivos
Clasificación de los seres vivosClasificación de los seres vivos
Clasificación de los seres vivos
 
Visual and Digital Shade Analysis of Vital Human Teeth
Visual and Digital Shade Analysis of Vital Human TeethVisual and Digital Shade Analysis of Vital Human Teeth
Visual and Digital Shade Analysis of Vital Human Teeth
 
Herbolaria
HerbolariaHerbolaria
Herbolaria
 
Presentación de biología
Presentación de biologíaPresentación de biología
Presentación de biología
 
Geografía Bloque II
Geografía Bloque IIGeografía Bloque II
Geografía Bloque II
 
CAD/CAM in dentistry
CAD/CAM in dentistryCAD/CAM in dentistry
CAD/CAM in dentistry
 
Facial Morphology of Southern African Ethnic Groups
Facial Morphology of Southern African Ethnic GroupsFacial Morphology of Southern African Ethnic Groups
Facial Morphology of Southern African Ethnic Groups
 
CEREC CAD/CAM in dentistry
CEREC CAD/CAM in dentistryCEREC CAD/CAM in dentistry
CEREC CAD/CAM in dentistry
 
Implant Prosthetics Complications - Avoiding Failures
Implant Prosthetics Complications - Avoiding FailuresImplant Prosthetics Complications - Avoiding Failures
Implant Prosthetics Complications - Avoiding Failures
 
Bio battery
Bio batteryBio battery
Bio battery
 

Similar to เครื่องใช้ไฟฟ้า

ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าpatarapan
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์thanawan302
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sangzaclub
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันfghfhtruru
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าfghfhtruru
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าsaranya3235
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1Keatisak TAtanarua
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
Dictionary
DictionaryDictionary
DictionaryPapanpis
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์anantragool1735
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์anantragool1735
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์anantragool1735
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้าJirachaya_chumwong
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้าJirachaya_chumwong
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้าJirachaya_chumwong
 

Similar to เครื่องใช้ไฟฟ้า (20)

ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
Dictionary
DictionaryDictionary
Dictionary
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

เครื่องใช้ไฟฟ้า

  • 1.
  • 2. ด.ญ. ธัญชนก มาประสพ ม.3/2 เลขที่ 22 ด.ญ. นุชรี บุญเลิศ ม.3/2 เลขที่ 23 ด.ญ. ประกายวรรณ ขยันดี ม.3/2 เลขที่ 24 ด.ญ. พัทธ์ธีรา ทาทอง ม.3/2 เลขที่ 25
  • 3. เครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปให้ความ เป็นอยู่ของคนในบ้าน ในชุมชน ในสังคม มีความสุขและสะดวกต่างๆที่ต้องการ เช่น พลังงานความร้อน พลังงานเสียง พลังงานกล พลังงานเคมี และช่วยสบาย แต่ ถ้าใช้กันอย่างไม่ถูกต้อง หรือไม่เหมาะสม ก็จะส่งผลกรทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น การสร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าทาให้เนื้อที่ป่าถูกทาลายทั้งสัตว์ต่างๆ ที่ดารงชิ วิตอยู่ในบริเวณนั้นหรือการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง ก็ส่งผลกระทบ โดยเกิด มลภาวะทางอากาศ และ ทางนาได้
  • 4. ข้อควรระวังในการใช้ ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า- ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่าง ระมัดระวัง- หมั่นตรวจดูแลสายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้ได้ดีและ ปลอดภัย- ถ้าไม่มีความรู้จริง อย่าแก้หรือซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้าเองเป็นอันขาด ผลเสียที่จะเกิดขึ้น เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ระมัดระวัง- ถูกไฟฟ้าช็อต เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือไฟฟ้ารั่ว- เกิดเพลิงไหม้เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือ ไฟฟ้ารั่ว
  • 5. อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานแสง ได้แก่ หลอดไฟฟ้ า หลอดฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส แอลวา เอดิสัน (ThomasAlva Edison) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ได้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้ า ขึ้นเป็น ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2422 โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆเป็นไส้หลอดและต่อมาได้ มีการพัฒนาขึ้น จนเป็นหลอดไฟฟ้ าที่ใช้ในปัจจุบัน
  • 6. หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า เป็น เครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูป พลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดามี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบ ดังนี้ 1 ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความทานสูง เช่น ทังสเตน 1.2 หลอดแก้วทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศ ออกจนหมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทา ปฏิกิริยายากช่วย
  • 7. ป้ องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้หลอดขาดง่าย 1.3 ขั้ว หลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว เนื่องจาก หลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วยการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน ความร้อนก่อนที่จะให้แสงสว่างออกมา จึงทาให้สิ้นเปลือง พลังงานไฟฟ้ามากกว่า หลอดชนิดอื่น ในขนาดกาลังไฟฟ้า ของหลอดไฟซึ่งจะกาหนดไว้ที่หลอดไฟทุก ดวง เช่นหลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์เป็นต้น
  • 8. หลักการทางานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา การที่หลอด ไฟฟ้าให้แสงสว่างได้เป็นไปตามหลักการดังนี้ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหล ผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความ ร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง ออกมาได้ซึ่งมีการเปลี่ยนรูปพลังงานดังนี้ พลังงานไฟฟ้า ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง
  • 9. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วยหลอดแก้วที่ สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทาเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้ ส่วนประกอบและการทา งานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้ 1 ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซอาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆแล้วแต่ ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้องฉาบด้วย สารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟ้ าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพูฉาบด้วย แคดเนียมบอเรต เป็นต้น
  • 10. 2 ไส้หลอด ทาด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อกระแสไฟฟ้า ผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทาให้ไอปรอทที่ บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอปรอทไม่ สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทาให้ความต้านทานของหลอดสูง
  • 11. สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้ าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทาด้วย หลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อได้รับความร้อน เมื่อ กระแสไฟฟ้ าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทาให้แผ่นโลหะคู่งอ จนแตะติดกันทาให้กลายเป็นวงจรปิดทาให้กระแสไฟฟ้ าผ่านแผ่น โลหะได้ครบวงจร ก๊าซนีออนที่ติด ริไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิด ความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันทีซึ่งขณะ เดียวกันกระแสไฟฟ้ าจะผ่านไส้หลอดได้มาก ขึ้นทาให้ไส้หลอดร้อนขึนมาก ปรอทก็ จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นากระแสไฟฟ้ า
  • 12. ได้ 2.4 แบลลัสต์ เป็นขดลวดที่พันอยู่บนแกนเหล็ก ขณะกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านจะเกิด การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้ าทาให้เกิดแรงเคลื่อน ไฟฟ้ าเหนี่ยวนาขึ้น เมื่อแผ่นโลหะคู่ ในสตาร์ตเตอร์แยกตัวออกจากกันนั้นจะเกิดวงจรเปิดชั่วขณะ แรงเคลื่อนไฟฟ้ า เหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นในแบลลัสต์จึงทาให้เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างไส้หลอดทั้งสอง ข้างสูงขึ้นเพียงพอที่จะทาให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน ไอปรอทจากไส้หลอดข้างหนึ่งไป ยังไส้หลอดอีกข้างหนึ่งได้ แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนาทีเกิดจากแบลลัสต์นั้นจะทาให้ เกิดกระแสไฟฟ้ า เหนี่ยวนาไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้ าจากวงจรไฟฟ้ าในบ้าน ทาให้ กระแส ไฟฟ้ าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง
  • 13. หลักการทางานของหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านไอปรอท จะคายพลังงานไฟฟ้ าให้แก่ไอปรอท ซึ่งจะทาให้ อะตอม ของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (exited state) เป็นผลให้อะตอมปรอท คายพลังงานออกมาเพื่อ ลดระดับพลังงานในตัวเองในรูปของรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งมองไม่เห็น เมื่อรังสีชนิดนี้ไปกระทบกับสารวาวแสงที่ฉาบไว้ที่ผิวด้านในของ หลอดฟลูออเรส เซนต์ สารเหล่านี้จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสีต่างๆตามชนิดของ สารวาวแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น ซิงค์ซิลิเคท (Zinc silicate) ให้แสงสีเขียว ซิงค์เบริลเลียมซิลิเคท (Zinc Berylliumsilicate) ให้แสงสีเหลืองนวล นอกจากนี้ยังอาจ ผสมสารวาวแสงเหล่านี้ เพื่อให้ได้แสงสีผสมที่แตกต่างกันออกไปได้อีกด้วย
  • 14. โฆษณาหรือหลอดนีออน หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้วดัดให้เป็น รูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้ าทาด้วยโลหะ ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ า ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆ ออกมาเมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซฮีเลียม ให้แสงสีชมพู ความต่างศักย์ที่สูงมากๆ จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิด การแตกตัวเป็นนีออน
  • 15. เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานความร้อน เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็น พลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้ าผ่านขดลวดตัวนาที่มี ความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้นจะร้อนจนสามารถนาความร้อนออกไปใช้ ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้ ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่ เท่ากัน ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความ ระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้ า กาต้มน้า เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้ า ฯลฯ
  • 16. เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานกล โดย อาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้ า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่ามอเตอร์ และ เครื่อง ควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้าผลไม้ ฯลฯ
  • 17. เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับวิทยุเครื่อง ขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ 1.เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยน พลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้ าให้แรงขึ้นเมื่อ ผ่านสัญญาณไฟฟ้ านี้ไปยังลาโพงจะทาให้ลาโพงสั่น สะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่ สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็นพลังงานเสียง ของเครื่องรับวิทยุ
  • 18. การบารุงรักษา และใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกวิธี เครื่องใช้ไฟฟ้ า เป็นเครื่องใช้ภายในบ้านที่ต้องใช้ไฟฟ้ าจึงจะทางานได้ เช่น เครื่องทา น้าอุ่นโทรทัศน์ พัดลม ซึ่งการบารุงรักษา และใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าอย่างถูกวิธีและ ประหยัดพลังงาน ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. เครื่องทำน้ำอุ่นไฟฟ้ ำ การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี - ควรพิจารณาเลือกเครื่องทาน้าอุ่นให้เหมาะสมกับการใช้เป็นหลัก เช่น ต้องการใช้ น้าอุ่นเพื่ออาบน้าเท่านั้น ก็ควรจะติดตั้งชนิดทาน้าอุ่นได้จุดเดียว
  • 19. - ควรเลือกใช้ฝักบัวชนิดประหยัดน้า (Water Efficient Showerhead) เพราะ สามารถประหยัดน้าได้ถึงร้อยละ 25-75 - ควรเลือกใช้เครื่องทาน้าอุ่นที่มีถังน้าภายในตัวเครื่องและมีฉนวนหุ้ม เพราะ สามารถลดการใช้พลังงานได้ร้อยละ 10-20 - ควรหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องทาน้าอุ่นไฟฟ้ าชนิดที่ไม่มีถังน้าภายใน เพราะจะทา ให้สิ้นเปลืองการใช้พลังงาน - ปิดวาล์วน้าและสวิตช์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน กำรดูแลรักษำ ควรหมั่นตรวจสอบการทางานของเครื่องให้มีสภาพดีอยู่เสมอ ตลอดจน ตรวจดูระบบท่อน้าและรอยต่อ อย่าให้มีการรั่วซึม และเมื่อเครื่องมีปัญหาควร ตรวจสอบ ดังนี้ - ถ้าน้าที่ออกจากเครื่องน้าเย็น อันเนื่องจากไม่มีกระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าสู่ขด ลวดความร้อนสาเหตุอาจเกิดจากฟิวส์ขาด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิไม่ให้ไฟ ผ่าน - ถ้าไฟสัญญาณติดแต่ขดลวดความร้อนไม่ทางาน น้าไม่อุ่น สาเหตุอาจเกิด จากขดลวด ความร้อนขาด อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิเสีย - ถ้าน้าจากเครื่องร้อน หรือเย็นเกินไป สาเหตุอาจเกิดจากอุปกรณ์ควบคุม อุณหภูมิทางาน ผิดปกติ
  • 20. โทรทัศน์ การเลือกใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี - การเลือกใช้โทรทัศน์สีควรคานึงถึงความเหมาะสมของขนาดและการใช้กาลังไฟฟ้ า - โทรทัศน์สีระบบเดียวกันแต่ขนาดต่างกัน จะใช้พลังงานต่างกันด้วย กล่าวคือ โทรทัศน์สีที่มีขนาดใหญ่ และมีราคาแพงกว่า จะใช้กาลังไฟฟ้ ามากกว่าโทรทัศน์สี ขนาดเล็ก เช่น ระบบทั่วไป ขนาด 16 นิ้ว จะเสียค่าใช้ไฟฟ้ ามากกว่า 14 นิ้ว ร้อยละ 5 หรือ ขนาด 20 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ ามากกว่าขนาด 14 นิ้ว ร้อยละ 5 หรือขนาด 20 นิ้ว จะเสียค่าไฟฟ้ ามากกว่าขนาด 16 นิ้ว ร้อยละ 34
  • 21. - ปิดเมื่อไม่มีคนดู หรือตั้งเวลาปิดโทรทัศน์โดยอัตโนมัติ เพื่อช่วยประหยัดไฟฟ้ า - ไม่ควรเสียปลั๊กเครื่องเล่นวีดีโอ หรือเครื่องเล่นซีดีในขณะที่ยังไม่ต้องการใช้ เพราะเครื่องเล่นเหล่านี้จะทางานอยู่ตลอดเวลา จึงทาให้เสียค่าไฟฟ้ าโดยไม่จาเป็น - พิจารณาเลือกดูรายการเอาไว้ล่วงหน้า ดูเฉพาะรายการที่เลือกตามช่วงเวลา นั้นๆ หากดูรายการเดียวกันควรเปิดโทรทัศน์เพียงเครื่องเดียว กำรดูแลรักษำ การดูแลรักษาและใช้โทรทัศน์ให้ถูกวิธี นอกจากจะช่วยให้โทรทัศน์เกิดความคงทน ภาพที่ ได้ชัดเจน และมีอายุการทางานยาวนานขึ้นแล้ว ผลพลอยได้อีกส่วนหนึ่งก็คือ ประหยัดพลังงาน
  • 22. - ควรเลือกใช้เสาอากาศภายนอกบ้านที่มีคุณภาพดี และติดตั้งถูกต้องตามหลัก วิชาการ เช่น หันเสาไปทางที่ตั้งของสถานีในลักษณะให้ตั้งฉาก เป็นต้น - ควรวางโทรทัศน์ไว้ในจุดที่มีการถ่ายเทอากาสได้ดี และตั้งห่างจากผนัง หรือมู่ลี่ อย่าง น้อยประมาณ 10 เซนติเมตร เพื่อให้เครื่องสามารถระบายความร้อนได้ สะดวก - ไม่ควรปรับจอภาพให้สว่างมากเกินไป เพราะจะทาให้หลอดภาพมีอายุสั้น และ สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ าโดยไม่จาเป็น - ใช้ผ้านุ่มเช็ดตัวตู้โทรทัศน์ ส่วนจอภาพควรใช้ผงซักฟอกอย่างอ่อน หรือน้ายาล้าง จาน ผสมกับน้า ชุบทาบางๆ แล้วเช็ดด้วยผ้านุ่มให้แห้ง โดยอย่าลืมถอดปลั๊กออก ก่อนทาความสะอาด - อย่าถอดด้านหลังของเครื่องด้วยตนเอง เพราะอาจจะเกิดความเสียหายต่อ โทรทัศน์ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งโทรทัศน์สีจะผลิตกระแสไฟฟ้ าแรงดันสูง (High Voltage) ซึ่งเป็นอันตรายต่อการสัมผัส แม้ว่าจะปิดไฟแล้วก็ตาม
  • 23. เครื่องดูดฝุ่ น การใช้อย่างประหยัดพลังงานและถูกวิธี - ควรเลือกขนาดของเครื่องตามความจาเป็นในการใช้งาน - วัสดุที่เป็นพรมหรือผ้าซึ่งฝุ่นสามารถเกาะได้อย่างแน่นหนา ควรใช้เครื่องที่มีขนาด กาลังไฟฟ้ ามาก (Heavy Duty) ส่วนบ้านเรือนที่เป็นพื้นไม้ พื้นปูน หรือหินอ่อนที่ง่าย ต่อการ ทาความสะอาด เพราะฝุ่นละอองไม่เกาะติดแน่น ก็ควรใช้เครื่องดูดฝุ่นที่มี กาลังไฟฟ้ าต่าซึ่งจะไม่ สิ้นเปลืองการใช้ไฟฟ้ า - ควรหมั่นถอดตัวกรองหรือตะแกรงดักฝุ่นออกมาทาความสะอาด เพราะถ้าเกิด การ อุดตัน นอกจากจะทาให้ลดประสิทธิภาพการดูดฝุ่น ดูดฝุ่นไม่เต็มที่ และเพิ่ม เวลาการดูดฝุ่น
  • 24. เป็นการเพิ่มปริมาณการใช้ไฟฟ้ าของมอเตอร์ที่ต้องทางานหนักและอาจไหม้ได้ - ควรใช้ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อเป็นการระบายความร้อนตัวมอเตอร์ - ไม่ควรใช้ดูดวัสดุที่มีส่วนประกอบของน้า ความชื้น และของเหลวต่างๆ รวมทั้ง สิ่งของที่มีคม และของที่กาลังติดไฟ เช่น ใบมีดโกน บุหรี่ เป็นต้น เพราะอาจก่อให้เกิด อันตราย ต่อส่วนประกอบต่างๆ - ควรหมั่นถอดถุงผ้าหรือกล่องเก็บฝุ่นออกมาทิ้ง อย่าให้สะสมจนเต็มเพราะมอเตอร์ ต้องทางานหนักขึ้น อาจทาให้มอเตอร์ไหม้ได้ และยังทาให้การใช้ไฟฟ้ าสิ้นเปลืองขึ้น - ใช้หัวดูดฝุ่นให้เหมาะกับลักษณะฝุ่นหรือสถานที่ เช่น หัวดูดชนิดปากปลายแหลมจะ ใช้กับบริเวณที่เป็นซอกเล็กๆ หัวดูดที่เป็นแปรงใช้กับโคมไฟ เพดาน กรอบรูป เป็นต้น ถ้าใช้ ผิดประเภทจะทาให้ประสิทธิภาพในการดูดลดลง สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ า - ก่อนดูดฝุ่น ควรตรวจสอบข้อต่อของท่อดูดหรือชิ้นส่วนต่างๆ ให้แน่น มิฉะนั้นอาจ เกิดการรั่วของอากาศ ประสิทธิภาพของเครื่องจะลดลง และมอเตอร์อาจทางานหนัก และไหม้ได้
  • 25. กำรดูแลรักษำ - หมั่นทาความสะอาดส่วนต่างๆ ของเครื่องให้สะอาด และอย่าให้มีสิ่งสกปรก เข้าไปทาให้อุดตัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวกรองหรือตะแกรงกันเศษวัสดุมิให้เข้า สู่มอเตอร์ ควรทาความสะอาดโดยใช้แปรงถูเบาๆ และล้างน้า จากนั้นนาไป ตากแดดในที่ร่มให้แห้ง ไม่ควรใช้น้าอุ่นล้างน้าควรมีอุณหภูมิต่ากว่า 45 องศา เซลเซียส - หลังจากใช้งานเรียบร้อยแล้ว ควรนาไปวางในสถานที่ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี เพื่อ ให้มอเตอร์ระบายความร้อนได้อย่างรวดเร็ว