SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ระบบ (System)
ความหมายของระบบ หมายถึง การนาปัจจัยต่างๆ
อันได้แก่ คน (People) ทรัพยากร (Resource) แนวคิด
(Concept) และกระบวนการ (Process) มาผสมผสานการ
ทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ได้
วางแผนไว้ โดยภายในระบบอาจประกอบไปด้วยระบบย่อย
(Subsystem) ต่างๆ ที่ต้องทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์เดียวกัน
ระบบต่าง ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน มี 11 ระบบ
1. ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non operating system)
ยุคแรก ๆ คอมพิวเตอร์มีแต่เครื่องเปล่า ๆ ผู้ใช้ต้องเขียนโปรแกรมสั่งงาน ตรวจสอบการ
ทางาน ป้อนข้อมูล และควบคุมเอง ทาให้ระยะแรกใช้กันอยู่ในวงจากัด
2. ระบบงานแบ็ตซ์ (Batch system)
ในอดีต คอมพิวเตอร์จะทางานได้ครั้งละ 1 งาน การสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้มีมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาได้โดยการรวมงานที่คล้ายกัน เป็นกลุ่ม แล้วส่งให้เครื่องประมวลผล
โดยผู้ทาหน้าที่รวมงาน จะรับงานจากนักพัฒนาโปรแกรม มาจัดเรียงตามความสาคัญ และ
ตามลักษณะของโปรแกรม จัดเป็นกลุ่มงาน แล้วส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล
3. ระบบบัฟเฟอร์ (Buffering system)
การทางานเพื่อขยายขีดความสามารถของระบบ ทาให้หน่วยรับ-แสดงผลสามารถทางาน
ไปพร้อม ๆ กับการประมวลผลของซีพียู ในขณะที่ประมวลผลคาสั่งที่ถูกโหลดเข้าซีพียูนั้น
จะมีการโหลดข้อมูลเข้าไปเก็บในหน่วยความจาก่อน เมื่อถึงเวลาประมวลผลจะสามารถ
ทางานได้ทันที และโหลดข้อมูลต่อไปเข้ามาแทนที่ หน่วยความจาที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่
เตรียมพร้อมนี้ เรียกว่า บัฟเฟอร์ (buffer)
4. ระบบสพูลลิ่ง (Spooling)
Simultaneous Peripheral Operating On-Line เป็น multiprogramming พื้นฐาน ทาให้ซีพียู
ทางานเต็มประสิทธิภาพ เพราะทาให้สามารถทางานได้ 2 งานพร้อมกัน งานแรกคือ
ประมวลผลในส่วนของซีพียู งานที่สองคือการรับ-แสดงผลข้อมูล ซึ่งต่างกับ buffer ที่ซีพียู
และหน่วยรับ-แสดงผลทางานร่วมกัน และ spooling มี job pool ทาให้สามารถเลือกการ
ประมวลผลตามลาดับก่อนหลังได้ โดยคานึงถึง priority เป็นสาคัญ
5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming)
การทางานที่โหลดโปรแกรมไปไว้ในหน่วยความจาหลัก และพร้อมที่จะประมวลผลได้ทันที
ระบบปฏิบัติการจะเลือกงานเข้าไปประมวลผลจนกว่าจะหยุดคอยงานบางอย่าง ในช่วงที่
หยุดรอจะดึงงานเข้าไปประมวลผลต่อทันที ทาให้มีการใช้ซีพียูได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. ระบบแบ่งเวลา (Time-sharing หรือ Multitasking)เป็นการขยายระบบ
multiprogramming ทาให้สามารถสับเปลี่ยนงานของคนหลาย ๆ คนเข้าสู่ซีพียู ซึ่งการ
สับเปลี่ยนที่ทาด้วยความเร็วสูงจะทาให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือนครอบครองซีพียูอยู่เพียงผู้เดียว
7. ระบบเรียลไทม์ (Real-time system)
จุดประสงค์อีกอย่างหนึ่งของ ระบบปฏิบัติการ คือ ระบบเวลาจริง(Real-time system)
หมายถึงการตอบสนองทันที เช่นระบบ Sensor ที่ส่งข้อมูลให้คอมพิวเตอร์ เครื่องมือ
ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ระบบภาพทางการแพทย์ ระบบควบคุมในโรงงาน
อุตสาหกรรม ระบบหัวฉีดในรถยนต์ ระบบควบคุมการยิง ระบบแขนกล และเครื่องใช้
ในครัวเรือนทั้งหมด
Real-time แบ่งได้ 2 ระบบ
1. Hard real-time system เป็นระบบที่ถูกรับรองว่าจะได้รับการตอบสนองตรงเวลา และ
หยุดรอไม่ได้
2. Soft real-time system เป็นระบบ less restrictive type ที่สามารถรอให้งานอื่นทาให้
เสร็จก่อนได้
8. ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System)
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ราคาถูกลง มีการพัฒนาอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ทั้ง
แป้นพิมพ์ เมาส์ จอภาพ หน่วยความจา หน่วยประมวลผล เป็นต้น และการใช้
คอมพิวเตอร์ไม่ได้มุ่งเน้นด้านธุรกิจเพียงอย่างเดียว แต่นาไปใช้เพื่อความบันเทิงในบ้าน
มากขึ้น และกลายเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับทุกองค์กร นอกจากคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ
(Desktop) ยังมีคอมพิวเตอร์แบบสมุดโน๊ต(Notebook) และคอมพิวเตอร์มือถือ (PDA)
ปัจจุบันมีโทรศัพท์มือถือที่ทางานแบบคอมพิวเตอร์ และใช้ดูหนังฟังเพลง หรือ
ประมวลผลต่าง ๆ ที่ซับซ้อนมากขึ้น ใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะยิ่งขึ้น
9. ระบบเวอร์ชวลแมชีน (Virtual machine)เครื่องเสมือน ทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึก
เหมือนใช้คอมพิวเตอร์เพียงคนเดียว แต่ในความเป็นจริงจะบริการให้ผู้ใช้หลายคน ใน
หลายโปรเซส โดยใช้เทคโนโลยี Virtual machine บริการงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ได้หลาย
ๆ งานพร้อมกัน
10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor system)
Symmetric-multiprocessing
การประมวลผลแบบสมมาตร หมายถึงการประมวลผลหลายโปรเซสเซอร์ที่ไม่มี
โปรเซสเซอร์ตัวใดรับโหลดมากกว่าตัวอื่น
Asymmetric-multiprocessing
การประมวลผลแบบไม่สมมาตร หมายถึงการมีโปรเซสเซอร์ตัวหนึ่งเป็นตัวควบคุม
และแบ่งงานแต่ละแบบให้โปรเซสเซอร์แต่ละตัวตามความเหมาะสม
11. ระบบแบบกระจาย (Distributed system)
ระบบเครือข่าย ที่กระจายหน้าที่ กระจายการเป็นศูนย์บริการ และเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน
ด้วยจุดประสงค์ต่าง ๆ กัน ในมาตรฐาน TCP/IP ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั้ง Windows, Linux,
Unix และ Mac ทาให้ทั้งหมดสามารถสื่อสารกันรู้เรื่องเข้าใจ และก่อให้เกิดประโยชน์
ร่วมกัน
วงจรพัฒนาระบบ(System Development Life Cycle : SDLC)
วงจรการพัฒนาระบบ หรือมักเรียกสั้นๆ ว่า SDLC เป็นวงจรที่แสดงถึงกิจกรรม
ต่างๆ ที่เป็นลาดับขั้นตอนในการพัฒนาระบบ ซึ่ง SDLC ประกอบด้วยกิจกรรม 7 ระยะ
ด้วยกัน ดังนี้
1. การกาหนดปัญหา
2. การวิเคราะห์
3. การออกแบบ
4. การพัฒนา
5. การทดสอบ
6. การนาระบบไปใช้
7. การบารุงรักษา
ระยะที่ 1 การกาหนดปัญหา
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหาก
ปัญหาที่ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งาน
ไม่ครบถ้วน
ปัญหาหนึ่งของระบบงานที่ใช้ในปัจจุบันคือ โปรแกรมที่ใช้งานในระบบงานเดิม
เหล่านั้นถูกนามาใช้งานในระยะเวลาที่เนิ่นนานอาจเป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อ
ติดตามผลงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะเท่านั้น ไม่ได้เชื่อมโยงถึงกันเป็น
ระบบ ดังนั้น นักวิเคราะห์ระบบจึงต้องมองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกับระบบงานที่จะพัฒนา แล้วดาเนินการแก้ไขปัญหา ซึ่งอาจมีแนวทาง
หลายแนวทาง และคัดเลือกแนวทางที่ดีที่สุดเพื่อนามาใช้ในการแก้ปัญหาในครั้งนี้
อย่างไรก็ตาม แนวทางที่ดีที่สุดอาจไม่ถูกเลือกเพื่อมาใช้งาน ทั้งนี้ เนื่องจาก
แนวทางที่ดีที่สุด ส่วนใหญ่ต้องใช้งบประมาณสูง ดังนั้น แนวทางที่ดีที่สุดในที่นี้ คง
ไม่ใช่ระบบที่ต้องใช้งบประมาณแพงลิบลิ่ว แต่เป็นแนวทางที่เหมาะสมสาหรับการแก้ไข
ในสถานการณ์นั้นๆ เป็นหลักสาคัญ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของงบประมาณค่าใช้จ่าย และ
เวลาที่จากัด อย่างไรก็ตามในขั้นตอนการกาหนดปัญหานี้ หากเป็นโครงการขนาดใหญ่
อาจเรียกขั้นตอนนี้ ว่า ขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้
สรุปขั้นตอนของระยะการกาหนดปัญหา
1. รับรู้สภาพของปัญหาที่เกิดขึ้น
2. ค้นหาต้นเหตุของปัญหา รวบรวมปัญหาของระบบงานเดิม
3. ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพัฒนาระบบ
4. จัดเตรียมทีมงาน และกาหนดเวลาในการทาโครงการ
ระยะที่ 2 การวิเคราะห์
การวิเคราะห์ จะต้องรวบรวมข้อมูลความ
ต้องการ (Requirements) ต่างๆ มาให้มากที่สุด ซึ่งการสืบค้นความต้องการของ
ผู้ใช้สามารถดาเนินการได้จากการรวบรวมเอกสารการสัมภาษณ์ การออกแบบ
สอบถาม และการสังเกตการณ์บนสภาพแวดล้อมการทางานจริง
เมื่อได้นาความต้องการมาผ่านการวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นข้อกาหนดที่ชัดเจน
แล้ว ขั้นตอนต่อไปของนักวิเคราะห์ระบบก็คือ การนาข้อกาหนดเหล่านั้นไปพัฒนา
เป็นความต้องการของระบบใหม่ด้วยการพัฒนาเป็นแบบจาลองขึ้นมา ซึ่งได้แก่
แบบจาลองกระบวนการ (Data Flow Diagram) และแบบจาลองข้อมูล (Data Model)
เป็นต้น
สรุปขั้นตอนของระยะการวิเคราะห์
1. วิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน
2. รวบรวมความต้องการ และกาหนดความต้องการของระบบใหม่
3. วิเคราะห์ความต้องการเพื่อสรุปเป็นข้อกาหนด
4. สร้างแผนภาพ DFD และแผนภาพ E-R
ระยะที่ 3 การออกแบบ
เป็นระยะที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ ที่เป็นแบบจาลองเชิงตรรกะมา
พัฒนาเป็นแบบจาลองเชิงกายภาพ โดยแบบจาลองเชิงตรรกะที่ได้จากขั้นตอน
การวิเคราะห์ มุ่งเน้นว่ามีอะไรที่ต้องทาในระบบในขณะที่แบบจาลองเชิงกายภาพ
จะนาแบบจาลองเชิงตรรกะมาพัฒนา ต่อด้วยการมุ่งเน้นว่าระบบดาเนินการอย่างไร
เพื่อให้เกิดผลตามต้องการ งานออกแบบระบบประกอบด้วยงานออกแบบ
สถาปัตยกรรมระบบที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบ เครือข่าย การ
ออกแบบรายงาน การออกแบบหน้าจออินพุตข้อมูล การออกแบบผังงานระบบ การ
ออกแบบฐานข้อมูล และการออกแบบโปรแกรม เป็นต้น
สรุปขั้นตอนของระยะการออกแบบ
1. พิจารณาแนวทางในการพัฒนาระบบ
2. ออกแบบสถาปัตยกรรมระบบ
3. ออกแบบรายงาน
4. ออกแบบหน้าจออินพุตข้อมูล
5. ออกแบบผังงานระบบ
6. ออกแบบฐานข้อมูล
7. การสร้างต้นแบบ
8. การออกแบบโปรแกรม
ระยะที่ 4 การพัฒนา
เป็นระยะที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโปรแกรม โดยทีมงานโปรแกรมเมอร์จะต้อง
พัฒนาโปรแกรมตามที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้ การเขียนชุดคาสั่งเพื่อสร้าง
เป็นระบบงานทางคอมพิวเตอร์ขึ้นมา โดยโปรแกรมเมอร์สามารถนาเครื่องมือเข้ามา
ช่วยในการพัฒนาโปรแกรมได้เพื่อช่วยให้ระบบงานพัฒนาได้เร็วขึ้นและมีคุณภาพ
สรุปขั้นตอนของระยะการพัฒนา
1. พัฒนาโปรแกรม
2. เลือกภาษาโปรแกรมที่เหมาะสม
3. สามารถนาเครื่องมือมาช่วยพัฒนาโปรแกรมได้
4. สร้างเอกสารประกอบโปรแกรม
ระยะที่ 5 การทดสอบ
เมื่อโปรแกรมได้พัฒนาขึ้นมาแล้ว ยังไม่สามารถนาระบบไปใช้งานได้ทันที
จาเป็นต้องดาเนินการทดสอบระบบก่อนที่จะนาไปใช้งานจริงเสมอ ควรมีการทดสอบ
ข้อมูลเบื้องต้นก่อน ด้วยการสร้างข้อมูลจาลองขึ้นมาเพื่อใช้ตรวจสอบการทางานของ
ระบบงาน หากพบข้อผิดพลาดก็ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง การทดสอบระบบจะมีการ
ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาเขียน และตรวจสอบว่าระบบตรงกับความต้องการของ
ผู้ใช้หรือไม่
สรุปขั้นตอนของระยะการทดสอบ
1. ทดสอบไวยากรณ์ภาษาคอมพิวเตอร์
2. ทดสอบความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้
3. ทดสอบว่าระบบที่พัฒนาตรงตามความต้องการของผู้ใช้หรือไม่
ระยะที่ 6 การนาระบบไปใช้
เมื่อดาเนินการทดสอบระบบจนมั่นใจว่าระบบที่ได้รับการทดสอบนั้นพร้อมที่จะ
นาไปติดตั้งเพื่อใช้งานบนสถานการณ์จริง ขั้นตอนการนาระบบไปใช้งานอาจเกิด
ปัญหา จากการที่ระบบที่พัฒนาใหม่ไม่สามารถนาไปใช้งานแทนระบบงานเดิมได้
ทันที จึงมีความจาเป็นต้องแปลงข้อมูลระบบเดิมให้อยู่ในรูปแบบที่ระบบใหม่สามารถ
นาไปใช้งานได้เสียก่อน หรืออาจพบข้อผิดพลาดที่ไม่คาดคิดเมื่อนาไปใช้ในสถานการณ์
จริง ครั้นเมื่อระบบสามารถรันได้จนเป็นที่น่าพอใจทั้งสองฝ่ าย ก็จะต้องจัดทาเอกสาร
คู่มือระบบ รวมถึงการฝึกอบรมผู้ใช้
สรุปขั้นตอนของระยะการนาระบบไปใช้
1. ศึกษาสภาพแวดล้อมของพื้นที่ก่อนที่จะนาระบบไปติดตั้ง
2. ติดตั้งระบบให้เป็นไปปตามสถาปัตยกรรมที่ออกแบบไว้
3. จัดทาคู่มือระบบ
4. ฝึกอบรมผู้ใช้
5. ดาเนินการใช้ระบบงานใหม่
6. ประเมินผลการใช้งานของระบบใหม่
ระยะที่ 7 การบารุงรักษา
หลังจากระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหม่ได้ถูกนาไปใช้งานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอน
การบารุงรักษาจึงเกิดขึ้น ทั้งนี้ ข้อบกพร่องในด้านการทางานของโปรแกรมอาจเพิ่ง
ค้นพบได้ ซึ่งจะต้องดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องรวมถึงกรณีที่ข้อมูลที่จัดเก็บมีปริมาณที่
มากขึ้นต้องวางแผนการรองรับเหตุการณ์นี้ ด้วย นอกจากนี้ งานบารุงรักษายังเกี่ยวข้อง
กับการเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมกรณีที่ผู้ใช้มีความต้องการเพิ่มขึ้น
สรุปขั้นตอนระยะการบารุงรักษา
1. กรณีเกิดข้อผิดพลาดขึ้นจากระบบ ให้ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง
2. อาจจาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม กรณีที่ผู้ใช้มีความต้องการเพิ่มเติม
3. วางแผนรองรับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
4. บารุงรักษาระบบงาน และอุปกรณ์
คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ
ผู้ที่จะทาหน้าที่เป็นนักวิเคราะห์ระบบได้จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1. ความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรม เพื่อจะได้สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ นักวิเคราะห์จะต้องเข้าใจว่าสิ่งใดที่จะเขียนโปรแกรมได้ หรือเขียนไม่ได้
2. นักวิเคราะห์ระบบเปรียบเทียบเหมือนผู้จัดการทั่วไป จะเป็นผู้ที่ตัดสินใจในการกาหนด
ออกแบบระบบทั้งหมด
3. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ให้คาแนะนาด้านเทคนิคที่ควรจะเป้ฯให้แก่
โปรแกรมเมอร์ ผู้ออกแบบรายงานแบบต่าง ๆ และวิศวกร
4. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเข้าใจระบบที่จะทาการออกแบบและคนที่อยู่ในระบบนั้น ๆ
5. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ทาหน้าที่เห็นสื่อกลางหรือล่ามระหว่างนักธุรกิจผู้
ต้องการให้ออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอร์หรือผู้ใช้ระบบ
6. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีความรู้ทางด้านภาษาชั้นสูง (High-level Language) อย่าง
น้อย 1 ภาษา หรือความรู้ทางด้าน Fourth Generation Prototyping Language
7. นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้ที่ติดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและติดตั้งว่าได้รับผล
ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ตั้งแต่ต้นหรือเปล่า รวมทั้งการประเมินออกมาเป็นตัวเลขเพื่อ
ชี้แจงให้ผู้ที่ออกแบบระบบเข้าใจ
8. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากนัดวิเคราะห์ระบบจะต้อง
เกี่ยวข้องกับคนในทุกระดับในองค์กร รวมถึงระบบปฏิบัติการ ช่างเทคนิค พนักงานบัญชี
เลขานุการ พนักงานธุรการ ซึ่งเป็นส่วนที่มีความสาคัญที่สุด
9. นักวิเคราะห์ระบบที่ดี ควรจะมีประสบการณ์ทางด้านการออกแบบระบบพอสมควร
โดยในช่วงแรกอาจจะเริ่มต้นจากการเป็นโปรแกรมเมอร์ และการออกแบบเล็ก ๆ น้อย ๆ
ในระบบ เช่น การออกแบบรายงานง่าย ๆ การออกแบบหน้าจอ (Screen Design) เป็น
ต้น
หน้าที่
1. จัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมทั้งด้านกาลังคน
2. กาหนดแผนงานและระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบงาน
3. ดาเนินการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลที่สาคัญต่อการพัฒนาระบบงาน
4. จัดทาเอกสารและวิเคราะห์ระบบงานของธุรกิจในปัจจุบัน
5. พัฒนาระบบงานโดยใช้เทคโนโลยีปัจจุบันเพื่อแก้ปัญหาให้แก้ธุรกิจ
6. วิเคราะห์ถึงความเหมาะสมต่าง ๆ ของเทคโนโลยี การปฏิบัติการ และฐานะทาง
เศรษฐกิจ
7. ทบทวนและยื่นข้อเสนอระบบงานเพื่อพิจารณาอนุมัติ
8. ออกแบบและตรวจสอบความถูกต้องของระบบงาน
9. ออกแบบแฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูลและโครงสร้างงบต่าง ๆ ที่ใช้ในระบบ
10. ออกแบบลักษณะการติดต่อระหว่างผู้ใช้ระบบกับระบบงานคอมพิวเตอร์ (user
Interfaces) เช่น ข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏบนจอมอนิเตอร์ในขณะป้อนข้อมูล
11. ออกแบบวิธีการเก็บข้อมูลและเทคนิค
12. ออกแบบระบบรักษาความปลอดภัย (Security) และการควบคุม (Control) ระบบ
13. ให้คาแนะนาทางด้านการเขียนโปรแกรมเพื่อให้ระบบดาเนินไปได้ตามเป้าหมาย
14. วางแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นใหม่ถูกนามาใช้แทนระบบเดิมโดยให้
มีความยุ่งยากน้อยที่สุด (Conversion Plans)
ความสาคัญของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
นอกจากจะรู้จักกับคาว่าระบบแล้ว จะต้องรู้จักกับคาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
เพื่อที่จะได้มีความเข้าใจที่ตรงกัน ไม่เกิดความเข้าใจผิดหรือเกิดการสับสนในการศึกษาในเรื่องการวิเคราะห์
และออกแบบระบบ
ความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
ความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบสามารถแบ่งการให้ความหมายออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ
1. การวิเคราะห์ระบบงาน
2. การออกแบบระบบงาน
1. การวิเคราะห์ระบบงาน
ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Analysis” ซึ่งแปลว่า การแยกสิ่งที่ประกอบกันออกเป็นส่วน ๆ เช่น การแยกระบบ
ใหญ่ออกเป็นส่วนย่อย ๆ คือ เป็นการแยกปัญหาออกเป็นส่วน ๆ เพื่อสะดวกในการพิจารณาหรือตัดสินใจ
จามความหมายของคาว่าวิเคราะห์ดังกล่าวนี้ จะเห็นว่า การวิเคราะห์ระบบงานไม่ใช่เรื่องที่ยุ่งยากหรือเรื่องที่
สลับซับซ้อนแต่ประการใด
การพิจารณาใคร่ครวญในปัญหาต่าง ๆ ของคนเรานั้น มีวิธีการใหญ่ ๆ อยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ
1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination) เป็น วิธีที่คนส่วนมากใช้กันเป็นปกติธรรมดาโดยอาศัย
ประสบการณ์และสามัญสานึกของแต่ละบุคคลเป็นหลัก คนที่มีวิจารณญาณสูง ๆ อาจจะสามารถพิจารณา
ตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วไม่แพ้นักวิชาการทางด้านวิเคราะห์ระบบ อย่างไรก็ตาม
การพิจารณาใคร่ครวญและตัดสินใจด้วยวิธีการนี้ โอกาสที่จะผิดพลาดอย่างมีสูง ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดการสูญเสีย
แก่ธุรกิจเป็นอย่างมากเช่นเดียวกัน ดังนั้น ถ้าเป็นงานสาคัญ ๆ ทางธุรกิจแล้วไม่ควรใช้วิธีนี้ เป็นอย่างยิ่ง
1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Methodology Determination หรือ System Analysis) เป็นวิธีการพิจารณา
ใคร่ครวญและตัดสินใจโดยอาศัยระบบทางวิทยาศาสตร์ เช่น สถิติ และการคานวณ เป็นต้น วิธีนี้ เป็นวิธีที่ใช้
หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ เข้าช่วยผู้ที่จะทาการวิเคราะห์จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในวิชาการ
แขนงต่าง ๆ ที่จะใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน จึงได้มีการจัดให้สอนในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
ขึ้น
นอกจากนี้ ยังมีคาที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายคลึงกันกับคาว่า “วิเคราะห์” ที่ควรจะทาความเข้าใจเพื่อป้องกันการ
สับสนในการใช้ เช่น คาว่า การวิจัย การค้นคว้า การค้นคิด เป็นต้น ซึ่งความจริงแล้วการวิเคราะห์กับการวิจัย
เป็นคนละเรื่อง คนละความมุ่งหมายกัน แต่มีความใกล้เคียงกันมาก การวิจัยนั้นมุ่งในการค้นหาข้อเท็จจริง
หรือความถูกต้องที่สุดของปัญหาเช่น การวิจัยภาวะของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย
คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย เป็นการหาสาเหตุว่า เป็นเพราะอะไรบ้าง เหล่านี้ เป็นต้น ส่วนการ
วิเคราะห์นั้นจะเป็นการมุ่งหาสาเหตุเพื่อทาการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นให้ดีที่สุดหรือเหมาะสมที่สุดเท่าที่จะทา
ได้ การแก้ปัญหาที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบนั้นอาจไม่ใช่ทางที่ถูกต้องที่สุด แต่เป็นทางที่ดีที่สุดที่ควรจะ
กระทาเท่านั้น ทั้งนี้ เพราะการแก้ไขปัญหาของนักวิเคราะห์ระบบเป็นการประนีประนอมกับบุคคลในหลาย ๆ
ฝ่ายที่จะต้องทางานร่วมกันเพื่อให้การทางานของระบบมีประสิทธิภาพสูงสุดนั่นเอง
2. การออกแบบระบบงาน
การออกแบบ หมายถึง การนาเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบแผน หรือเรียกว่า พิมพ์
เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศให้ใช้งานได้จริง
ความต้องการของระบบ เช่น สามารถติดตามยอกขายได้เป็นระยะ เพื่อให้ฝ่ายบริหารสามารถปรับปรุงการ

More Related Content

Viewers also liked

Poster Convention Comparison
Poster Convention ComparisonPoster Convention Comparison
Poster Convention ComparisonJames Reeson
 
Analysis of existing film trailers
Analysis of existing film trailersAnalysis of existing film trailers
Analysis of existing film trailersmollyjames16
 
Q5) How did you attract/address your audience?
Q5) How did you attract/address your audience?Q5) How did you attract/address your audience?
Q5) How did you attract/address your audience?GraceFowkesASMedia
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7apinyaboong
 
Cooperative Learning
Cooperative LearningCooperative Learning
Cooperative LearningBrandi Brown
 
Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015
Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015
Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015Elas Del Jean
 
L&L travel brochure
L&L travel brochureL&L travel brochure
L&L travel brochureMaureen He
 
Microsoft Excel
Microsoft ExcelMicrosoft Excel
Microsoft Excelmechita955
 
Generic conventions of horror film website homepages
Generic conventions of horror film website homepagesGeneric conventions of horror film website homepages
Generic conventions of horror film website homepagesmollyjames16
 

Viewers also liked (16)

Editing
Editing Editing
Editing
 
Home page conventions
Home page conventionsHome page conventions
Home page conventions
 
Poster Convention Comparison
Poster Convention ComparisonPoster Convention Comparison
Poster Convention Comparison
 
Analysis of existing film trailers
Analysis of existing film trailersAnalysis of existing film trailers
Analysis of existing film trailers
 
Editing Analysis
Editing AnalysisEditing Analysis
Editing Analysis
 
Q5) How did you attract/address your audience?
Q5) How did you attract/address your audience?Q5) How did you attract/address your audience?
Q5) How did you attract/address your audience?
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Cooperative Learning
Cooperative LearningCooperative Learning
Cooperative Learning
 
REDU-Brochure
REDU-BrochureREDU-Brochure
REDU-Brochure
 
Costa
CostaCosta
Costa
 
Media institution
Media institution Media institution
Media institution
 
Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015
Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015
Catalogo Calzados B-52 Invierno 2015
 
L&L travel brochure
L&L travel brochureL&L travel brochure
L&L travel brochure
 
Microsoft Excel
Microsoft ExcelMicrosoft Excel
Microsoft Excel
 
Poster conventions
Poster conventionsPoster conventions
Poster conventions
 
Generic conventions of horror film website homepages
Generic conventions of horror film website homepagesGeneric conventions of horror film website homepages
Generic conventions of horror film website homepages
 

Similar to บทที่ 7 (20)

Ch 1 introos
Ch 1 introosCh 1 introos
Ch 1 introos
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
template system
template systemtemplate system
template system
 
Work3-05
Work3-05Work3-05
Work3-05
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน บทที่ 3
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
223333
223333223333
223333
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
M
MM
M
 
M
MM
M
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
Ssadm
SsadmSsadm
Ssadm
 
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
2 ca-computer systems (wichet p.'s conflicted copy 2012-12-18)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

บทที่ 7

  • 1. ระบบ (System) ความหมายของระบบ หมายถึง การนาปัจจัยต่างๆ อันได้แก่ คน (People) ทรัพยากร (Resource) แนวคิด (Concept) และกระบวนการ (Process) มาผสมผสานการ ทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ได้ วางแผนไว้ โดยภายในระบบอาจประกอบไปด้วยระบบย่อย (Subsystem) ต่างๆ ที่ต้องทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์เดียวกัน
  • 2. ระบบต่าง ๆ ภายในคอมพิวเตอร์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน มี 11 ระบบ 1. ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non operating system) ยุคแรก ๆ คอมพิวเตอร์มีแต่เครื่องเปล่า ๆ ผู้ใช้ต้องเขียนโปรแกรมสั่งงาน ตรวจสอบการ ทางาน ป้อนข้อมูล และควบคุมเอง ทาให้ระยะแรกใช้กันอยู่ในวงจากัด 2. ระบบงานแบ็ตซ์ (Batch system) ในอดีต คอมพิวเตอร์จะทางานได้ครั้งละ 1 งาน การสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้มีมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาได้โดยการรวมงานที่คล้ายกัน เป็นกลุ่ม แล้วส่งให้เครื่องประมวลผล โดยผู้ทาหน้าที่รวมงาน จะรับงานจากนักพัฒนาโปรแกรม มาจัดเรียงตามความสาคัญ และ ตามลักษณะของโปรแกรม จัดเป็นกลุ่มงาน แล้วส่งให้คอมพิวเตอร์ประมวลผล 3. ระบบบัฟเฟอร์ (Buffering system) การทางานเพื่อขยายขีดความสามารถของระบบ ทาให้หน่วยรับ-แสดงผลสามารถทางาน ไปพร้อม ๆ กับการประมวลผลของซีพียู ในขณะที่ประมวลผลคาสั่งที่ถูกโหลดเข้าซีพียูนั้น จะมีการโหลดข้อมูลเข้าไปเก็บในหน่วยความจาก่อน เมื่อถึงเวลาประมวลผลจะสามารถ ทางานได้ทันที และโหลดข้อมูลต่อไปเข้ามาแทนที่ หน่วยความจาที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลที่ เตรียมพร้อมนี้ เรียกว่า บัฟเฟอร์ (buffer) 4. ระบบสพูลลิ่ง (Spooling) Simultaneous Peripheral Operating On-Line เป็น multiprogramming พื้นฐาน ทาให้ซีพียู ทางานเต็มประสิทธิภาพ เพราะทาให้สามารถทางานได้ 2 งานพร้อมกัน งานแรกคือ ประมวลผลในส่วนของซีพียู งานที่สองคือการรับ-แสดงผลข้อมูล ซึ่งต่างกับ buffer ที่ซีพียู และหน่วยรับ-แสดงผลทางานร่วมกัน และ spooling มี job pool ทาให้สามารถเลือกการ ประมวลผลตามลาดับก่อนหลังได้ โดยคานึงถึง priority เป็นสาคัญ 5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming) การทางานที่โหลดโปรแกรมไปไว้ในหน่วยความจาหลัก และพร้อมที่จะประมวลผลได้ทันที ระบบปฏิบัติการจะเลือกงานเข้าไปประมวลผลจนกว่าจะหยุดคอยงานบางอย่าง ในช่วงที่ หยุดรอจะดึงงานเข้าไปประมวลผลต่อทันที ทาให้มีการใช้ซีพียูได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 3. 6. ระบบแบ่งเวลา (Time-sharing หรือ Multitasking)เป็นการขยายระบบ multiprogramming ทาให้สามารถสับเปลี่ยนงานของคนหลาย ๆ คนเข้าสู่ซีพียู ซึ่งการ สับเปลี่ยนที่ทาด้วยความเร็วสูงจะทาให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือนครอบครองซีพียูอยู่เพียงผู้เดียว 7. ระบบเรียลไทม์ (Real-time system) จุดประสงค์อีกอย่างหนึ่งของ ระบบปฏิบัติการ คือ ระบบเวลาจริง(Real-time system) หมายถึงการตอบสนองทันที เช่นระบบ Sensor ที่ส่งข้อมูลให้คอมพิวเตอร์ เครื่องมือ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ ระบบภาพทางการแพทย์ ระบบควบคุมในโรงงาน อุตสาหกรรม ระบบหัวฉีดในรถยนต์ ระบบควบคุมการยิง ระบบแขนกล และเครื่องใช้ ในครัวเรือนทั้งหมด Real-time แบ่งได้ 2 ระบบ 1. Hard real-time system เป็นระบบที่ถูกรับรองว่าจะได้รับการตอบสนองตรงเวลา และ หยุดรอไม่ได้ 2. Soft real-time system เป็นระบบ less restrictive type ที่สามารถรอให้งานอื่นทาให้ เสร็จก่อนได้ 8. ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System) ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ราคาถูกลง มีการพัฒนาอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ทั้ง แป้นพิมพ์ เมาส์ จอภาพ หน่วยความจา หน่วยประมวลผล เป็นต้น และการใช้ คอมพิวเตอร์ไม่ได้มุ่งเน้นด้านธุรกิจเพียงอย่างเดียว แต่นาไปใช้เพื่อความบันเทิงในบ้าน มากขึ้น และกลายเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับทุกองค์กร นอกจากคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop) ยังมีคอมพิวเตอร์แบบสมุดโน๊ต(Notebook) และคอมพิวเตอร์มือถือ (PDA) ปัจจุบันมีโทรศัพท์มือถือที่ทางานแบบคอมพิวเตอร์ และใช้ดูหนังฟังเพลง หรือ ประมวลผลต่าง ๆ ที่ซับซ้อนมากขึ้น ใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะยิ่งขึ้น
  • 4. 9. ระบบเวอร์ชวลแมชีน (Virtual machine)เครื่องเสมือน ทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึก เหมือนใช้คอมพิวเตอร์เพียงคนเดียว แต่ในความเป็นจริงจะบริการให้ผู้ใช้หลายคน ใน หลายโปรเซส โดยใช้เทคโนโลยี Virtual machine บริการงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ได้หลาย ๆ งานพร้อมกัน 10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor system) Symmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบสมมาตร หมายถึงการประมวลผลหลายโปรเซสเซอร์ที่ไม่มี โปรเซสเซอร์ตัวใดรับโหลดมากกว่าตัวอื่น Asymmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบไม่สมมาตร หมายถึงการมีโปรเซสเซอร์ตัวหนึ่งเป็นตัวควบคุม และแบ่งงานแต่ละแบบให้โปรเซสเซอร์แต่ละตัวตามความเหมาะสม 11. ระบบแบบกระจาย (Distributed system) ระบบเครือข่าย ที่กระจายหน้าที่ กระจายการเป็นศูนย์บริการ และเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ด้วยจุดประสงค์ต่าง ๆ กัน ในมาตรฐาน TCP/IP ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั้ง Windows, Linux, Unix และ Mac ทาให้ทั้งหมดสามารถสื่อสารกันรู้เรื่องเข้าใจ และก่อให้เกิดประโยชน์ ร่วมกัน
  • 5. วงจรพัฒนาระบบ(System Development Life Cycle : SDLC) วงจรการพัฒนาระบบ หรือมักเรียกสั้นๆ ว่า SDLC เป็นวงจรที่แสดงถึงกิจกรรม ต่างๆ ที่เป็นลาดับขั้นตอนในการพัฒนาระบบ ซึ่ง SDLC ประกอบด้วยกิจกรรม 7 ระยะ ด้วยกัน ดังนี้ 1. การกาหนดปัญหา 2. การวิเคราะห์ 3. การออกแบบ 4. การพัฒนา 5. การทดสอบ 6. การนาระบบไปใช้ 7. การบารุงรักษา ระยะที่ 1 การกาหนดปัญหา นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหาก ปัญหาที่ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งาน ไม่ครบถ้วน ปัญหาหนึ่งของระบบงานที่ใช้ในปัจจุบันคือ โปรแกรมที่ใช้งานในระบบงานเดิม เหล่านั้นถูกนามาใช้งานในระยะเวลาที่เนิ่นนานอาจเป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาเพื่อ ติดตามผลงานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะเท่านั้น ไม่ได้เชื่อมโยงถึงกันเป็น ระบบ ดังนั้น นักวิเคราะห์ระบบจึงต้องมองเห็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับระบบงานที่จะพัฒนา แล้วดาเนินการแก้ไขปัญหา ซึ่งอาจมีแนวทาง หลายแนวทาง และคัดเลือกแนวทางที่ดีที่สุดเพื่อนามาใช้ในการแก้ปัญหาในครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม แนวทางที่ดีที่สุดอาจไม่ถูกเลือกเพื่อมาใช้งาน ทั้งนี้ เนื่องจาก แนวทางที่ดีที่สุด ส่วนใหญ่ต้องใช้งบประมาณสูง ดังนั้น แนวทางที่ดีที่สุดในที่นี้ คง ไม่ใช่ระบบที่ต้องใช้งบประมาณแพงลิบลิ่ว แต่เป็นแนวทางที่เหมาะสมสาหรับการแก้ไข ในสถานการณ์นั้นๆ เป็นหลักสาคัญ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของงบประมาณค่าใช้จ่าย และ เวลาที่จากัด อย่างไรก็ตามในขั้นตอนการกาหนดปัญหานี้ หากเป็นโครงการขนาดใหญ่ อาจเรียกขั้นตอนนี้ ว่า ขั้นตอนการศึกษาความเป็นไปได้ สรุปขั้นตอนของระยะการกาหนดปัญหา 1. รับรู้สภาพของปัญหาที่เกิดขึ้น 2. ค้นหาต้นเหตุของปัญหา รวบรวมปัญหาของระบบงานเดิม 3. ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพัฒนาระบบ 4. จัดเตรียมทีมงาน และกาหนดเวลาในการทาโครงการ
  • 6. ระยะที่ 2 การวิเคราะห์ การวิเคราะห์ จะต้องรวบรวมข้อมูลความ ต้องการ (Requirements) ต่างๆ มาให้มากที่สุด ซึ่งการสืบค้นความต้องการของ ผู้ใช้สามารถดาเนินการได้จากการรวบรวมเอกสารการสัมภาษณ์ การออกแบบ สอบถาม และการสังเกตการณ์บนสภาพแวดล้อมการทางานจริง เมื่อได้นาความต้องการมาผ่านการวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นข้อกาหนดที่ชัดเจน แล้ว ขั้นตอนต่อไปของนักวิเคราะห์ระบบก็คือ การนาข้อกาหนดเหล่านั้นไปพัฒนา เป็นความต้องการของระบบใหม่ด้วยการพัฒนาเป็นแบบจาลองขึ้นมา ซึ่งได้แก่ แบบจาลองกระบวนการ (Data Flow Diagram) และแบบจาลองข้อมูล (Data Model) เป็นต้น สรุปขั้นตอนของระยะการวิเคราะห์ 1. วิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน 2. รวบรวมความต้องการ และกาหนดความต้องการของระบบใหม่ 3. วิเคราะห์ความต้องการเพื่อสรุปเป็นข้อกาหนด 4. สร้างแผนภาพ DFD และแผนภาพ E-R ระยะที่ 3 การออกแบบ เป็นระยะที่นาผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์ ที่เป็นแบบจาลองเชิงตรรกะมา พัฒนาเป็นแบบจาลองเชิงกายภาพ โดยแบบจาลองเชิงตรรกะที่ได้จากขั้นตอน การวิเคราะห์ มุ่งเน้นว่ามีอะไรที่ต้องทาในระบบในขณะที่แบบจาลองเชิงกายภาพ จะนาแบบจาลองเชิงตรรกะมาพัฒนา ต่อด้วยการมุ่งเน้นว่าระบบดาเนินการอย่างไร เพื่อให้เกิดผลตามต้องการ งานออกแบบระบบประกอบด้วยงานออกแบบ สถาปัตยกรรมระบบที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และระบบ เครือข่าย การ ออกแบบรายงาน การออกแบบหน้าจออินพุตข้อมูล การออกแบบผังงานระบบ การ ออกแบบฐานข้อมูล และการออกแบบโปรแกรม เป็นต้น
  • 7. สรุปขั้นตอนของระยะการออกแบบ 1. พิจารณาแนวทางในการพัฒนาระบบ 2. ออกแบบสถาปัตยกรรมระบบ 3. ออกแบบรายงาน 4. ออกแบบหน้าจออินพุตข้อมูล 5. ออกแบบผังงานระบบ 6. ออกแบบฐานข้อมูล 7. การสร้างต้นแบบ 8. การออกแบบโปรแกรม ระยะที่ 4 การพัฒนา เป็นระยะที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโปรแกรม โดยทีมงานโปรแกรมเมอร์จะต้อง พัฒนาโปรแกรมตามที่นักวิเคราะห์ระบบได้ออกแบบไว้ การเขียนชุดคาสั่งเพื่อสร้าง เป็นระบบงานทางคอมพิวเตอร์ขึ้นมา โดยโปรแกรมเมอร์สามารถนาเครื่องมือเข้ามา ช่วยในการพัฒนาโปรแกรมได้เพื่อช่วยให้ระบบงานพัฒนาได้เร็วขึ้นและมีคุณภาพ สรุปขั้นตอนของระยะการพัฒนา 1. พัฒนาโปรแกรม 2. เลือกภาษาโปรแกรมที่เหมาะสม 3. สามารถนาเครื่องมือมาช่วยพัฒนาโปรแกรมได้ 4. สร้างเอกสารประกอบโปรแกรม ระยะที่ 5 การทดสอบ เมื่อโปรแกรมได้พัฒนาขึ้นมาแล้ว ยังไม่สามารถนาระบบไปใช้งานได้ทันที จาเป็นต้องดาเนินการทดสอบระบบก่อนที่จะนาไปใช้งานจริงเสมอ ควรมีการทดสอบ ข้อมูลเบื้องต้นก่อน ด้วยการสร้างข้อมูลจาลองขึ้นมาเพื่อใช้ตรวจสอบการทางานของ ระบบงาน หากพบข้อผิดพลาดก็ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง การทดสอบระบบจะมีการ ตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาเขียน และตรวจสอบว่าระบบตรงกับความต้องการของ ผู้ใช้หรือไม่ สรุปขั้นตอนของระยะการทดสอบ 1. ทดสอบไวยากรณ์ภาษาคอมพิวเตอร์ 2. ทดสอบความถูกต้องของผลลัพธ์ที่ได้ 3. ทดสอบว่าระบบที่พัฒนาตรงตามความต้องการของผู้ใช้หรือไม่
  • 8. ระยะที่ 6 การนาระบบไปใช้ เมื่อดาเนินการทดสอบระบบจนมั่นใจว่าระบบที่ได้รับการทดสอบนั้นพร้อมที่จะ นาไปติดตั้งเพื่อใช้งานบนสถานการณ์จริง ขั้นตอนการนาระบบไปใช้งานอาจเกิด ปัญหา จากการที่ระบบที่พัฒนาใหม่ไม่สามารถนาไปใช้งานแทนระบบงานเดิมได้ ทันที จึงมีความจาเป็นต้องแปลงข้อมูลระบบเดิมให้อยู่ในรูปแบบที่ระบบใหม่สามารถ นาไปใช้งานได้เสียก่อน หรืออาจพบข้อผิดพลาดที่ไม่คาดคิดเมื่อนาไปใช้ในสถานการณ์ จริง ครั้นเมื่อระบบสามารถรันได้จนเป็นที่น่าพอใจทั้งสองฝ่ าย ก็จะต้องจัดทาเอกสาร คู่มือระบบ รวมถึงการฝึกอบรมผู้ใช้ สรุปขั้นตอนของระยะการนาระบบไปใช้ 1. ศึกษาสภาพแวดล้อมของพื้นที่ก่อนที่จะนาระบบไปติดตั้ง 2. ติดตั้งระบบให้เป็นไปปตามสถาปัตยกรรมที่ออกแบบไว้ 3. จัดทาคู่มือระบบ 4. ฝึกอบรมผู้ใช้ 5. ดาเนินการใช้ระบบงานใหม่ 6. ประเมินผลการใช้งานของระบบใหม่ ระยะที่ 7 การบารุงรักษา หลังจากระบบงานที่พัฒนาขึ้นใหม่ได้ถูกนาไปใช้งานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอน การบารุงรักษาจึงเกิดขึ้น ทั้งนี้ ข้อบกพร่องในด้านการทางานของโปรแกรมอาจเพิ่ง ค้นพบได้ ซึ่งจะต้องดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องรวมถึงกรณีที่ข้อมูลที่จัดเก็บมีปริมาณที่ มากขึ้นต้องวางแผนการรองรับเหตุการณ์นี้ ด้วย นอกจากนี้ งานบารุงรักษายังเกี่ยวข้อง กับการเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมกรณีที่ผู้ใช้มีความต้องการเพิ่มขึ้น สรุปขั้นตอนระยะการบารุงรักษา 1. กรณีเกิดข้อผิดพลาดขึ้นจากระบบ ให้ดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้อง 2. อาจจาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม กรณีที่ผู้ใช้มีความต้องการเพิ่มเติม 3. วางแผนรองรับเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต 4. บารุงรักษาระบบงาน และอุปกรณ์
  • 9. คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ ผู้ที่จะทาหน้าที่เป็นนักวิเคราะห์ระบบได้จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1. ความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรม เพื่อจะได้สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ นักวิเคราะห์จะต้องเข้าใจว่าสิ่งใดที่จะเขียนโปรแกรมได้ หรือเขียนไม่ได้ 2. นักวิเคราะห์ระบบเปรียบเทียบเหมือนผู้จัดการทั่วไป จะเป็นผู้ที่ตัดสินใจในการกาหนด ออกแบบระบบทั้งหมด 3. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ให้คาแนะนาด้านเทคนิคที่ควรจะเป้ฯให้แก่ โปรแกรมเมอร์ ผู้ออกแบบรายงานแบบต่าง ๆ และวิศวกร 4. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเข้าใจระบบที่จะทาการออกแบบและคนที่อยู่ในระบบนั้น ๆ 5. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ทาหน้าที่เห็นสื่อกลางหรือล่ามระหว่างนักธุรกิจผู้ ต้องการให้ออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอร์หรือผู้ใช้ระบบ 6. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีความรู้ทางด้านภาษาชั้นสูง (High-level Language) อย่าง น้อย 1 ภาษา หรือความรู้ทางด้าน Fourth Generation Prototyping Language 7. นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้ที่ติดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและติดตั้งว่าได้รับผล ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ตั้งแต่ต้นหรือเปล่า รวมทั้งการประเมินออกมาเป็นตัวเลขเพื่อ ชี้แจงให้ผู้ที่ออกแบบระบบเข้าใจ 8. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากนัดวิเคราะห์ระบบจะต้อง เกี่ยวข้องกับคนในทุกระดับในองค์กร รวมถึงระบบปฏิบัติการ ช่างเทคนิค พนักงานบัญชี เลขานุการ พนักงานธุรการ ซึ่งเป็นส่วนที่มีความสาคัญที่สุด 9. นักวิเคราะห์ระบบที่ดี ควรจะมีประสบการณ์ทางด้านการออกแบบระบบพอสมควร โดยในช่วงแรกอาจจะเริ่มต้นจากการเป็นโปรแกรมเมอร์ และการออกแบบเล็ก ๆ น้อย ๆ ในระบบ เช่น การออกแบบรายงานง่าย ๆ การออกแบบหน้าจอ (Screen Design) เป็น ต้น
  • 10. หน้าที่ 1. จัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมทั้งด้านกาลังคน 2. กาหนดแผนงานและระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบงาน 3. ดาเนินการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลที่สาคัญต่อการพัฒนาระบบงาน 4. จัดทาเอกสารและวิเคราะห์ระบบงานของธุรกิจในปัจจุบัน 5. พัฒนาระบบงานโดยใช้เทคโนโลยีปัจจุบันเพื่อแก้ปัญหาให้แก้ธุรกิจ 6. วิเคราะห์ถึงความเหมาะสมต่าง ๆ ของเทคโนโลยี การปฏิบัติการ และฐานะทาง เศรษฐกิจ 7. ทบทวนและยื่นข้อเสนอระบบงานเพื่อพิจารณาอนุมัติ 8. ออกแบบและตรวจสอบความถูกต้องของระบบงาน 9. ออกแบบแฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูลและโครงสร้างงบต่าง ๆ ที่ใช้ในระบบ 10. ออกแบบลักษณะการติดต่อระหว่างผู้ใช้ระบบกับระบบงานคอมพิวเตอร์ (user Interfaces) เช่น ข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏบนจอมอนิเตอร์ในขณะป้อนข้อมูล 11. ออกแบบวิธีการเก็บข้อมูลและเทคนิค 12. ออกแบบระบบรักษาความปลอดภัย (Security) และการควบคุม (Control) ระบบ 13. ให้คาแนะนาทางด้านการเขียนโปรแกรมเพื่อให้ระบบดาเนินไปได้ตามเป้าหมาย 14. วางแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นใหม่ถูกนามาใช้แทนระบบเดิมโดยให้ มีความยุ่งยากน้อยที่สุด (Conversion Plans)
  • 11. ความสาคัญของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ นอกจากจะรู้จักกับคาว่าระบบแล้ว จะต้องรู้จักกับคาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบ เพื่อที่จะได้มีความเข้าใจที่ตรงกัน ไม่เกิดความเข้าใจผิดหรือเกิดการสับสนในการศึกษาในเรื่องการวิเคราะห์ และออกแบบระบบ ความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบสามารถแบ่งการให้ความหมายออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ 1. การวิเคราะห์ระบบงาน 2. การออกแบบระบบงาน 1. การวิเคราะห์ระบบงาน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Analysis” ซึ่งแปลว่า การแยกสิ่งที่ประกอบกันออกเป็นส่วน ๆ เช่น การแยกระบบ ใหญ่ออกเป็นส่วนย่อย ๆ คือ เป็นการแยกปัญหาออกเป็นส่วน ๆ เพื่อสะดวกในการพิจารณาหรือตัดสินใจ จามความหมายของคาว่าวิเคราะห์ดังกล่าวนี้ จะเห็นว่า การวิเคราะห์ระบบงานไม่ใช่เรื่องที่ยุ่งยากหรือเรื่องที่ สลับซับซ้อนแต่ประการใด การพิจารณาใคร่ครวญในปัญหาต่าง ๆ ของคนเรานั้น มีวิธีการใหญ่ ๆ อยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ 1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination) เป็น วิธีที่คนส่วนมากใช้กันเป็นปกติธรรมดาโดยอาศัย ประสบการณ์และสามัญสานึกของแต่ละบุคคลเป็นหลัก คนที่มีวิจารณญาณสูง ๆ อาจจะสามารถพิจารณา ตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วไม่แพ้นักวิชาการทางด้านวิเคราะห์ระบบ อย่างไรก็ตาม การพิจารณาใคร่ครวญและตัดสินใจด้วยวิธีการนี้ โอกาสที่จะผิดพลาดอย่างมีสูง ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดการสูญเสีย แก่ธุรกิจเป็นอย่างมากเช่นเดียวกัน ดังนั้น ถ้าเป็นงานสาคัญ ๆ ทางธุรกิจแล้วไม่ควรใช้วิธีนี้ เป็นอย่างยิ่ง 1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Methodology Determination หรือ System Analysis) เป็นวิธีการพิจารณา ใคร่ครวญและตัดสินใจโดยอาศัยระบบทางวิทยาศาสตร์ เช่น สถิติ และการคานวณ เป็นต้น วิธีนี้ เป็นวิธีที่ใช้ หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ เข้าช่วยผู้ที่จะทาการวิเคราะห์จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในวิชาการ แขนงต่าง ๆ ที่จะใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน จึงได้มีการจัดให้สอนในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคาที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายคลึงกันกับคาว่า “วิเคราะห์” ที่ควรจะทาความเข้าใจเพื่อป้องกันการ สับสนในการใช้ เช่น คาว่า การวิจัย การค้นคว้า การค้นคิด เป็นต้น ซึ่งความจริงแล้วการวิเคราะห์กับการวิจัย เป็นคนละเรื่อง คนละความมุ่งหมายกัน แต่มีความใกล้เคียงกันมาก การวิจัยนั้นมุ่งในการค้นหาข้อเท็จจริง หรือความถูกต้องที่สุดของปัญหาเช่น การวิจัยภาวะของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย เป็นการหาสาเหตุว่า เป็นเพราะอะไรบ้าง เหล่านี้ เป็นต้น ส่วนการ วิเคราะห์นั้นจะเป็นการมุ่งหาสาเหตุเพื่อทาการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นให้ดีที่สุดหรือเหมาะสมที่สุดเท่าที่จะทา ได้ การแก้ปัญหาที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบนั้นอาจไม่ใช่ทางที่ถูกต้องที่สุด แต่เป็นทางที่ดีที่สุดที่ควรจะ กระทาเท่านั้น ทั้งนี้ เพราะการแก้ไขปัญหาของนักวิเคราะห์ระบบเป็นการประนีประนอมกับบุคคลในหลาย ๆ ฝ่ายที่จะต้องทางานร่วมกันเพื่อให้การทางานของระบบมีประสิทธิภาพสูงสุดนั่นเอง 2. การออกแบบระบบงาน การออกแบบ หมายถึง การนาเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบแผน หรือเรียกว่า พิมพ์ เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศให้ใช้งานได้จริง ความต้องการของระบบ เช่น สามารถติดตามยอกขายได้เป็นระยะ เพื่อให้ฝ่ายบริหารสามารถปรับปรุงการ