SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้
อบอุน
    ่
สร้า งความสัม พัน ธ์ใ น
      ครอบครัว
 ครอบครัว     หมายถึง กลุ่ม คนตั้ง แต่ 2 คนขึ้น ไป
มาเกี่ย วพัน กัน โดยการแต่ง งาน
และสืบ สายโลหิต ได้แ ก่พ อ แม่ล ูก อาจจะมีบ ุค คล
                               ่
อื่น ทีเ ป็น ญาติห รือ มิใ ช่ญ าติอ าศัย อยูด ้ว ยกัน
       ่                                    ่
แต่ล ะคนถือ ว่า เป็น สมาชิก ของครอบครัว
สร้า งความสุข ให้ค รอบครัว ได้ง ่า ยๆ
10 วิธ ี

     1.   "หัว เราะ" ไปด้ว ยกัน
        เสียงหัวเราะคือวิธหนึ่งที่สามารถทำาให้
                          ี
    ทุกคนในครอบครัวได้ใกล้ชดกันมากขึ้น ดัง
                              ิ
    นั้นการที่ใครสักคนแบ่งปันเรื่องราว
    สนุกสนานน่าขำามาให้คนในบ้านได้หัวเราะ
    ไปพร้อมกัน หรือการนั่งดูรายการตลกใน
    ช่วงเวลาว่างด้วยกันทั้งครอบครัวก็เป็นอีก
    ทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ
   2.   "ขอบคุณ "กัน และกัน





      หลายครั้งที่มีปญหา
                     ั     ไม่ว่าจะเป็นใคร
    ก็ตาม คนในครอบครัวอาจหลงลืมช่วง
    เวลาดีๆไปบ้าง ดังนั้นการที่เราไม่ลืมคำา
    ว่า "ขอบคุณ"และ"ขอโทษ" ก็ทำาให้
    ความรู้สกดีๆยังคงอยูต่อไป อย่าลืมว่า
            ึ            ่
 3.   "แบ่ง ปัน "ความสุข ให้ล ูก บ้า ง
 ของขวัญจากพ่อแม่ทวิเศษอีกอย่างหนึงคือการ
                         ี่              ่
   ที่
ทั้งสองแบ่งปันความรักให้ลกได้เรียนรู้ว่า
                             ู
พ่อกับแม่รักกันมากแค่ไหน ขณะเดียวกัน
ก็ควรสอนให้ลูกรูจักรักแท้ที่พ่อมีให้แม่
                   ้
ซึ่งการพูดให้ลกรู้
                ู
คงไม่สำาคัญเท่ากับการแสดงออกให้ลกเห็น ู
และถ้าลูกรับรู้ได้ว่า พ่อกับแม่รักกันแค่ไหน
พวกเขาก็จะมีความสุขและ
มองความรักในแง่ดีอกด้วยี
     4. "สุข " อย่า งพอเพีย ง
 บางครั้งปัญหาทางด้านการงานของ
  แต่ละครอบครัว ก็เป็นตัวการสำาคัญที่
  บันทอนความสุขได้มากทีเดียว ทั้งๆที่
    ่
  หลายคนอาจเถียงว่า ไม่ได้ให้ความ
  สำาคัญกับเงินและงานมากกว่าลูก แต่
  ณ เวลานั้น หัวหน้าครอบครัวหลายคน
  อาจมองไม่เห็นตัวเอง จนทำาให้สาเหตุ
  ของปัญหาด้านการเงินและความไม่รู้
  จักพอเป็นบ่อเกิดของปัญหาซึงพาลหา
                               ่
  เรื่องทะเลาะเบาะแว้งกับลูก-เมียได้งาย
                                     ่
ทั้งนี้ ถ้าใครไม่อยากให้เงินมาเป็นตัว
บ่อนทำาลายความสุขของครอบครัว ก็
ควรจัดระเบียบความคิดและเปลี่ยนมุม
มองใหม่ว่า แค่ไม่เป็นหนี้ ไม่อยากมี
อยากได้จนเกินตัว ครอบครัวก็สุข
สมบูรณ์ได้ด้วยความพอเพียง อย่าไป
ดิ้นรนเพื่อวัตถุนอกกายเพียงแค่ให้เป็น
หน้าเป็นตา ในขณะที่ครอบครัวกำาลัง
จะพังอีกเลย
5. "มารยาท" เพิม สุข
               ่
  บทบาทของพ่อแม่ที่
 สำาคัญคือการสอนและ
 ดูแลเอาใจใส่ ซึ่งสิง ่
 สำาคัญที่เด็กส่วนใหญ่มัก
 พลาดกันก็คอเรื่อง
                ื
 มารยาท ดังนั้นหากพ่อ
 แม่สอนให้ลกรู้จัก
              ู
 มารยาทโดยวิธีการที่
 ไม่ใช่การต่อว่าลูก ลูกก็
 จะรูจักปรับปรุงและน้อม
       ้
 รับในสิงที่พ่อแม่สอน ซึ่ง
           ่
 อาจกล่าวได้วาการที่พ่อ
                    ่
 แม่สอนลูก แล้วลูกนำาไป
 ปฏิบตินั้น ก็คอความสุขที่
         ั        ื
 พ่อแม่จะได้กลับมา ขณะ
 ที่ลกๆเอง ถ้าเขามี
     ู
 มารยาทนอกจากคนใน
  6.
หลายครั้งที่พี่น้องอาจ า น
               "ปรับ "บ้
               ให้ม ีก ฎ
ทะเลาะกัน ไม่ว่าจะเป็น
เรื่องความขัดแย้งระหว่าง
การเล่นในบ้านหรือการ
                
พูดจายุแหย่ตามประสาเด็ก
ซึ่งทำาให้พ่อแม่หลายคน
ปวดหัวไปตามๆกัน
       ดังนั้นวิธีที่จะช่วย
แก้ไขปัญหาเหล่านี้ พ่อแม่
ควรตั้งกฎระเบียบให้ลูกๆ
และเพื่อนๆที่จะมาเล่นใน
"เชือ มั่น " กัน
   7.    ่
และกั เด็กๆอาจมีความเชื่อมันในตัว
      น                    ่
          เองค่อนข้างสูงกว่าผู้ใหญ่ พ่อ
          แม่กควรให้อิสระกับลูกในการ
               ็
          ตัดสินใจและเชื่อมันในตัวลูก
                             ่
          แต่อิสระในทีนไม่ได้
                        ่ ี้
          หมายความว่า พวกเขาจะอะไร
          ก็ได้ไร้ขอบเขต ความเชื่อมั่น
          ในที่นหมายถึงพ่อแม่ควรให้ลูก
                 ี้
          ตัดสินใจเลือกในสิ่งที่พวกเขา
          อยากทำาโดยอยู่ในสายตาของ
          พ่อและแม่เพือให้เขาเรียนรู้สิ่ง
                      ่
          ต่างๆผ่านประสบการณ์ด้วย
          ตนเอง ไม่ใช่บังคับลูกเสียทุก
 8.   "ชื่น ชม" มากกว่า ติเ ตีย น
   การชืนชมในที่นี้ไม่
         ่
 ได้หมายความว่า ต่อ
 ให้ลูกทำาผิดก็บอกว่า
 ไม่ผิด เข้าข้างลูกอย่าง
 ไม่มีเหตุผล แต่การ
 ชื่นชมที่พ่อแม่ควรทำา
 คือการที่ประสบความ
 สำาเร็จหรือสามารถทำา
 อะไรบางอย่างที่น่า
 ยินดี พ่อแม่ก็ควรให้
 กำาลังใจลูก แม้ว่ามัน
 จะเป็นเรื่องเล็กน้อย
 ก็ตาม เพราะในที่สด   ุ
 แล้ว เมื่อลูกได้รับกำาลัง
  9. ลด "กัง วล"
 คำานึงอยูเสมอว่า ไม่ว่าจะเจอปัญหา
          ่            
หนักหนาแค่ไหน แต่คนใน
ครอบครัวก็ยังคงเป็นกำาลังใจและรอ
อยู่ทบ้านเสมอ ดังนั้นหากพ่อแม่
     ี่
เครียดจากการทำางาน ก็ไม่ควรเอา
ปัญหาไปที่บานด้วยเพราะจะทำาให้
              ้
บรรยากาศเสียเข้าไปใหญ่ ลองนึกดู
ว่า ถ้าลูกๆกำาลังรอพ่อแม่กลับบ้าน
เพื่อนั่งทานข้าวเย็นพร้อมกัน แต่
กลับต้องพบว่า พ่อหงุดหงิด เรื่อง
 ดังนั้น หากมีปญหาอะไรก็
               ั
ควรแยกแยะเวลางานและ
เวลาครอบครัวเท่าที่จะทำาได้
ถ้าสิงไหนที่สามารถบอกเล่า
     ่
และปรึกษากันและกันได้ก็ไม่
ควรเก็บปัญหานั้นไว้คนเดียว
เพราะทุกคนในครอบครัว
ไม่มใครทิ้งใครได้แน่นอน
       ี
ความกังวลจะลดลงได้ถ้ามี
ใครสักคนรับฟัง
   10.     "ช่ว ยเหลือ "
 สิ่งที่สำาคักัน่สดนอกเหนือจากที่กล่าวมา
             ญที และกัน
                  ุ
                   
นั้น การอยู่ร่วมกันเป็นทีมที่มีความสามัคคี
กัน นับเป็นสิงสำาคัญอีกประการหนึ่ง ดังนั้น
             ่
การที่ครอบครัวพร้อมใจช่วยเหลือกันและ
กันเปรียบเสมือนเป็นทีมเดียวกัน แน่นอน
ว่าไม่ว่าจะเจออุปสรรคแบบใด ครอบครัวที่
แข็งแรงแบบนี้ก็จะสามารถฝ่าฟันไปได้
ด้วยดี และในที่สุด อุปสรรคต่างๆก็ไม่
สามารถทำาลายมวลความสุขของทุกคนใน
ครอบครัวลงไปได้แม้แต่น้อย
เคล็ดลับทั้ง 10 ข้อนี้ หลายคนอาจ
บอกว่าพูดง่าย คิดง่าย แต่ทำายาก ซึ่ง
หากลองเปลี่ยนทัศนคติว่า ทำายากแต่ก็
ทำาได้ เชื่อว่า ไม่ว่าจะเป็นกี่เคล็ดลับ ถ้า
ทุกคนอยากทำาให้ครอบครัวมีสุข ก็
สามารถทำาได้โดยปราศจากข้ออ้างใดๆ
แน่นอน เพียงแค่ให้ทุกคนในบ้านร่วม
มือกัน

More Related Content

Similar to สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111

%A1สุขและสนุกกับงาน
%A1สุขและสนุกกับงาน%A1สุขและสนุกกับงาน
%A1สุขและสนุกกับงานanitha rattanatrang
 
7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงาน
7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงาน7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงาน
7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงานtanarat
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักSarid Tojaroon
 
อาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528 (upgrade).pdf
อาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528  (upgrade).pdfอาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528  (upgrade).pdf
อาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528 (upgrade).pdfPUise Thitalampoon
 
พ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกพ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกNavaponNoppakhun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิงสิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิงNhui Srr
 

Similar to สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111 (20)

2010111209582136
20101112095821362010111209582136
2010111209582136
 
%A1สุขและสนุกกับงาน
%A1สุขและสนุกกับงาน%A1สุขและสนุกกับงาน
%A1สุขและสนุกกับงาน
 
7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงาน
7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงาน7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงาน
7+วิธีสร้างความสุขและสนุกกับงาน
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
 
อาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528 (upgrade).pdf
อาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528  (upgrade).pdfอาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528  (upgrade).pdf
อาทิตย์ ที่ 9 มิถุนายน 2528 (upgrade).pdf
 
พ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกพ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวก
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
 
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์10  เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
10 เคล็ดลับการสอบสัมภาษณ์
 
203.7
203.7203.7
203.7
 
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิงสิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
สิ่งที่ผู้ชายต้องการจากผู้หญิง
 

สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว111

  • 2. สร้า งความสัม พัน ธ์ใ น ครอบครัว  ครอบครัว หมายถึง กลุ่ม คนตั้ง แต่ 2 คนขึ้น ไป มาเกี่ย วพัน กัน โดยการแต่ง งาน และสืบ สายโลหิต ได้แ ก่พ อ แม่ล ูก อาจจะมีบ ุค คล ่ อื่น ทีเ ป็น ญาติห รือ มิใ ช่ญ าติอ าศัย อยูด ้ว ยกัน ่ ่ แต่ล ะคนถือ ว่า เป็น สมาชิก ของครอบครัว
  • 3. สร้า งความสุข ให้ค รอบครัว ได้ง ่า ยๆ 10 วิธ ี   1. "หัว เราะ" ไปด้ว ยกัน   เสียงหัวเราะคือวิธหนึ่งที่สามารถทำาให้ ี ทุกคนในครอบครัวได้ใกล้ชดกันมากขึ้น ดัง ิ นั้นการที่ใครสักคนแบ่งปันเรื่องราว สนุกสนานน่าขำามาให้คนในบ้านได้หัวเราะ ไปพร้อมกัน หรือการนั่งดูรายการตลกใน ช่วงเวลาว่างด้วยกันทั้งครอบครัวก็เป็นอีก ทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ
  • 4.    2. "ขอบคุณ "กัน และกัน    หลายครั้งที่มีปญหา ั ไม่ว่าจะเป็นใคร ก็ตาม คนในครอบครัวอาจหลงลืมช่วง เวลาดีๆไปบ้าง ดังนั้นการที่เราไม่ลืมคำา ว่า "ขอบคุณ"และ"ขอโทษ" ก็ทำาให้ ความรู้สกดีๆยังคงอยูต่อไป อย่าลืมว่า ึ ่
  • 5.  3. "แบ่ง ปัน "ความสุข ให้ล ูก บ้า ง  ของขวัญจากพ่อแม่ทวิเศษอีกอย่างหนึงคือการ ี่ ่ ที่ ทั้งสองแบ่งปันความรักให้ลกได้เรียนรู้ว่า ู พ่อกับแม่รักกันมากแค่ไหน ขณะเดียวกัน ก็ควรสอนให้ลูกรูจักรักแท้ที่พ่อมีให้แม่ ้ ซึ่งการพูดให้ลกรู้ ู คงไม่สำาคัญเท่ากับการแสดงออกให้ลกเห็น ู และถ้าลูกรับรู้ได้ว่า พ่อกับแม่รักกันแค่ไหน พวกเขาก็จะมีความสุขและ มองความรักในแง่ดีอกด้วยี
  • 6.      4. "สุข " อย่า งพอเพีย ง  บางครั้งปัญหาทางด้านการงานของ แต่ละครอบครัว ก็เป็นตัวการสำาคัญที่ บันทอนความสุขได้มากทีเดียว ทั้งๆที่ ่ หลายคนอาจเถียงว่า ไม่ได้ให้ความ สำาคัญกับเงินและงานมากกว่าลูก แต่ ณ เวลานั้น หัวหน้าครอบครัวหลายคน อาจมองไม่เห็นตัวเอง จนทำาให้สาเหตุ ของปัญหาด้านการเงินและความไม่รู้ จักพอเป็นบ่อเกิดของปัญหาซึงพาลหา ่ เรื่องทะเลาะเบาะแว้งกับลูก-เมียได้งาย ่
  • 7. ทั้งนี้ ถ้าใครไม่อยากให้เงินมาเป็นตัว บ่อนทำาลายความสุขของครอบครัว ก็ ควรจัดระเบียบความคิดและเปลี่ยนมุม มองใหม่ว่า แค่ไม่เป็นหนี้ ไม่อยากมี อยากได้จนเกินตัว ครอบครัวก็สุข สมบูรณ์ได้ด้วยความพอเพียง อย่าไป ดิ้นรนเพื่อวัตถุนอกกายเพียงแค่ให้เป็น หน้าเป็นตา ในขณะที่ครอบครัวกำาลัง จะพังอีกเลย
  • 8. 5. "มารยาท" เพิม สุข ่  บทบาทของพ่อแม่ที่ สำาคัญคือการสอนและ ดูแลเอาใจใส่ ซึ่งสิง ่ สำาคัญที่เด็กส่วนใหญ่มัก พลาดกันก็คอเรื่อง ื มารยาท ดังนั้นหากพ่อ แม่สอนให้ลกรู้จัก ู มารยาทโดยวิธีการที่ ไม่ใช่การต่อว่าลูก ลูกก็ จะรูจักปรับปรุงและน้อม ้ รับในสิงที่พ่อแม่สอน ซึ่ง ่ อาจกล่าวได้วาการที่พ่อ ่ แม่สอนลูก แล้วลูกนำาไป ปฏิบตินั้น ก็คอความสุขที่ ั ื พ่อแม่จะได้กลับมา ขณะ ที่ลกๆเอง ถ้าเขามี ู มารยาทนอกจากคนใน
  • 9.   6. หลายครั้งที่พี่น้องอาจ า น "ปรับ "บ้ ให้ม ีก ฎ ทะเลาะกัน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องความขัดแย้งระหว่าง การเล่นในบ้านหรือการ   พูดจายุแหย่ตามประสาเด็ก ซึ่งทำาให้พ่อแม่หลายคน ปวดหัวไปตามๆกัน        ดังนั้นวิธีที่จะช่วย แก้ไขปัญหาเหล่านี้ พ่อแม่ ควรตั้งกฎระเบียบให้ลูกๆ และเพื่อนๆที่จะมาเล่นใน
  • 10. "เชือ มั่น " กัน    7. ่ และกั เด็กๆอาจมีความเชื่อมันในตัว น ่         เองค่อนข้างสูงกว่าผู้ใหญ่ พ่อ แม่กควรให้อิสระกับลูกในการ ็ ตัดสินใจและเชื่อมันในตัวลูก ่ แต่อิสระในทีนไม่ได้ ่ ี้ หมายความว่า พวกเขาจะอะไร ก็ได้ไร้ขอบเขต ความเชื่อมั่น ในที่นหมายถึงพ่อแม่ควรให้ลูก ี้ ตัดสินใจเลือกในสิ่งที่พวกเขา อยากทำาโดยอยู่ในสายตาของ พ่อและแม่เพือให้เขาเรียนรู้สิ่ง ่ ต่างๆผ่านประสบการณ์ด้วย ตนเอง ไม่ใช่บังคับลูกเสียทุก
  • 11.  8. "ชื่น ชม" มากกว่า ติเ ตีย น    การชืนชมในที่นี้ไม่ ่ ได้หมายความว่า ต่อ ให้ลูกทำาผิดก็บอกว่า ไม่ผิด เข้าข้างลูกอย่าง ไม่มีเหตุผล แต่การ ชื่นชมที่พ่อแม่ควรทำา คือการที่ประสบความ สำาเร็จหรือสามารถทำา อะไรบางอย่างที่น่า ยินดี พ่อแม่ก็ควรให้ กำาลังใจลูก แม้ว่ามัน จะเป็นเรื่องเล็กน้อย ก็ตาม เพราะในที่สด ุ แล้ว เมื่อลูกได้รับกำาลัง
  • 12.   9. ลด "กัง วล"  คำานึงอยูเสมอว่า ไม่ว่าจะเจอปัญหา ่         หนักหนาแค่ไหน แต่คนใน ครอบครัวก็ยังคงเป็นกำาลังใจและรอ อยู่ทบ้านเสมอ ดังนั้นหากพ่อแม่ ี่ เครียดจากการทำางาน ก็ไม่ควรเอา ปัญหาไปที่บานด้วยเพราะจะทำาให้ ้ บรรยากาศเสียเข้าไปใหญ่ ลองนึกดู ว่า ถ้าลูกๆกำาลังรอพ่อแม่กลับบ้าน เพื่อนั่งทานข้าวเย็นพร้อมกัน แต่ กลับต้องพบว่า พ่อหงุดหงิด เรื่อง
  • 13.  ดังนั้น หากมีปญหาอะไรก็ ั ควรแยกแยะเวลางานและ เวลาครอบครัวเท่าที่จะทำาได้ ถ้าสิงไหนที่สามารถบอกเล่า ่ และปรึกษากันและกันได้ก็ไม่ ควรเก็บปัญหานั้นไว้คนเดียว เพราะทุกคนในครอบครัว ไม่มใครทิ้งใครได้แน่นอน ี ความกังวลจะลดลงได้ถ้ามี ใครสักคนรับฟัง
  • 14.    10. "ช่ว ยเหลือ "  สิ่งที่สำาคักัน่สดนอกเหนือจากที่กล่าวมา ญที และกัน ุ         นั้น การอยู่ร่วมกันเป็นทีมที่มีความสามัคคี กัน นับเป็นสิงสำาคัญอีกประการหนึ่ง ดังนั้น ่ การที่ครอบครัวพร้อมใจช่วยเหลือกันและ กันเปรียบเสมือนเป็นทีมเดียวกัน แน่นอน ว่าไม่ว่าจะเจออุปสรรคแบบใด ครอบครัวที่ แข็งแรงแบบนี้ก็จะสามารถฝ่าฟันไปได้ ด้วยดี และในที่สุด อุปสรรคต่างๆก็ไม่ สามารถทำาลายมวลความสุขของทุกคนใน ครอบครัวลงไปได้แม้แต่น้อย
  • 15. เคล็ดลับทั้ง 10 ข้อนี้ หลายคนอาจ บอกว่าพูดง่าย คิดง่าย แต่ทำายาก ซึ่ง หากลองเปลี่ยนทัศนคติว่า ทำายากแต่ก็ ทำาได้ เชื่อว่า ไม่ว่าจะเป็นกี่เคล็ดลับ ถ้า ทุกคนอยากทำาให้ครอบครัวมีสุข ก็ สามารถทำาได้โดยปราศจากข้ออ้างใดๆ แน่นอน เพียงแค่ให้ทุกคนในบ้านร่วม มือกัน