SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Download to read offline
สัตว์ป่าสงวน ๑๕ ชนิด
NEXT
สัตว์สงวน 15 ชนิดได้แก่
นกเจ้าฟ้ าหญิงสิรินธร
PSEUDOCHELIDON
SIRINTARAE
แรด
RHINOCEROS
SONDAICUS
กระซู่
DICERORHINUS
SUMATRENSIS
กูปรีหรือโคไพร
BOS SAUVELI
ควายป่ า
BUBALUS BUBALIS
ละองหรือละมั่ง
CERVUS ELDI
NEXTBACK  HOME
สัตว์สงวน 15 ชนิดได้แก่ (ต่อ)
สมันหรือเนื้อสมัน
CERVUS
SCHOMBURKI
กวางผา
NAEMORHEDUS
GRISEUS
นกแต้วแล้วท้องดา
PITTA GURNEYI
นกกระเรียน
GRUS ANTIGONE
แมวลายหินอ่อน
PARDOFELIS
MARMORATA
สมเสร็จ
TAPIRUS INDICUS
เก้งหม้อ
MUNTIACUS FEAI
พะยูนหรือหมูน้า
DUGONG
DUGON
เลียงผา,เยือง,กูรา,โครา
CAPRICORNIS
SUMATRAENSIS
NEXTBACK  HOME
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน สัตว์ป่ าสงวน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว ศิริญาณี ลิ้มทองเจริญ เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2.นางสาว วรรณรัตน์ เกษมศรี เลขที่ 42 ชั้น 6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สัตว์ป่ าสงวน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Wild Animal Protection
ประเภทโครงงาน โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎี
ชื่อผู้ทา 1.นางสาวศิริญาณี ลิ้มทองเจริญ เลขที่ 25
2.นางสาววรรณรัตน์ เกษมศรี เลขที่ 42
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภายในเวลา3 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ปัจจุบันสัตว์ป่าสงวนเป็นสัตว์หายาก, ใกล้จะสูญพันธุ์ หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว จึงจาเป็นต้องมีบทบัญญัติ
เข้มงวดกวดขัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมีชีวิตอยู่หรือซากสัตว์ป่า ต่อมาเมื่อสถานการณ์ของสัตว์ป่า
ในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดมีแนวโน้มถูกคุกคามเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มาก จึงได้คิดจะนาเสนอ
เกี่ยวกับสัตว์ที่เราอาจจะไม่ได้เคยพบเจอ ไม่เคยรู้จักและเป็นการสะท้อนถึงปัญหาที่เราควรจะรู้ เพื่ออนุรักษ์เหล่านี้ให้
ยังคงอยู่ในธรรมชาติ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อต้องการเสนอแนวคิดเกี่ยวกับอนุรักษ์สัตว์ป่า
2.เพื่อที่จะได้รู้จักสัตว์ที่มีแนวโน้มใกล้จะสูญพันธุ์
3.เพื่อสะท้อนปัญหาที่เกิดขึ้นของธรรมชาติ ที่เกิดจากฝีมือคน
4.เพื่อเป็นสื่อการศึกษาแก่ผู้สนใจ
ขอบเขตโครงงาน
-สามารถนาแนวคิดเหล่านี้มาร่วมอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่ า
-ทาให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ
หลักการและทฤษฎี
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ประชุมและกาหนดหัวข้อโครงงานที่จะทา
2.วิเคราะห์ข้อมูลและแบ่งหน้าที่
3.จัดหาเว็บไซต์หรือหนังสือที่เกี่ยวข้องกับสัตว์สงวน
4.รวบรวมข้อมูลที่หามา
5.ตรวจทานข้อมูล หากมีข้อผิดพลาดปรับปรุงแก้ไข
6.สรุปผลต่างๆ
7.นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-หนังสือเกี่ยวกับสัตว์สงวน
-คอมพิวเตอร์(โปรแกรมpower point)
-อินเตอร์เน็ต
งบประมาณ
-
ลำดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงำน *
2 ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูล * * *
3 จัดทำโครงร่ำงงำน *
4 ปฏิบัติกำรสร้ำงโครงงำน * * * *
5 ปรับปรุงทดสอบ *
6 กำรทำเอกสำรรำยงำน *
7 ประเมินผลงำน *
8 นำเสนอโครงงำน *
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถช่วยอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าได้
2.มีส่วนรวมในการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่ า
สถานที่ดาเนินการ
-ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
-บ้าน
-ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
-สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
-http://th.wikipedia.org/wiki
-http://www.fca16mr.com/
-หนังสือรอบรู้เรื่องสัตว์ชุด สัตว์ป่าสงวน
-หนังสือ สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสงวน ๑๕ ชนิด
หมายถึง
สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าที่หายาก กาหนดตามบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสงวนและ
คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๐๓ จานวน ๙ ชนิด เป็นสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมทั้งหมด ได้แก่ แรด
กระซู่ กูปรี ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมัน เนื้อทราย เลียงผา และกางผา สัตว์ป่าสงวนเหล่านี้
หายาก หรือใกล้จะสูญพันธุ์หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว
NEXTBACK  HOME
นกเจ้าฟ้ าหญิงสิรินธร
Pseudochelidon sirintarae
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 นกนางแอ่นที่มีลาตัวยาว๑๕ เซนติเมตร สีโดยทั่วไปมีสีดาเหลือบเขียวแกมฟ้าโคนหางมีแถบสีขาว ลักษณะเด่นได้แก่ มีวงสี
ขาวรอบตา ทาให้ดูมีดวงตาโปนโตออกมาจึงเรียกว่านกตาพองนกที่โตเต็มวัย มีแกนขนหางคู่กลางยื่นยาวออกมา๒เส้น
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 แหล่งผสมพันธุ์วางไข่ และที่อาศัยในฤดูร้อนยังไม่ทราบในบริเวณบึงบอระเพ็ดนกเจ้าหญิงสิรินธรจะเกาะนอนอยู่ในฝูงนก
นางแอ่นชนิดอื่นๆที่เกาะอยู่ตามใบอ้อและใบสนุ่นภายในบึงบอระเพ็ดบางครั้งก็พบอยู่ในกลุ่มนกกระจาบและนกจาบปีกอ่อน
กลุ่มนกเหล่านี้มีจานวนนับพันตัวอาหารเชื่อได้ว่าได้แก่แมลงที่โฉบจับได้ในอากาศ
 NEXT
ที่อยู่อาศัย
 อาศัยอยู่ตามดงอ้อและพืชน้าในบริเวณบึงบอระเพ็ด
BACK  HOME
สถานภาพ
 นกชนิดนี้สารวจพบครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๑จังหวัดนครสวรรค์หลังจากการค้นพบครั้งแรกแล้วมีรายงานพบ
อีก ๓ ครั้ง แต่มีเพียง ๖ ตัวเท่านั้นนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร เป็นสัตว์ป่าสงวนตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพ.ศ.
๒๕๓๕
 HOME
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 มีอยู่น้อยมากเพราะเป็นนกชนิดที่โบราณที่หลงเหลืออยู่ในปัจจุบันแต่ละปีในฤดูหนาวจะถูกจับไปพร้อมๆกับนกนางแอ่นชนิด
อื่น นอกจากนี้ที่พักนอนในฤดูหนาวคือ ดงอ้อ และพืชน้าอื่นๆที่ถูกทาลายไปโดยการทาการประมงการเปลี่ยนหนองบึงเป็นนา
ข้าว และการควบคุมระดับน้าในบึงเพื่อการพัฒนาหลายรูปแบบสิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดผลเสียต่อการคงอยู่ของพืชน้าและต่อนก
เจ้าฟ้าหญิงสิรินธรมาก
BACK
แรด
Rhinoceros sondaicus
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 แรดจัดเป็นสัตว์จาพวกมีกีบ คือมีเล็บ ๓ เล็บทั้งเท้าหน้าและเท้าหลังตัวโตเต็มวัยมีความสูงที่ไหล่ ๑.๖-๑.๘ เมตร น้าหนักตัว
๑,๕๐๐-๒,๐๐๐กิโลกรัม แรดมีหนังหนาและมีขนแข็งขึ้นห่างๆสีพื้นเป็นสีเทาออกดาส่วนหลังมีส่วนพับของหนัง ๓ รอย
บริเวณหัวไหล่ด้านหลังของขาคู่หน้า และด้านหน้าของขาคู่หลังแรดตัวผู้มีนอเดียวยาวไม่เกิน ๒๕ เซนติเมตรส่วนตัวเมียจะ
เห็นเป็นเพียงปุ่มนูนขึ้นมา
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 ในอดีตเคยพบแรดหากินร่วมเป็นฝูง แต่ในปัจจุบันแรดหากินตัวเดียวโดดๆหรืออยู่เป็นคู่ในฤดูผสมพันธุ์ อาหารของแรด
ได้แก่ ยอดไม้ใบไม้กิ่งไม้และผลไม้ที่ร่วงหล่นบนพื้นดินแรดไม่มีฤดูผสมพันธุ์ที่แน่นอนจึงสามารถผสมพันธุ์ได้ตลอดปี
ตกลูกครั้งละ ๑ ตัว ตั้งท่องนานประมาณ๑๖เดือน
ที่อยู่อาศัย
 แรดอาศัยอยู่เฉพาะในบริเวณป่าดิบชื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์หรือตามป่าทึบริมฝั่งทะเลส่วนใหญ่จะหากินอยู่ตามพื้นที่ราบ
ไม่ค่อยขึ้นบนภูเขาสูง
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 แรดมีเขตกระจายตั้งแต่ประเทศบังคลาเทศพม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนามลงไปทางแหลมมลายูสุมาตรา และชวา ปัจจุบันพบ
น้อยมากจนกล่าวได้ว่าเกือบจะหมดไปจากผืนแผ่นดินใหญ่ของทวีปเอเชียแล้วเชื่อว่ายังอาจจะมีคงเหลืออยู่บ้างทางเทือกเขา
ตะนาวศรีและในป่าลึกตามแนวรอยต่อจังหวัดระนองพังงาและสุราษฎร์ธานี
สถานภาพ
 ปัจจุบันแรดจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยและจัดอยู่ในAppendix 1 ของอนุสัญญา
CITES ทั้งยังเป็นสัตว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ตามU.S.Endanger Species
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 เช่นเดียวกับแรดที่พบบริเวณอื่นๆ ที่พบในประเทศไทยถูกล่าและทาลายอย่างหนักเพื่อต้องการนอหรือส่วนอื่นๆเช่น กระดูก
เลือด ฯลฯ ซึ่งมีคุณค่าสูงยิ่งเพื่อใช้ในการบารุงและยาอื่นๆนอกจากนี้บริเวณป่าที่ราบที่แรดชอบอาศัยอยู่ก็หมดไปกลายเป็น
บ้านเรือนและเกษตรกรรมจนหมด
 HOMEBACK
กระซู่
Dicerorhinus sumatrensis
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 กระซู่เป็นสัตว์จาพวกเดียวกับแรด แต่มีลักษณะลาตัวเล็กกว่าตัวโตเต็มวัยมีความสูงที่ไหล่ ๑-๑.๕ เมตร น้าหนักประมาณ
๑,๐๐๐ กิโลกรัมมีหนังหนาและมีขนขึ้นปกคลุมทั้งตัวโดยเฉพาะในตัวที่มีอายุน้อยซึ่งขนจะลดน้อยลงเมื่อมีอายุมากขึ้น สีลาตัว
โดยทั่วไปออกเป็นสีเทา คล้ายสีขี้เถ้าด้านหลังลาตัว จะปรากฏรอยพับของหนังเพียงพับเดียวตรงบริเวณด้านหลังของขาคู่หน้า
กระซู่ทั้งสองเพศมีนอ๒ นอ นอหน้ามีความยาวประมาณ ๒๕ เซนติเมตรส่วนนอหลังมีความยาวไม่เกิน ๑๐ เซนติเมตรหรือ
เป็นเพียงตุ่มนูนขึ้นมาในตัวเมีย
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 กระซู่ปีนเขาได้เก่ง มีประสาทรับกลิ่นดีมากออกหากินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่พวกใบไม้และผลไม้ป่าบางชนิด
ปกติกระซู่จะใช้ชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยวยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือตัวเมียเลี้ยงลูกอ่อน ตกลูกครั้งละ๑ ตัว มีระยะตั้งท้อง๗-๘
เดือน ในที่เลี้ยงกระซู่มีอายุยืน ๓๒ปี
ที่อยู่อาศัย
 กระซู่อาศัยอยู่ตามป่าเขาที่มีความหนารกทึบ ลงมาอยู่ในป่าที่ราบต่าในตอนปลายฤดูฝนซึ่งในระยะนั้นมีปรักและน้าอยู่
ทั่วไป
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 กระซู่มีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นอัสสัมในประเทศอินเดีย บังคลาเทศ พม่า ไทยเวียดนาม มลายู สุมาตรา และบอเนียวในประเทศ
ไทยมีรายงานว่าพบกระซู่อยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าหลายแห่งได้แก่ ภูเขียวจังหวัดชัยภูมิ เขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี ห้วยขาแข้ง
จังหวัดอุทัยธานีทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี และคลองแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานีและในบริเวณอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง
ได้แก่ แก่งกระจานจังหวัดเพชรบุรีและเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลาและบริเวณป่ารอยต่อระหว่างประเทศกับมาเลเซีย
สถานภาพ
 ปัจจุบันกระซู่จัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย อนุสัญญา CITES จัดไว้ใน Appendix I
และ U.S. Endanger Species Act จัดไว้ในพวกที่ใกล้จะสูญพันธุ์
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 กระซู่ปัจจุบันใกล้จะสูญพันธุ์ไปจากโลก เนื่องจากถูกล่าเพื่อเอานอและอวัยวะทุกส่วนของตัวซึ่งมีฤทธิ์ในทางเป็นยา กระซู่จึง
ถูกล่าอยู่เนืองๆประกอบกับกระซู่มีอยู่ในธรรมชาติน้อยและประชากรแต่ละกลุ่มและแม้แต่กลุ่มเดียวกันก็อยู่ห่างกันมากไม่มี
โอกาสจับคู่ขยายพันธุ์ได้
 HOMEBACK
กูปรีหรือโคไพร
Bos sauveli
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 กูปรีเป็นสัตว์ป่าชนิดหนึ่ง เช่นเดียวกับ กระทิงและวัวแดงเมื่อโตเต็มที่มีความสูงที่ไหล่ ๑.๗-๑.๙ เมตร น้าหนัก ๗๐๐-๙๐๐
กิโลกรัมตัวผู้มีขนาดลาตัวใหญ่กว่าตัวเมียมาก สีโดยทั่วไปเป็นสีเทาเข้มเกือบดา ขาทั้ง ๔มีถุงเท้าสีขาวเช่นเดียวกับกระทิง ใน
ตัวผู้ที่มีอายุมากจะมีเหนียงใต้คอยาวห้อยลงมาจนเกือบจะถึงดินเขากูปรีตัวผู้กับตัวเมียจะแตกต่างกันโดยเขาตัวผู้จะโค้งเป็นวง
กว้าง แล้วตีวงโค้งไปข้างหน้าปลายเขาแตกออกเป็นพู่คล้ายเส้นไม้กวาดแข็งตัวเมียมีเขาตีวงแคบแล้วม้วนขึ้นด้านบนไม่มีพู่ที่
ปลายเข
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 อยู่รวมกันเป็นฝูง ๒-๒๐ ตัว กินหญ้า ใบไม้ดินโป่งเป็นครั้งคราวผสมพันธุ์ในราวเดือนเมษายน ตั้งท้องนาน๙ เดือนจะพบ
ออกลูกอ่อนประมาณเดือนธันวาคมและมกราคมตกลูกครั้งละ ๑ตัว
ที่อยู่อาศัย
 ปกติอาศัยอยู่ตามป่าโปร่งที่มีทุ่งหญ้าสลับกับป่าเต็งรังและในป่าเบญจพรรณที่ค่อนข้างแล้ง
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 กูปรีมีเขตแพร่กระจายอยู่ในไทย เวียดนาม ลาวและกัมพูชา
สถานภาพ
 ประเทศไทยมีรายงานว่าพบกูปรีอยู่ตามแนวเทือกเขาชายแดนไทย-กัมพูชาและลาวเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๕มีรายงานพบกูปรีใน
บริเวณเทือกเขาพนมดงรักกูปรีจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน๑๕ชนิดของประเทศไทย และอยู่ในAppendix
I ตามอนุสัญญาCITES
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 ปัจจุบันกูปรีเป็นสัตว์ป่าที่หายากกาลังใกล้จะสูญพันธุ์หมดไปจากโลกเนื่องจากการถูกล่าเป็นอาหารและสภาวะสงครามใน
แถบอินโดจีนซึ่งเป็นแหล่งอาศัยเฉพาะกูปรีทาให้ยากในการอยู่ร่วมกันในการอนุรักษ์กูปรี
 HOMEBACK
ควายป่ า
Bubalus bubalis
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 ควายป่าเป็นสัตว์ชนิดเดียวกับ ควายบ้าน แต่มีลาตัวขนาดลาตัวใหญ่กว่ามีนิสัยว่องไว และดุร้ายกว่าควายบ้านมาก ตัวโตเต็มวัย
มีความสูงที่ไหล่เกือบ ๒ เมตรน้าหนักมากกว่า ๑,๐๐๐ กิโลกรัม สีลาตัวโดยทั่วไปเป็นสีเทาหรือสีน้าตาลดา ขาทั้ง ๔ สีขาวแก่
หรือสีเทาคล้ายใส่ถุงเท้าสีขาวด้านล่างของลาตัวเป็นลายสีขาวรูปตัววี (V ) ควายป่ามีเขาทั้ง ๒เพศเขามีขนาดใหญ่กว่าควาย
เลี้ยง วงเขากางออกกว้างโค้งไปทางด้านหลังด้านตัดขวางเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายเขาเรียวแหลม
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 ควายป่าชอบออกหากินในเวลาเช้า และเวลาเย็น อาหารได้แก่ พวกใบไม้หญ้าและหน่อไม้หลังจากกินอาหารอิ่มแล้วควาย
ป่าจะนอนเคี้ยวเอื้องตามพุ่มไม้หรือนอนแช่ปรักโคลนตอนช่วงกลางวัน ควายป่าจะอยู่ร่วมกันเป็นฝูงฤดูผสมพันธุ์อยู่ราวๆ
เดือนตุลาคมและพฤศจิกายนตกลูกครั้งละ ๑ ตัว ตั้งท้องนาน ๑๐เดือน เท่าที่ทราบควายป่ามีอายุยืน ๒๐-๒๕ปี
 NEXT
เขตแพร่กระจาย
 ควายป่ามีเขตแพร่กระจายจากประเทศเนปาลและอินเดียไปสิ้นสุดทางด้านทิศตะวันออกที่ประเทศเวียดนามในประเทศไทย
ปัจจุบันมีควายป่าเหลืออยู่บริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งจังหวัดอุทัยธานี
BACK  HOME
สถานภาพ
 ปัจจุบันควายป่าที่เหลืออยู่ในประเทศไทยมีจานวนน้อยมากจนน่ากลัวว่าอีกไม่นานจะหมดไปจากประเทศ ควายป่าจัดเป็น
สัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ชนิดของประเทศไทย และอนุสัญญาCITES จัดควายป่าไว้ในAppendix III
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 เนื่องจากการถูกล่าเพื่อเอาเนื้อและเอาเขาที่สวยงามและการสูญเชื้อพันธุ์เนื่องจากไปผสมกับควายบ้าน ที่มีผู้เอาไปเลี้ยงปล่อย
เป็นควายปละในป่าในกรณีหลังนี้บางครั้งควายป่าจะติดโรคต่างๆจากควายบ้านทาให้จานวนลดลงมากยิ่งขึ้น
 HOMEBACK
ละองหรือละมั่ง
Cervus eldi
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 เป็นกวางที่มีขนาดโตกว่าเนื้อทราย แต่เล็กกว่ากวางป่าเมื่อโตเต็มวัยมีความสูงที่ไหล่ ๑.๒-๑.๓ เมตร น้าหนัก ๑๐๐-๑๕๐
กิโลกรัมขนตามตัวทั่วไปมีสีน้าตาลแดงตัวอายุน้อยจะมีจุดสีขาวตามตัวซึ่งจะเลือนกลายเป็นจุดจางๆเมื่อโตเต็มที่ในตัวเมีย แต่
จุดขาวเหล่านี้จะหายไปจนหมดในตัวผู้ตัวผู้จะมีขนที่บริเวณคอยาว และมีเขาและเขาของละองจะมีลักษณะต่างจากเขากวาง
ชนิดอื่นๆ ในประเทศไทยซึ่งที่กิ่งรับหมาที่ยื่นออกมาทางด้านหน้าจะทามุมโค่งต่อไปทางด้านหลังและลาเขาไม่ทามุมหักเช่นที่
พบในกวางชนิดอื่นๆ
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ตัวผู้ที่โตเต็มวัยจะเข้าฝูงเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ออกหากินใบหญ้า ใบไม้และผลไม้ทั้งเวลากลางวัน
และกลางคืนแต่เวลาแดดจัดจะเข้าหลบพักในที่ร่มละองละมั่งผสมพันธุ์ในเดือนกุมภาพันธ์จนถึงเดือนเมษายน ตั้งท้องนาน
๘ เดือนออกลูกครั้งละ๑ ตัว
ที่อยู่อาศัย
 ละองชอบอยู่ตามป่าโปร่งและป่าทุ่งโดยเฉพาะป่าที่มีแหล่งน้าขัง
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 ละองแพร่กระจายในประเทศอินเดียพม่า ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม และเกาะไหหลาในประเทศไทยอาศัยอยู่ในบริเวณ
เหนือจากคอคอดกระขึ้นมา
สถานภาพ
 มีรายงานพบเพียง๓ ตัว ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานีละอง ละมั่งจัดเป็นป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕
ชนิดของประเทศไทย และอนุสัญญาCITES จัดอยู่ในAppendix
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 ปัจจุบันละอง ละมั่งกาลังใกล้จะสูญพันธุ์หมดไปจากประเทศไทยเนื่องจากสภาพป่าโปร่งซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยถูกบุกรุกทาลาย
เป็นไร่นา และที่อยู่อาศัยของมนุษย์ทั้งยังถูกล่าอย่างหนักนับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา
 HOMEBACK
สมันหรือเนื้อสมัน
Cervus schomburki
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 เนื้อสมันเป็นกวางชนิดหนึ่งที่เขาสวยงามที่สุดในประเทศไทยเมื่อโตเต็มวัยจะมีความสูงที่ไหล่ประมาณ ๑ เมตรสีขนบนลาตัว
มีสีน้าตาลเข้มและเรียบเป็นมัน หางค่อนข้างสั้นและมีสีขางทางตอนล่างสมันมีเขาเฉพาะตัวผู้ลักษณะเขาของสมันมีขนาดใหญ่
และแตกกิ่งก้านออกหลายแขนงดูคล้ายสุ่มหรือตะกร้าสมันจึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่ากวางเขาสุ่ม
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็กๆ โดยเฉพาะในฤดูผสมพันธุ์หลังจากหมดฤดูผสมพันธุ์และตัวผู้จะแยกตัวออกมาอยู่โดดเดี่ยว
สมันชอบกินหญ้าโดยเฉพาะหญ้าอ่อน ผลไม้ยอดไม้และใบไม้หลายชนิด
ที่อยู่อาศัย
 สมันจะอาศัยเฉพาะในทุ่งโล่งไม่อยู่ตามป่ารกทึบเนื่องจากเขามีกิ่งก้านสาขามากจะเกี่ยวพันพันกับเถาวัลย์ได้ง่าย
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 สมันเป็นสัตว์ชนิดที่มีเขตแพร่กระจายจากัดอยู่ในบริเวณที่ราบภาคกลางของประเทศเท่านั้นสมัยก่อนมีชุกชุมมากในที่ราบลุ่ม
แม่น้าเจ้าพระยา บริเวณจังหวัดรอบกรุงเทพฯ เช่นนครนายก ปทุมธานี และปราจีนบุรี และแม้แต่บริเวณพื้นที่รอบนอกของ
กรุงเทพฯ เช่นบริเวณพญาไท บางเขน รังสิตฯลฯ
สถานภาพ
 สมันได้สูญพันธุ์ไปจากโลกและจากประเทศไทยเมื่อเกือบ๖๐ ปีที่แล้วสมันยังจัดเป็นป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ชนิดของ
ประเทศไทยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมซากโดยเฉพาะอย่างยิ่งเขาของสมันไม่ให้มีการส่งออกนอกราชอาณาจักร
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 เนื่องจากแหล่งที่อยู่อาศัยได้ถูกเปลี่ยนเป็นนาข้าวเกือบทั้งหมดและสมันที่เหลืออยู่ตามที่ห่างไกลจะถูกล่าอย่างหนักในฤดูน้า
หลากท่วมท้องทุ่งในเวลานั้นสมันจะหนีน้าขึ้นไปอยู่รวมกันบนที่ดอนทาให้พวกพรานล้อมไล่ฆ่าอย่างง่ายดาย
 HOMEBACK
กวางผา
Naemorhedus griseus
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 กวางผาเป็นสัตว์จาพวก แพะแกะเช่นเดียวกับเลียงผาแต่มีขนาดเล็กกว่าเมื่อโตเต็มที่มีความสูงที่ไหล่มากกว่า ๕๐ เซนติเมตร
เพียงเล็กน้อยและมีน้าหนักตัวประมาณ๓๐ กิโลกรัม ขนบนลาตัวสีน้าตาล หรือสีน้าตาลปนเทามีแนวสีดาตามสันหลงไปจนจด
หาง ด้านใต้ท้องสีจางกว่าด้านหลังหางสั้นสีดาเขาสีดามีลักษณะเป็นวงแหวนรอบโคนเขาและปลายเรียวโค้งไปทางด้านหลัง
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 ออกหากินตามที่โล่งในตอนเย็น และตอนเช้ามืดหลับพักนอนตามพุ่มไม้และชะง่อนหินในเวลากลางคืน อาหาร ได้แก่ พืช
ที่ขึ้นตามสันเขาและหน้าผาหิน เช่น หญ้าใบไม้กิ่งไม้และลูกไม้เปลือกแข็งจาพวกลูกก่อกวางผาอยู่รวมกันเป็นฝูงๆละ ๔-
๑๒ ตัวผสมพันธุ์ในราวเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม ออกลูกครอกละ ๑-๒ ตัว ตั้งท้องนาน ๖เดือน
ที่อยู่อาศัย
 กวางผาจะอยู่บนยอดเขาสูงชันในที่ระดับน้าสูงชันมากกว่า๑,๐๐๐เมตร
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 กวางผามีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นแคชเมียร์ลงมาจนถึงแคว้นอัสสัมจีนตอนใต้พม่าและตอน
เหนือของประเทศไทยในประเทศไทยมีรายงานพบกวางผาตามภูเขาที่สูงชันในหลายบริเวณเช่น ดอยม่อนจองเขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าอมก๋อย ดอยเลี่ยม ดอยมือกาโด จังหวัดเชียงใหม่และบริเวณสองฝั่งลาน้าปิงในอุทยานแห่งชาติแม่ปิงจังหวัดตาก
สถานภาพ
 กวางผาจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยและอนุสัญญาCITESจัดไว้ในAppendix I
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 เนื่องจากการบุกรุกถางป่าที่ทาไร่เลื่อนลอยของชาวเขาในระยะเริ่มแรกและชาวบ้านในระยะหลังทาให้ที่อาศัยของกวางผาลด
น้อยลง เหลืออยู่เพียงตามยอดเขาที่สูงชันประกอบกับการล่ากวางผาเพื่อเอาน้ามันมาใช้ในการสมานกระดูกที่หักเช่นเดียวกับ
เลียงผาจานวนกวางผาในธรรมชาติจึงลดลงเหลืออยู่น้อยมาก
 HOMEBACK
นกแต้วแล้วท้องดา
Pitta gurneyi
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 เป็นนกขนาดเล็ก ลาตัวยาว ๒๑ เซนติเมตร จัดเป็นนกที่มีความสวยงามมากนกตัวผู้มีส่วนหัวสีดา ท้ายทอยมีสีฟ้าประกายสดใส
ด้านหลังสีน้าตาลติดกับอกตอนล่างและตอนใต้ท้องที่มีดาสนิทนกตัวเมียมีสีสดใสน้อยกว่าโดยทั่วไปสีลาตัวออกน้าตาลเหลือง
ไม่มีแถบดาบนหน้าอกและใต้ท้องนกอายุน้อยมีหัวและคอสีน้าตาลเหลืองส่วนอกใต้ท้องสีน้าตาลทั่วตัวมีลายเกล็ดสีดา
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 นกแต้วแล้วท้องดาทารังเป็นซุ้มทรงกลมด้วยแขนงไม้และใบไผ่วางอยู่บนพื้นดินหรือในกอระกาวางไข่ ๓-๔ ฟอง ทั้งพ่อ
นกและแม่นกช่วยกันกกไข่และหาอาหารมาเลี้ยงลูกอาหารได้แก่หนอนด้วงปลวก จิ้งหรีดขนาดเล็กและแมลงอื่นๆ
ที่อยู่อาศัย
 นกแต้วแล้วท้องดาชนิดนี้พบอาศัยอยู่เฉพาะในบริเวณป่าดงดิบต่า
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 พบตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศพม่าลงมาจนถึงเขตรอยต่อระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย
สถานภาพ
 เคยพบชุกชุมในระยะเมื่อ ๘๐ ปีก่อน แต่ไม่มีรายงานทางวิทยาศาสตร์เลยตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๔๙๕ จนมีรายงานพบครั้งล่าสุดเมื่อเดือน
มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๑ นกแต้วแล้วท้องดาได้รับการจัดให้เป็นสัตว์ชนิดที่หายากชนิดหนึ่งในสิบสองชนิดที่หายากของโลก
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 นกชนิดนี้จัดเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดงดิบต่าซึ่งกาลังถูกตัดฟันอย่างหนักและสภาพที่อยู่เช่นนี้มีน้อยมากในบริเวณ
เขตคุ้มครองในภาคใต้นอกจากนี้เนื่องจากเป็นนกที่หายากเป็นที่ต้องการของตลาดนกเลี้ยงจึงมีราคาแพงอันเป็นแรงกระตุ้น
ให้นกแต้วแล้วท้องดาถูกล่ามากยิ่งขึ้น
 HOMEBACK
นกกระเรียน
Grus antigone
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 เป็นนกขนาดเล็ก ลาตัวยาว ๒๑ เซนติเมตร จัดเป็นนกที่มีความสวยงามมากนกตัวผู้มีส่วนหัวสีดา ท้ายทอยมีสีฟ้าประกายสดใส
ด้านหลังสีน้าตาลติดกับอกตอนล่างและตอนใต้ท้องที่มีดาสนิทนกตัวเมียมีสีสดใสน้อยกว่าโดยทั่วไปสีลาตัวออกน้าตาลเหลือง
ไม่มีแถบดาบนหน้าอกและใต้ท้องนกอายุน้อยมีหัวและคอสีน้าตาลเหลืองส่วนอกใต้ท้องสีน้าตาลทั่วตัวมีลายเกล็ดสีดา
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 นกแต้วแล้วท้องดาทารังเป็นซุ้มทรงกลมด้วยแขนงไม้และใบไผ่วางอยู่บนพื้นดินหรือในกอระกาวางไข่ ๓-๔ ฟอง ทั้งพ่อ
นกและแม่นกช่วยกันกกไข่และหาอาหารมาเลี้ยงลูกอาหารได้แก่หนอนด้วงปลวก จิ้งหรีดขนาดเล็กและแมลงอื่นๆ
ที่อยู่อาศัย
 นกแต้วแล้วท้องดาชนิดนี้พบอาศัยอยู่เฉพาะในบริเวณป่าดงดิบต่า
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 พบตั้งแต่ตอนใต้ของประเทศพม่าลงมาจนถึงเขตรอยต่อระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย
สถานภาพ
 เคยพบชุกชุมในระยะเมื่อ ๘๐ ปีก่อน แต่ไม่มีรายงานทางวิทยาศาสตร์เลยตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๔๙๕ จนมีรายงานพบครั้งล่าสุดเมื่อเดือน
มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๑ นกแต้วแล้วท้องดาได้รับการจัดให้เป็นสัตว์ชนิดที่หายากชนิดหนึ่งในสิบสองชนิดที่หายากของโลก
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 นกชนิดนี้จัดเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่เฉพาะในป่าดงดิบต่าซึ่งกาลังถูกตัดฟันอย่างหนักและสภาพที่อยู่เช่นนี้มีน้อยมากในบริเวณ
เขตคุ้มครองในภาคใต้นอกจากนี้เนื่องจากเป็นนกที่หายากเป็นที่ต้องการของตลาดนกเลี้ยงจึงมีราคาแพงอันเป็นแรงกระตุ้น
ให้นกแต้วแล้วท้องดาถูกล่ามากยิ่งขึ้น
 HOMEBACK
แมวลายหินอ่อน
Pardofelis marmorata
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 แมวลายหินอ่อนเป็นแมวป่าขนาดกลาง น้าหนักตัวเมื่อโตเต็มที่ ๔-๕ กิโลกรัมใบหูเล็กมนกลมมีจุดด้านหลังใบหู หางยาวมีขน
หนาเป็นพวงเด่นชัดสีขนโดยทั่วไปเป็นสีน้าตาลอมเหลืองมีลายบนลาตัวคล้ายลายหินอ่อนด้านใต้ท้องจะออกสีเหลืองมากกว่า
ด้านหลังขาและหางมีจุดดาเท้ามีพังผืดยืดระหว่างนิ้วนิ้วมีปลอกเล็บสองชั้นและเล็บพับเก็บได้ในปลอกเล็บทั้งหมด
 NEXT
BACK  HOME
อุปนิสัย
 ออกหากินในเวลากลางคืน ส่วนใหญ่มักอยู่บนต้นไม้อาหารได้แก่สัตว์ขนาดเล็กแทบทุกชนิดตั้งแต่แมลงจิ้งจก ตุ๊กแกงู นก
หนู กระรอกจนถึงลิงขนาดเล็กนิสัยค่อนข้าดุร้าย
ที่อยู่อาศัย
 ในประเทศไทยพบอยู่ตามป่าดงดิบเทือกเขาตะนาวศรีและป่าดงดิบชื้นในภาคใต้
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 แมวป่าชนิดนี้มีเขตแพร่กระจายตั้งแต่ประเทศเนปาลสิกขิม แคว้นอัสสัมประเทศอินเดีย ผ่านทางตอนเหนือของพม่า ไทย อิน
โดจีน ลงไปตลอดแหลมมลายูสุมาตราและบอร์เนียว
สถานภาพ
 แมวลายหินอ่อนจัดเป็นสัตว์ป่าชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และอนุสัญญาCITES จัดอยู่ในAppendix I
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 เนื่องจากแมวลายหินอ่อนเป็นสัตว์ที่หาได้ยากและมีปริมาณในธรรมชาติค่อนข้างต่าเมื่อเทียบกับแมวป่าชนิดอื่นๆจานวนจึง
น้อยมากและเนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยถูกทาลายและถูกล่าหรือจับมาเป็นสัตว์เลี้ยงที่มีราคาสูงจานวนแมวลายหินอ่อนจึงน้อยลง
ด้านชีววิทยาของแมวป่าชนิดนี้ยังรู้กันน้อยมาก
 HOMEBACK
สมเสร็จ
Tapirus indicus
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 สมเสร็จเป็นสัตว์กีบคี่ เท้าหน้ามี ๔ เล็บ และเท้าหลังมี ๓ เล็บจมูกและริมฝีปากบนยื่นออกมาคล้ายงวงตามีขนาดเล็ก ใบหูรูป
ไข่ หางสั้นตัวเต็มวัยมีน้าหนัก ๒๕๐-๓๐๐กิโลกรัม ส่วนหัวและลาตัวเป็นสีขาวสลับดาตั้งแต่ปลายจมูกตลอดท่อนหัวจนถึง
ลาตัว บริเวณระดับหลังของขาคู่หน้ามีสีดาท่อนกลางตัวเป็นแผ่นขาว ส่วนบริเวณโคนหางลงไปตลอดขาคู่หลัง จะเป็นสีดา
ขอบปลายหูและริมฝีปากขาว ลูกสมเสร็จลาตัวมีลายเป็นแถบดูลายพร้อยคล้ายลูกแตงไทย
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 สมเสร็จชอบออกหากินในเวลากลางคืน กินยอดไม้กิ่งไม้หน่อไม้และพืชอวบน้าหลายชนิดมักมุดหากินตามที่รกทึบไม่
ค่อยชอบเดินหากินตามเส้นทางเก่ามีประสาทสัมผัสทางกลิ่นและเสียงดีมากผสมพันธุ์ในเดือนเมษายนหรือเดือน
พฤษภาคมตกลูกครั้งละ๑ ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนานประมาณ๑๓ เดือนสมเสร็จที่เลี้ยงไว้มีอายุนานประมาณ๓๐ ปี
ที่อยู่อาศัย
 สมเสร็จชอบอยู่อาศัยตามบริเวณที่ร่มครึ้มใกล้ห้วยหรือลาธาร
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 สมเสร็จมีเขตแพร่กระจายจากพม่าตอนใต้ไปตามพรมแดนด้านทิศตะวันตกของประเทศไทยลงไปสุดแหลมมลายูและสุ
มาตราในประเทศไทยจะพบสมเสร็จได้ในป่าดงดิบตามเทือกเขาถนนธงชัยเทือกเขาตะนาวศรีและป่าทั่วภาคใต้
สถานภาพ
 ปัจจุบันสมเสร็จจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยและจัดโดยอนุสัญญาCITESไว้ใน
Appendix I และจัดเป็นสัตว์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ตามU.S. Endanger Species Act.
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 การล่าสมเสร็จเพื่อเอาหนังและเนื้อการทาลายป่าดงดิบที่อยู่อาศัยและหากินโดยการตัดไม้การสร้างเขื่อนกักเก็บน้าและถนน
ทาให้จานวนสมเสร็จลดปริมาณลงจนหาได้ยาก
 HOMEBACK
เก้งหม้อ
Muntiacus feai
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 เก้งหม้อมีลักษณะโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับเก้งธรรมดา ขนาดลาตัวไล่เลี่ยกันเมื่อโตเต็มที่น้าหนักประมาณ ๒๐ กิโลกรัม แต่เก้ง
หม้อจะมีสีลาตัวคล้ากว่าเก้งธรรมดาด้านหลังสีออกน้าตาลเข้มใต้ท้องสีน้าตาลแซมขาวขาส่วนที่อยู่เหนือกีบจะมีสีดาด้านหน้า
ของขาหลังมีแถบขาวเห็นได้ชัดเจน บนหน้าผากจะมีเส้นสีดาอยู่ด้านในระหว่างเขาหางสั้นด้านบนสีดาตัดกับสีขาวด้านล่าง
ชัดเจน
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 เก้งหม้อชอบอาศัยอยู่เดี่ยวในป่าดงดิบตามลาดเขาจะอยู่เป็นคู่เฉพาะฤดูผสมพันธุ์เท่านั้น ออกหากินในเวลากลางวัน
มากกว่าในเวลากลางคืนอาหารได้แก่ ใบไม้ใบหญ้า และผลไม้ป่า ตกลูกครั้งละ ๑ ตัว เวลาตั้งท้องนาน๖เดือน
ที่อยู่อาศัย
 ชอบอยู่ตามลาดเขาในป่าดงดิบและหุบเขาที่มีป่าหนาทึบและมีลาธารน้าไหลผ่าน
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 เก้งหม้อมีเขตแพร่กระจาย อยู่ในบริเวณตั้งแต่พม่าตอนใต้ลงไปจนถึงภาคใต้ตอนบนของประเทศไทยเท่านั้นในประเทศไทยพบใน
บริเวณเทือกเขาตะนาวศรีลงไปจนถึงเทือกเขาภูเก็ตในบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองนาคา และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง
ในจังหวัดระนอง สุราษฎร์ธานีและพังงา
สถานภาพ
 องค์การสวนสัตว์ได้ประสบความสาเร็จในการเพาะเลี้ยงเก้งหม้อมาตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๕๒๘ในปัจจุบันเก้งหม้อจัดเป็นสัตว์ป่า
สงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยและองค์การIUCN จัดเก้งหม้อให้เป็นสัตว์ป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 ปัจจุบันเป็นสัตว์ป่าที่หายากและใกล้จะสูญพันธุ์หมดไปจากประเทศเนื่องจากมีเขตแพร่กระจายจากัดและที่อยู่อาศัยถูกทาลาย
หมดไปเพราะการตัดไม้ทาลายป่าการเก็บกักน้าเหนือเขื่อนและการล่าเป็นอาหารเก้งหม้อเป็นเนื้อที่นิยมรับประทานกันมาก
 HOMEBACK
พะยูนหรือหมูน้า
Dugong dugon
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 พะยูนจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ในน้ามีลาตัวเพรียวรูปกระสวย หางแยกเป็นสองแฉกวางตัวขนานกับพื้น
ในแนวราบ ไม่มีครีบหลังปากอยู่ตอนล่าง ของส่วนหน้าริมฝีปากบนเป็นก้อนเนื้อหนาลักษณะเป็นเหลี่ยมคล้ายจมูกหมูตัวอายุ
น้อยมีลาตัวออกขาว ส่วนตัวเต็มวัยมีสีชมพูแดงเมื่อโตเต็มวัยจะมีน้าหนักตัวประมาณ ๓๐๐กิโลกรัม
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 พะยูนอยู่ร่วมกันเป็นครอบครัว หลายครอบครัวจะหากินเป็นฝูงใหญ่ ออกลูกครั้งละ๑ตัว ใช้เวลาตั้งท้องนาน ๑๓ เดือน
และจะโตเต็มที่เมื่อมีอายุ๙ปี
ที่อยู่อาศัย
 ชอบอาศัยหากินพืชจาพวกหญ้าทะเลตามพื้นท้องทะเลชายฝั่งทั้งในเวลากลางวันและกลางคืน
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 พะยูนมีเขตแพร่กระจายตั้งแต่บริเวณชายฝั่งตะวันออกของทวีปอาฟริกาทะเลแดงตลอดแนวชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียไป
จนถึงประเทศฟิลิปปินส์ไต้หวันและตอนเหนือของออสเตรเลียในประเทศไทยพบไม่บ่อยนักทั้งในบริเวณอ่าวไทยแถบ
จังหวัดระยอง และชายฝั่งทะเลอันดามันแถบจังหวัดภูเก็ตพังงากระบี่ ตรัง สตูล
สถานภาพ
 ปัจจุบันพบพะยูนน้อยมาก พยูนที่ยังเหลืออยู่จะเป็นกลุ่มเล็กหรืออยู่โดดเดี่ยวบางครั้งอาจจะเข้ามาจากน่านน้าของประเทศ
ใกล้เคียงพะยูนจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทย และจัดโดยอนุสัญญาCITES ไว้ใน
Appendix I
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 เนื่องจากพะยูนถูกล่าเพื่อเป็นอาหาร ติดเครื่องประมงตายและเอาน้ามันเพื่อเอาเป็นเชื้อเพลิง ประกอบกับพะยูนแพร่พันธุ์ได้ช้ามาก
นอกจากนี้มลพิษที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมตามชายฝั่งทะเลได้ทาลายแหล่งหญ้าทะเล ที่เป็นอาหารของพยูนเป็น
จานวนมากจึงน่าเป็นห่วงว่าพะยูนจะสูญสิ้นไปจากประเทศในอนาคตอันใกล้นี้
 HOMEBACK
เลียงผา,เยือง,กูรา,โครา
Capricornis sumatraensis
NEXT
BACK  HOME
ลักษณะ
 เลียงผาเป็นสัตว์จาพวกเดียวกับ แพะและแกะเมื่อโตเต็มที่มีความสูงที่ไหล่ประมาณ ๑ เมตร ขายาวและแข็งแรง ใบหูยาวคล้าย
ใบหูลาขนตามลาตัวค่อนข้างยาว หยาบและมีสีดา ด้านท้องขนสีจางกว่ามีขนเป็นแผงยาวบนสันคอและสันหลังมีเขาทั้งในตัวผู้
และตัวเมีย เขามีลักษณะตอนโคนกลมหยักเป็นวงแหวนโดยรอบค่อยๆเรียวไปทางปลายเขาโค้งไปทางด้านหลังเล็กน้อย
 NEXTBACK  HOME
อุปนิสัย
 ในเวลากลางวันจะพักอาศัยอยู่ในถ้าหรือในพุ่มไม้ออกหากินในตอนเย็นถึงพลบค่าและในเวลาเช้ามืดอาหารได้แก่พืช
ต่างๆ ทุกชนิด เลียงผามีประสาทหู ตาและรับกลิ่นได้ดี ผสมพันธุ์ในช่วงปลายเดือนตุลาคม ตกลูกครั้งละ๑-๒ ตัวใช้เวลาตั้ง
ท้องราว ๗ เดือน ในที่เลี้ยง เลียงผามีอายุยาวกว่า ๑๐ปี
ที่อยู่อาศัย
 เลียงผาอาศัยอยู่ตามภูเขาที่มีหน้าผาสูงชันมีป่าปกคลุม
 NEXTBACK  HOME
เขตแพร่กระจาย
 เลียงผามีเขตแพร่กระจาย ตั้งแต่แคว้นแคชเมียร์มาตามเทือกเขาหิมาลัยจนถึงแคว้นอัสสัม จีนตอนใต้พม่า อินโดจีน มลายู
และสุมาตราในประเทศไทยพบอาศัยอยู่ตามภูเขาสูงในหลายภูมิภาคของประเทศเช่น เทือกเขาตะนาวศรีเทือกเขาถนนธงชัย
เทือกเขาเพชรบูรณ์ และภูเขาทั่วไปในบริเวณภาคใต้รวมทั้งบนเกาะในทะเลที่อยู่ไม่ห่างจากแผ่นดินใหญ่มากนัก
สถานภาพ
 เลียงผาจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน ๑๕ ชนิดของประเทศไทยและอนุสัญญาCITES จัดเรียงผาไว้ใน
Appendix I
สาเหตุของการใกล้จะสูญพันธุ์
 ในระยะหลังเลียงผามีจานวนลดลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากการล่าอย่างหนักเพื่อเอาเขา กระดูก และน้ามันมาใช้ทายาสมาน
กระดูกและพื้นที่หากินของเลียงผาลดลงอย่างรวดเร็วจากการทาการเกษตรตามลาดเขาและบนพื้นที่ที่ไม่ชันจนเกินไป
 HOMEBACK
แหล่งอ้างอิง
http://th.wikipedia.org/wiki/
http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=95600001
57690
http://www.fca16mr.com/webblog/blog.php?id=118
http://www.verdantplanet.org/preserve/preserv.php
ผู้จัดทา
นางสาววรรรณรัตน์ เกษมศรี
เลขที่ 42
นางสาว ศิริญาณี ลิ้มทองเจริญ
เลขที่ 25

More Related Content

What's hot

นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)boyunsree
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนPiangtawan Tianloek
 
นกกระจอกเทศมีกี่ชนิด
นกกระจอกเทศมีกี่ชนิดนกกระจอกเทศมีกี่ชนิด
นกกระจอกเทศมีกี่ชนิดวิชิต กองคำ
 
หมวดสัตว์
หมวดสัตว์หมวดสัตว์
หมวดสัตว์Itnog Kamix
 
สุนัขพันธุ์หายาก
สุนัขพันธุ์หายากสุนัขพันธุ์หายาก
สุนัขพันธุ์หายากsomporn porn
 
สัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยสัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยSupaatikanSupakritta
 
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างคัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างUNDP
 
ปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่า
ปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่าปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่า
ปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่าPorna Saow
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 

What's hot (11)

นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
นวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการเรียนรู้สู่วิถีใหม่ (New Normal)
 
Chaingmai zoo
Chaingmai zooChaingmai zoo
Chaingmai zoo
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
นกกระจอกเทศมีกี่ชนิด
นกกระจอกเทศมีกี่ชนิดนกกระจอกเทศมีกี่ชนิด
นกกระจอกเทศมีกี่ชนิด
 
หมวดสัตว์
หมวดสัตว์หมวดสัตว์
หมวดสัตว์
 
สุนัขพันธุ์หายาก
สุนัขพันธุ์หายากสุนัขพันธุ์หายาก
สุนัขพันธุ์หายาก
 
สัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทยสัตว์สงวนในประเทศไทย
สัตว์สงวนในประเทศไทย
 
6502
65026502
6502
 
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่างคัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
คัดย่อการใช้ประโยชน์พรรณพืชของชาวกะหร่าง
 
ปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่า
ปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่าปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่า
ปลาตะพัดหรือปลาอโรวาน่า
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 

More from Wannarat Kasemsri

More from Wannarat Kasemsri (20)

โครงงานสิ่งประดิษฐ์1
โครงงานสิ่งประดิษฐ์1โครงงานสิ่งประดิษฐ์1
โครงงานสิ่งประดิษฐ์1
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
โครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวนโครงงานสัตว์สงวน
โครงงานสัตว์สงวน
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ฉ อังกฤษ
ฉ อังกฤษฉ อังกฤษ
ฉ อังกฤษ
 
อังกฤษ
อังกฤษอังกฤษ
อังกฤษ
 
สุขะ
สุขะสุขะ
สุขะ
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ฉ สุขะ
ฉ สุขะฉ สุขะ
ฉ สุขะ
 
ฉ สังคม
ฉ สังคมฉ สังคม
ฉ สังคม
 
ฉ วิทย์
ฉ วิทย์ฉ วิทย์
ฉ วิทย์
 
ฉ ไทย
ฉ ไทยฉ ไทย
ฉ ไทย
 
ฉ คณิต
ฉ คณิตฉ คณิต
ฉ คณิต
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
ฉ สังคม
ฉ สังคมฉ สังคม
ฉ สังคม
 
ฉ วิทย์
ฉ วิทย์ฉ วิทย์
ฉ วิทย์
 
ฉ ไทย
ฉ ไทยฉ ไทย
ฉ ไทย
 

งานนำเสนอลิ้งค์ สัตว์ (1)