SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บทที่ 7
การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ความหมายของระบบ(System)
ระบบ(System) คือ กระบวนการต่างๆ ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันและมี
ความสัมพันธ์กันระหว่างกระบวนการเหล่านั้น และเชื่อมต่อกันเพื่อทางานใด
งานหนึ่งให้บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้
การวิเคราะห์และออกแบบระบบสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ
1.การวิเคราะห์ระบบงาน
การพินิจพิเคราะห์ การพิจารณา การใคร่ครวญ การไต่สวนความหรือการ
วิเคราะห์นี้สามารถนาไปใช้กับวิชาการต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น การวิเคราะห์
โครงสร้าง การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ การวิเคราะห์
ปัญหา
2. การออกแบบระบบงาน
การออกแบบ หมายถึง การนาเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบ
แผน หรือเรียกว่า พิมพ์เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศให้ใช้งานได้จริง
ความต้องการของระบบ เช่น สามารถติดตามยอกขายได้เป็นระยะ เพื่อให้
ฝ่ ายบริหารสามารถปรับปรุงการขายได้ทันท่วงที
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หน้าที่ ของนักวิเคราะห์และออกแบบระบบ
1.จัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมทั้งด้านกาลังคน
2.กาหนดแผนงานและระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบงาน
3.ดาเนินการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลที่สาคัญต่อการพัฒนาระบบงาน
4.จัดทาเอกสารและวิเคราะห์ระบบงานของธุรกิจในปัจจุบัน
5.พัฒนาระบบงานโดยใช้เทคโนโลยีปัจจุบันเพื่อแก้ปัญหาให้แก้ธุรกิจ
6.วิเคราะห์ถึงความเหมาะสมต่างๆของเทคโนโลยีการปฏิบัติการและฐานะทาง
เศรษฐกิจ
7.ทบทวนและยื่นข้อเสนอระบบงานเพื่อพิจารณาอนุมัติ
8.ออกแบบและตรวจสอบความถูกต้องของระบบงาน
9.ออกแบบแฟ้ มข้อมูลหรือฐานข้อมูลและโครงสร้างงบต่าง ๆ ที่ใช้ในระบบ
10.ออกแบบลักษณะการติดต่อระหว่างผู้ใช้ระบบกับระบบงานคอมพิวเตอร์
(user Interfaces) เช่น ข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏบนจอมอนิเตอร์ในขณะ
ป้อนข้อมูล
11.ออกแบบวิธีการเก็บข้อมูลและเทคนิค
12.ออกแบบระบบรักษาความปลอดภัย(Security)และการควบคุม
(Control) ระบบ
13.ให้คาแนะนาทางด้านการเขียนโปรแกรมเพื่อให้ระบบดาเนินไปได้ตาม
เป้าหมาย
14.วางแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นใหม่ถูกนามาใช้แทนระบบ
เดิมโดยให้มีความยุ่งยากน้อยที่สุด (Conversion Plans)
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ
ผู้ที่จะทาหน้าที่เป็นนักวิเคราะห์ระบบได้จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
1.ความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรม เพื่อจะได้สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ นักวิเคราะห์จะต้องเข้าใจว่าสิ่งใดที่จะเขียนโปรแกรมได้หรือเขียน
ไม่ได้
2.นักวิเคราะห์ระบบเปรียบเทียบเหมือนผู้จัดการทั่วไปจะเป็นผู้ที่ตัดสินใจในการ
กาหนดออกแบบระบบทั้งหมด
3.นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ให้คาแนะนาด้านเทคนิคที่ควรจะเป้ฯให้แก่
โปรแกรมเมอร์ ผู้ออกแบบรายงานแบบต่างๆและวิศวกร
4.นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเข้าใจระบบที่จะทาการออกแบบและคนที่อยู่ในระบบนั้น ๆ
5. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ทาหน้าที่เห็นสื่อกลางหรือล่ามระหว่างนัก
ธุรกิจผู้ต้องการให้ออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอร์หรือผู้ใช้ระบบ
6. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีความรู้ทางด้านภาษาชั้นสูง อย่างน้อย 1 ภาษา
7. นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้ที่ติดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและติดตั้งว่า
ได้รับผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ตั้งแต่ต้นหรือเปล่ารวมทั้งการประเมินออกมา
เป็นตัวเลขเพื่อชี้แจงให้ผู้ที่ออกแบบระบบเข้าใจ
8. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากนัดวิเคราะห์ระบบจะต้อง
เกี่ยวข้องกับคนในทุกระดับในองค์กรรวมถึงระบบปฏิบัติการ
9. นักวิเคราะห์ระบบที่ดี ควรจะมีประสบการณ์ทางด้านการออกแบบระบบ
พอสมควรโดยในช่วงแรกอาจจะเริ่มต้นจากการเป็นโปรแกรมเมอร์ และการ
ออกแบบเล็ก ๆ น้อย ๆ ในระบบ
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบสารสนเทศ
วงจรการพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle : SDLC) ของระบบ
สารสนเทศ ได้มีการคิดค้นขึ้นมาโดยมีขึ้นตอนที่แตกต่างไปจากวงจรการพัฒนาระบบงาน
สาหรับระบบงานทั่วไป ตรงที่มีขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานที่ละเอียดว่าถึง 7 ขั้นตอน ซึ่ง
นักวิเคราะห์ระบบต้องทาความเข้าใจว่าในแต่ละขั้นตอนว่าทาอะไรและทาอย่างไร สามารถแบ่ง
ออกเป็นลาดับขั้นตอนดังนี้
1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunity and
Objective)
2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs)
4. การออกแบบระบบ (Designing the Recommended System)
5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Developing and Documenting Software)
6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System)
7. ดาเนินงานและประเมินผล (Implementing and evaluating the System)

More Related Content

Similar to Work3-05 (20)

M
MM
M
 
M
MM
M
 
Work3-45
Work3-45Work3-45
Work3-45
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
บทที่7แก้
บทที่7แก้บทที่7แก้
บทที่7แก้
 
Chapter008
Chapter008Chapter008
Chapter008
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสารอาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 

Work3-05

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความหมายของระบบ(System) ระบบ(System) คือ กระบวนการต่างๆ ที่อยู่ในเครือข่ายเดียวกันและมี ความสัมพันธ์กันระหว่างกระบวนการเหล่านั้น และเชื่อมต่อกันเพื่อทางานใด งานหนึ่งให้บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ การวิเคราะห์และออกแบบระบบสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ 1.การวิเคราะห์ระบบงาน การพินิจพิเคราะห์ การพิจารณา การใคร่ครวญ การไต่สวนความหรือการ วิเคราะห์นี้สามารถนาไปใช้กับวิชาการต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น การวิเคราะห์ โครงสร้าง การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ การวิเคราะห์ ปัญหา 2. การออกแบบระบบงาน การออกแบบ หมายถึง การนาเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบ แผน หรือเรียกว่า พิมพ์เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศให้ใช้งานได้จริง ความต้องการของระบบ เช่น สามารถติดตามยอกขายได้เป็นระยะ เพื่อให้ ฝ่ ายบริหารสามารถปรับปรุงการขายได้ทันท่วงที
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หน้าที่ ของนักวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1.จัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมทั้งด้านกาลังคน 2.กาหนดแผนงานและระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนาระบบงาน 3.ดาเนินการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลที่สาคัญต่อการพัฒนาระบบงาน 4.จัดทาเอกสารและวิเคราะห์ระบบงานของธุรกิจในปัจจุบัน 5.พัฒนาระบบงานโดยใช้เทคโนโลยีปัจจุบันเพื่อแก้ปัญหาให้แก้ธุรกิจ 6.วิเคราะห์ถึงความเหมาะสมต่างๆของเทคโนโลยีการปฏิบัติการและฐานะทาง เศรษฐกิจ 7.ทบทวนและยื่นข้อเสนอระบบงานเพื่อพิจารณาอนุมัติ 8.ออกแบบและตรวจสอบความถูกต้องของระบบงาน 9.ออกแบบแฟ้ มข้อมูลหรือฐานข้อมูลและโครงสร้างงบต่าง ๆ ที่ใช้ในระบบ 10.ออกแบบลักษณะการติดต่อระหว่างผู้ใช้ระบบกับระบบงานคอมพิวเตอร์ (user Interfaces) เช่น ข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏบนจอมอนิเตอร์ในขณะ ป้อนข้อมูล 11.ออกแบบวิธีการเก็บข้อมูลและเทคนิค 12.ออกแบบระบบรักษาความปลอดภัย(Security)และการควบคุม (Control) ระบบ 13.ให้คาแนะนาทางด้านการเขียนโปรแกรมเพื่อให้ระบบดาเนินไปได้ตาม เป้าหมาย 14.วางแผนงานต่าง ๆ เพื่อให้ระบบที่ได้พัฒนาขึ้นใหม่ถูกนามาใช้แทนระบบ เดิมโดยให้มีความยุ่งยากน้อยที่สุด (Conversion Plans)
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved คุณสมบัติของนักวิเคราะห์ระบบ ผู้ที่จะทาหน้าที่เป็นนักวิเคราะห์ระบบได้จะต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 1.ความรู้ทางด้านการเขียนโปรแกรม เพื่อจะได้สื่อสารกับโปรแกรมเมอร์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ นักวิเคราะห์จะต้องเข้าใจว่าสิ่งใดที่จะเขียนโปรแกรมได้หรือเขียน ไม่ได้ 2.นักวิเคราะห์ระบบเปรียบเทียบเหมือนผู้จัดการทั่วไปจะเป็นผู้ที่ตัดสินใจในการ กาหนดออกแบบระบบทั้งหมด 3.นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ให้คาแนะนาด้านเทคนิคที่ควรจะเป้ฯให้แก่ โปรแกรมเมอร์ ผู้ออกแบบรายงานแบบต่างๆและวิศวกร 4.นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเข้าใจระบบที่จะทาการออกแบบและคนที่อยู่ในระบบนั้น ๆ 5. นักวิเคราะห์ระบบจะต้องเป็นผู้ที่ทาหน้าที่เห็นสื่อกลางหรือล่ามระหว่างนัก ธุรกิจผู้ต้องการให้ออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอร์หรือผู้ใช้ระบบ 6. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีความรู้ทางด้านภาษาชั้นสูง อย่างน้อย 1 ภาษา 7. นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้ที่ติดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและติดตั้งว่า ได้รับผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ตั้งแต่ต้นหรือเปล่ารวมทั้งการประเมินออกมา เป็นตัวเลขเพื่อชี้แจงให้ผู้ที่ออกแบบระบบเข้าใจ 8. นักวิเคราะห์ระบบควรจะมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี เนื่องจากนัดวิเคราะห์ระบบจะต้อง เกี่ยวข้องกับคนในทุกระดับในองค์กรรวมถึงระบบปฏิบัติการ 9. นักวิเคราะห์ระบบที่ดี ควรจะมีประสบการณ์ทางด้านการออกแบบระบบ พอสมควรโดยในช่วงแรกอาจจะเริ่มต้นจากการเป็นโปรแกรมเมอร์ และการ ออกแบบเล็ก ๆ น้อย ๆ ในระบบ
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved วงจรการพัฒนาระบบงานสาหรับระบบสารสนเทศ วงจรการพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle : SDLC) ของระบบ สารสนเทศ ได้มีการคิดค้นขึ้นมาโดยมีขึ้นตอนที่แตกต่างไปจากวงจรการพัฒนาระบบงาน สาหรับระบบงานทั่วไป ตรงที่มีขั้นตอนในการพัฒนาระบบงานที่ละเอียดว่าถึง 7 ขั้นตอน ซึ่ง นักวิเคราะห์ระบบต้องทาความเข้าใจว่าในแต่ละขั้นตอนว่าทาอะไรและทาอย่างไร สามารถแบ่ง ออกเป็นลาดับขั้นตอนดังนี้ 1. ค้นหาปัญหา โอกาสและเป้าหมาย (Identifying Problems, Opportunity and Objective) 2. ศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) 3. วิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Analyzing System Needs) 4. การออกแบบระบบ (Designing the Recommended System) 5. พัฒนาซอฟต์แวร์และจัดทาเอกสาร (Developing and Documenting Software) 6. ทดสอบและบารุงรักษาระบบ (Testing and Maintaining the System) 7. ดาเนินงานและประเมินผล (Implementing and evaluating the System)