SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
กฎหมายลักษณะครอบครัว 
family law 
อ.สุกิจ อยู่ในธรรม 
Sukit U-naidhamma 
11/11/14 1
เหตุผล 
ครอบครัวเป็นหนว่ยหนงึ่ของสังคม 
การก่อให้เกิดสถานะ ความสัมพันธ์ 
การนำาไปสู่ประโยชน์ขอสังคมส่วน 
รวม การออกกฎหมายเพื่อรับรอง 
คุ้มครองและให้เป็นไปตามสิทธิและ 
หน้าที่ที่พึงมตี่อกัน 
11/11/14 2
ประวัติความเป็นมา 
สมัยสโุขทัย 
สมัยอยุธยา 
สมัยรัตนโกสินทร์ 
อิทธิพลมาจาก 
ศาสนา จารีตประเพณี 
11/11/14 3
กรุงศรีอยุธยา 
พระเจ้าอู่ทอง 
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการผิดเมีย 
พ.ศ. ๑๙๐๔ 
พ.ร.บ.ว่าด้วยการแบ่งสินบริคนธ์ระหว่างผัวเมีย 
พ.ศ. ๑๙๐๔ 
11/11/14 4
กฎหมายลักษณะมูลคดีวิวาท 
กฎหมายลักษณะลักพา 
กฎหมายลักษณะผัวเมีย 
11/11/14 5
สมัยรัตนโกสินทร์ 
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก 
กฎหมายลักษณะผัวเมีย 
(กฎหมายตราสามดวง) 
11/11/14 6
ลักษณะกฎหมายผัวเมีย 
๑.กฎหมายอนุญาตให้สามมีภีรรยาได้หลายคน คือ ๑.เมยี 
กลางเมือง(เมียหลวง) ๒.เมียกลางนอก(อนุภรรยา) ๓.เมีย 
กลางทาษี 
๒.หญิงที่อายุยังไม่ครบยี่สิบปีบริบูรณ์ยังอยู่ในอิสระของบิดา 
มารดา จะเลือกคู่โดยตามใจตนเองโดยบิดามารดาไม่ 
ยินยอมไมไ่ด้ แต่ถ้าหญิงทำาการสมรสเมอื่อายุครบเกณฑ์ก็ 
บรรลุนิติภาวะ และอำานาจเหนือหญงิเปลี่ยนไปอยทู่สี่ามี 
๓.ชายหญงิทอี่่อนอายุจะทำาการสมรสไมไ่ด้ แต่ก็ไมมี่ 
กฎหมายใดกล่าวว่าชายและหญิงจะต้องมีอายุเท่าไรที่จะ 
ทำา11/กา11/14 รสมรสได้ พอเทยีบเคียงกฎหมายอื่นได้ว่าชายหญิง 
7 
จะต้องเป็นผู้รู้เดียงสาแล้ว โดยชายอายุเกิน ๗ ปี หญิงอายุ
๔.การสมรสกระทำาได้โดยการแสดงออกโดยพิธี 
แต่งงาน 
๕.ถ้าภริยามีชู้ชายมีสิทธิฟ้องเรียกเบี้ยปรับจากชายชู้ 
ได้ ๒ ครั้ง จะฟ้องเรียกครั้งที่ ๓ และครั้งต่อไปไม่ได้ 
นอกจากนี้สามียังมีสิทธิฟ้องเรียกเบี้ยปรับจากผู้รู้หรือ 
เป็นแม่สื่อแม่ชักได้ 
๖.สามีสละภริยาไปบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือ 
ภรรยาสละสามีไปบวชชีถือว่าขาดจาการสมรส 
๗.เมื่อภรรยาทำาผิด ให้สามีมีสทิธิตีโบยได้ตาม 
สมควรในฐานะปราบปราม แต่จะทำาร้ายร่างกาย 
รุนแรงเกินสมควรไม่ได้ 
11/11/14 8 
๘.สามีภรรยาเป็นบุคคลเดียวกันทางทรัพย์สินทาง
๙.เมื่อสามภีรรยาหย่ากัน ให้แบ่งสนิสมรสเป็น 
๓ ส่วน ชายได้ ๒ สว่น หญิงได้หนึ่งส่วน 
สำาหรับบตุรนั้น ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ว่าจะ 
ให้บตุรอยกูั่บฝ่ายใด ให้บตุรชายอยกูั่บมารดา 
บุตรหญิงอยู่กับบิดา เว้นแต่สามีมีศักดินา 
๔๐๐ ไร่ขึ้นไป ให้สามเีลือกบตุรได้ 
๑๐.บตุรหลานฟอ้งผู่ ย่า ตา ยาย อันเป็น 
บรรพบรุุษไมไ่ด้ กฎหมายห้ามถือว่าเปน็อุทลุม 
๑๑.ถ้าภรรยาหนีสามไีปอยกูั่บบิดามารดา พี่ 
น้อง หรือบุคคลอื่น หากสามีมาถามหาบคุคลนั้น 
อำา11/พ11/14 ราง ซุกซ่อน หรือเสือกไสไปด้วยประการ 
9
ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ เดิม 
บทบญัญัติแห่งบรรพ ๕ ไม่กระทบกระเทือนถึง 
๑.การสมรสซึ่งได้มีอยู่ก่อนวันใช้ประมวล 
กฎหมายนี้และความสัมพันธ์ในครอบครัวอัน 
เกิดแก่การสมรสนั้น ๆ ๒.การใช้อำานาจ 
ปกครอง ความปกครอง การอนุบาล การรับ 
บุตรบุญธรรม ซึ่งมีอยกู่่อนวันใช้ประมวล 
กฎหมายนี้และสทิธหิรือหนี้อันเกิดแต่การนั้น ๆ 
11/11/14 10
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 834/2485 คนใน 
บังคับเดนมาร์คแต่งงานกับหญิงไทย. ตาม 
กฎหมายไทยย่อมเป็นสามีภริยากันโดยถูกต้อง. 
มรดกซึ่งเป็นสังหาริมทรัพย์ต้องเป็นไปตาม 
ภูมิลำาเนาของเจ้ามรดก. ผู้จัดการมรดกมีฐานะ 
เป็นตัวแทนทายาททุกคน. จึงยกอายุความเสีย 
สิทธิมาใช้ยันแก่ทายาทมิได้. ทายาทเข้าครอบ 
ครองมรดกภายใน 1 ปแีต่วันเจ้ามรดก 
ตาย.และสงวนไว้เป็นของกลางร่วมกันโดยยัง 
ไม่ได้แบ่งปันกัน.ย่อมฟ้องขอแบ่งเมื่อพ้น 
กำาหนด 1 ปไีด้. 
11/11/14 11
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 272/2488 
(ประชุมใหญ่) ชายหญิงที่เป็นพี่น้องร่วมแต่ 
บิดาหรือร่วมแต่มารดาเดียวกันสมรสกันก่อน 
ใช้ประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ บรรพ 5 
ย่อมเปน็สามภีรรยากันได้ 
ปัญหาที่หญิงชายจะเป็นสามีภรรยากัน 
ได้ตามกฎหมายหรือไม่นั้นเป็นปัญหาอันเกี่ยว 
กับความสงบเรียบร้อยของประชาชนคู่ความ 
ยกขนึ้อ้างเมื่อสบืพยานเสร็จแล้วก็ได้ 
11/11/14 12
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 524/2506 ผู้ตาย 
มีภริยาชอบด้วยกฎหมายอยู่แล้วคนหนึ่งต่อมา 
ได้ภริยาน้อยที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายมาอยู่ร่วม 
ด้วยอีกคนหนึ่งดังนี้ ถือว่าภริยาน้อยเข้ามาอยู่ 
ในครอบครัวของผู้ตายในฐานะเป็นบริวาร 
หรือนางบำาเรอเท่านั้นจึงหามีสิทธิที่จะเข้ามามี 
ส่วนเป็นเจ้าของรวมในกองทรัพย์สินที่ได้ 
มาระหว่างผู้ตายกับภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย 
ไม่ 
การที่สามีเอาที่ดินอันเป็นสินบริคณห์ 
โอนยกให้แก่บุตรโดยเสน่หานั้นเป็นการให้ 
ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดี ภริยาจะขอ 
11/11/14 13
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1937/2526 
โจทก์ซึ่งเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมาย 
เกา่ และมิได้จดทะเบียนเป็นบตุรบญุธรรม 
ตามประมวลกฎหมายแพง่และพาณชิย์ 
บรรพ 5 ทไี่ด้ตรวจชำาระใหม่ มาตรา 
1598/27 ไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้รับ 
บตุรบญุธรรม ซึ่งถึงแก่กรรมหลังจากทใี่ช้ 
ประมวลกฎหมายแพง่และพาณชิย์ บรรพ 
5 ที่ได้ตรวจชำาระใหม่แล้ว 
11/11/14 14
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2501 สมรสกัน 
ก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 
ขณะจะขาดจากการสมรสใช้ ประมวลกฎหมายแพ่ง 
และพาณิชย์ บรรพ 5 แล้ว เหตุที่จะขาดจากการ 
สมรสต้องใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
บรรพ 5 บังคับ และการที่สามีภริยามาร้างกันระหว่าง 
ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สามี 
ขายทรัพย์สินสมรสไปแล้วซื้อทรัพย์อื่นมาแทนทรัพย์ 
นั้นก็ต้องเป็นสนิสมรส แต่ทรัพย์ที่สามีหาได้มาระ 
หว่างร้างกันไม่เป็นสนิสมรส 
ในชั้นฎีกา ผฎูี้กาต้องเสยีค่าขึ้นศาลตาม 
จำานวนทุนทรัพย์ที่เรียกร้องในชนั้ฎีกา ถ้าทรัพย์ที่ 
เรี11/ย11/ก14 ร้องมีหลายอย่างตีราคารวมกันมา แต่ผฎูี้กาฎีกา 
15 
เฉพาะทรัพย์บางอย่างการคำานวณค่าขึ้นศาลศาล
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2506 การที่สามี 
ไปก่อหนี้ขึ้นระหว่างอยู่กินเป็นสามีภรรยาและภรรยา 
จะต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกแค่ไหน 
เพียงใดนั้น ไม่ใช่เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสมัพันธ์ 
ในครอบครัวตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติให้ 
ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 
มาตรา 4 แต่เป็นปัญหาที่ภรรยาจะต้องรับผิดต่อ 
บุคคลภายนอกร่วมกับสามีต่างหาก จะเทียบกับเรื่อง 
แบ่งสนิสมรสก็ไม่ได้ เพราะนั่นเป็นเรื่องภายใน ไม่ได้ 
เกี่ยวข้องถึงความรับผิดต่อบุคคลภายนอก 
เป็นสามีภรรยากันตามกฎหมายเก่าสามี 
ไปก่อหนี้ขึ้นเมื่อใช้บรรพ 5 แล้วการที่ภรรยาจะต้อง 
รับ11/ผิ11/14 ดต่อเจ้าหนี้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเพียงใดนั้น 
16 
ต้องวินิจฉัยไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2508 โจทก์อุทธรณ์ยืด 
ยาวและวกวน และได้ใช้ถ้อยคำาในอุทธรณ์ว่า ในประเด็น 
อื่นๆที่ศาลชั้นต้นยังมิได้นำามาพิจารณาขอได้โปรดนำามา 
พิจารณาให้เป็นคุณแก่โจทก์ด้วย ถือว่าโจทก์ได้อุทธรณ์ 
คัดค้านคำาพิพากษาแล้ว แต่เมอื่ข้อเทจ็จริงหรือข้อกฎหมายที่ 
จะยกขึ้นอ้างอิงในอุทธรณ์นั้น โจทกม์ไิด้กล่าวไว้แจ้งชัดใน 
อุทธรณ์ อุทธรณ์ของโจทก์จงึเป็นอุทธรณ์ทไี่มส่มบูรณ์ตาม 
กฎหมาย 
เมื่ออุทธรณ์ของโจทกไ์มส่มบูรณ์ตามกฎหมาย แม้ 
ศาลจะฟังได้ตามข้ออุทธรณ์ของโจทก์ ศาลก็ไมอ่าจพิพากษา 
ใหเ้ป็นไปตามอุทธรณ์ของโจทก์ได้ เพราะเป็นการเกินคำาขอ 
จำาเลยใหก้ารว่า โจทก์จำาเลยแยกกันและได้หย่าร้างขาดจาก 
สามภีริยากนั ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์จำาเลยได้ทงิ้ร้างกนัเป็นการ 
วินิจฉัยตามประเด็น ไมเ่ป็นการนอกประเด็น 
11/11/14 17 
โจทก์จำาเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวล 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ความสัมพันธ์ใน
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3682/2525 
สามียกที่ดินให้แก่ภริยาขณะยังอยู่กินฉัน 
สามีภริยาอยู่ ทงั้ตามพฤตกิารณ์ไม่พอฟัง 
ว่าฝ่ายภริยาไม่ต้องการส่วนแบ่งสินสมรส 
อีก ดังนี้จะถือว่ามีการแบ่งสนิสมรสเสร็จ 
สนิ้แล้วหาได้ไม่ 
การแบ่งสินสมรสในกรณีชายมี 
ภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายหลายคนและ 
ตา่งมีสินเดิมด้วยกัน กฎหมายลักษณะผัว 
เมียมิได้มีบทบังคับว่าภริยาหลวงกับภริยา 
11/11/14 18 
น้อยมีสว่นในสนิสมรสตา่งกนัอย่างไร
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 754/2526 
โจทก์เป็นภริยาโดยชอบด้วยกฎหมาย 
ของ ล. กอ่นใชป้ระมวลกฎหมายแพง่และ 
พาณชิย์ บรรพ 5 แม้โจทกแ์ละ ล.แยก 
กันอยู่แตไ่ม่ปรากฏวา่ได้หย่าขาดจากกัน 
ทงั้โจทก์และ ล. ตา่งไม่มีสนิเดิมด้วยกนั 
ดังนนั้เมอื่ ล.ตายสนิสมรสตอ้งแบง่ออก 
เป็น 3 ส่วน โจทกไ์ด้ 1 สว่น ล. ได้ 2 
สว่น (อา้งคำาพพิากษาฎีกาที่ 
655/2495) 
11/11/14 19
คดีฟ้องหย่าระหว่างอำาแดงป้อมกับนายบุญศรี โดยอำาแดง 
ป้อมเป็นชู้กับนายราชาอรรถ แล้วมาฟ้องหย่ากับนายบุญศรี 
ช่างเหล็กหลวง นายบุญศรีไม่ยอมหย่า แต่พระเกษม 
ตีความในกฎหมายร่วมกับลูกขุนแล้วพิพากษาให้หย่า 
ขาดกนั นายบุญศรีร้องทกุข์กล่าวโทษพระเกษม และนาย 
ราชาอรรถต่อเจ้าพระยาศรีธรรมราช เจ้าพระยาศรีธรรม 
ราชนำาความกราบบังคมทลู ต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด 
ฟ้าจฬุาโลก ทรงตรัสว่า หญิงนอกใจชายแล้วมาฟ้องหย่า 
ชาย ลูกขุนให้หย่ากนันนั้หาเป็นยุติธรรมไม่ จึงมพีระ 
ราชโองการตรัสให้เจ้าพระยาพระคลังเอากฎหมายของศาล 
หลวงมาสอบกับฉบับหอหลวงข้างทไี่ด้ความว่า “ชายผิดมิได้ 
หญงิขอหย่าผัว ท่านว่าเป็นหญงิหย่าชายหย่าได้” ทรงเห็น 
ว่าเกดิความคาดเคลื่อนในตัวบทกฎหมาย จึงใหม้กีารชำาระ 
กฎหมายต่าง ๆ ที่มอียใู่นหอหลวงใหถู้กต้องตรงความ 
11/ยุ11/ติ14 ธรรม แล้วจัดใหเ้ป็นหมวดหมแูล้วใหอ้ารักษ์ชุบเส้น 
20 
หมกึสามฉบับ เก็บไว้ทีหอ้งเครื่อง หอหลวง และศาลหลวง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล 
กฎหมายลักษณะครอบครัว บรรพ ๕ 
พ.ศ.๒๔๗๘ มีผลใช้บังคับ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๘ 
กฎหมายลักษณะครอบครัว บรรพ ๕ 
พ.ศ.๒๕๑๙ มีผลใช้บังคับ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ 
11/11/14 21
มวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ใหม่ พ.ศ. 2519 
ยกเลิกบทบัญญัติต่าง ๆ เช่น 
๑. ยกเลิกการจำากัดอำานาจในการทำานิติกรรมของหญิงมี 
สามี โดยกำาหนดใหส้ามภีรรยามอีำานาจจัดการทรัพย์สิน 
อย่างเทา่เทียมกัน 
๒.บิดามารดามีอำานาจปกครองบุตรร่วมกัน 
๓.ทรัพย์สิระหว่างสามภีรรยา คือ สินส่วนตัว และสินสมรส 
จากเดิม คือ สินส่วนตัว สินเดิม สินสมรส 
11/11/14 22
ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๓ 
สาระสำาคัญ คือ 
1.การหมนั้ต้องมขีองหมนั้ถ้าไมม่ขีองหมนั้ไมส่มบูรณ์ ม. 
๑๔๓๗ 
๒.ถ้าคู่หมนั้ไมว่่าชายหรือหญงิตาย หญิงหรือฝ่ายหญงิไม่ 
ต้องคืนของหมั้น ม.๑๔๔๑ 
๓.สามหีรือภรรยามอีำานาจในการจัดการสินสมรสตามลำาพัง 
เว้นแต่การจัดการสินสมรสทสี่ำาคัญ การขาย แลกเปลี่ยน ให้ 
เช่าสินสมรสทเี่ป็นอสังหาริมทรัพย์ ม.๑๔๗๖ 
๔.11/กา11/ร14 จัดการสินสมรสต้องจัดการร่วมกัน หากฝ่ายใดกระทำา 
23 
โดยลำาพังฝ่ายเดียว หรืออีกฝ่ายหนึ่งไมใ่หค้วามยินยอม มี
๕.การสมรสซ้อนเป็นโมฆะ ผู้มสี่วน 
ได้เสียมีสิทธกิล่าวอ้างได้ ม.๑๔๙๗ 
แม้การสมรสจะทำาโดยสุจริตก็ไม่มี 
สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทของคู่ 
สมรส ม.๑๔๙๙ 
๖.เพิ่มเหตุฟ้องหย่า ม.๑๕๑๖ (๔/๑) 
(๔/๒) 
๗.11/11/ล14 ดอายุของผู้รับบุตรบุญธรรม 
24
กฎหมายครอบครัวปัจจุบัน 
๑.สามีภรรยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย 
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 152/2527 กฎหมายลักษณะผัวเมียและ 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ ไม่ได้บัญญัติว่า เมื่อสามีละทิ้งภริยา 
เพียงอย่างเดียวเป็นเหตุให้ขาดจากการสมรส ฉะนั้นเมื่อ พ. กับโจทก์ 
เป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ ต่อมา พ. 
ละทิ้งร้างโจทก์ไปหลายปีแล้วกลับมาอยู่กินฉันสามีภริยากันอีกหลังจาก 
ประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 โดยมิได้จด 
ทะเบียนสมรสกันก็ตาม ก็ต้องถือว่า พ. และโจทก์เป็นสามีภริยากันโดย 
ชอบด้วยกฎหมายในขณะที่ พ. ถึงแกก่รรมเมื่อพ.ศ.2514 
โจทก์ในฐานะทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกจากจำาเลยในฐานะผู้ 
จัดการมรดก โดยที่ผู้จัดการมรดกเป็นตัวแทนของทายาททงั้ปวง และ 
ถือว่าครอบครองทรัพย์มรดกแทนทายาท ทายาทไม่จำาต้องเข้าครอบ 
ครองทรัพย์มรดก จำาเลยจะยกอายุความ 1 ปีตาม ประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณชิย์ มาตรา 1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์ไม่ได้ 
11/11/14 25 
การแบ่งสินสมรสระหว่างสามีภริยาซึ่งสมรสกันก่อนประกาศใช้ 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ บรรพ 5 ต้องแบ่งตามกฎหมาย
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1351/2531ฟ้อง 
โจทก์กล่าวว่า สนิสมรสระหว่างนายห.และนา 
งก.มีจำานวนเท่าใด ตกเป็นมรดกของนางก. 2 
ใน 3 สว่นคดิเป็นเงนิเท่าใด ย่อมเป็นที่เข้าใจ 
ได้ชัดแจ้งว่า สว่นที่ตกเปน็สว่นแบง่ของนาย 
ห.เท่ากับ 1 ใน 3 ส่วน และสามารถคำานวณ 
ออกมาเป็นจำานวนเงนิได้โดยงา่ย ฟอ้งโจทก์ 
จึงไม่เคลือบคลุม สามีภรรยาก่อนใช้ประมวล 
กฎหมายแพง่และพาณิชย์ บรรพ 5การแบ่งสนิ 
สมรสต้องบังคับตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย 
บทที่68ซึ่งกำาหนดว่า ถ้าทั้งสองฝ่ายมีสนิเดิม 
11/11/14 26 
ให้แบง่สินสมรสเปน็ 3 สว่นชายได้ 2 สว่น
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 89/2534 
โจทก์จำาเลยเปน็พนี่้องกัน บดิามารดา 
โจทก์จำาเลยสมรสกันก่อนใช้ประมวล 
กฎหมายแพง่และพาณชิย์ บรรพ 5 แม้ 
บิดาโจทกจ์ำาเลยจะถึงแก่กรรม ขณะที่ 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ บรรพ 
5 พ.ศ. 2477ใช้บังคับการแบ่งทรัพย์สิน 
ระหว่างสามีภรรยาก็ต้องบังคับตาม 
กฎหมายลักษณะผัวเมีย บทที่ 68 คอืให้ 
คืนสินเดิมแก่แต่ละฝ่ายที่ดินพิพาทเป็น 
11/11/14 27 
ทรัพย์ที่มารดามีมาก่อนแต่งงานกับบิดาจึง
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 
991/2501 สมรสกันก่อนใช้ประมวล 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 
ขณะจะขาดจากการสมรสใช้ ประมวล 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 
แล้ว เหตุที่จะขาดจากการสมรสต้อง 
ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
บรรพ 5 บังคับ และการที่สามีภริยามา 
ร้างกนัระหว่างใช้ ประมวลกฎหมาย 
11/11/14 28 
แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สามขีาย
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6575/2537 จำาเลยฟ้อง 
แย้งขอให้โจทก์จำาเลยหย่าขาดจากกันโดยอ้างเหตุว่า 
โจทก์จงใจทิ้งร้างจำาเลยเกินกว่าหนึ่งปี โจทก์แถลงรับ 
ว่าโจทก์มีเจตนาทิ้งร้างจำาเลยตามฟ้องแย้งและศาล 
ชนั้ต้นได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณา ทนาย 
จำาเลยลงชื่อโดยไม่โต้แย้งคัดค้าน และต่อมาโจทก์ยื่น 
คำาแถลงรับข้อเท็จจริงนี้อีก แม้จะมิได้ส่งสำาเนาให้ 
จำาเลยมีโอกาสคัดค้านก็ตาม ข้อเท็จจริงเป็นอันรับ 
ฟังได้ตามฟ้องแย้งโดยคู่ความไม่ต้องนำาสืบข้อเท็จ 
จริงในประเด็นนี้อีก โจทก์จำาเลยอยู่กินเป็นสามีภริยา 
กันมาก่อนใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
บรรพ 5 เดิม แม้ต่อมาจดทะเบียนสมรสกันเมื่อปี 
2512ก็11/11/14 ไม่กระทบกระเทือนถึงการสมรสและความ 
29 
สัมพันธ์ในครอบครัวอันเกิดแต่การสมรสตาม
สินสมรสระหว่างโจทก์จำาเลยจึงต้องใช้กฎหมาย 
ลักษณะผัวเมียบังคับ จำาเลยได้ที่ดินมาเมื่อปี 2511 
ก่อนโจทก์จำาเลยจดทะเบียนสมรสกันและเป็นเวลาที่ 
พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2477 ใช้ 
บังคับ โดยบุตรสาวจำาเลยยกให้โดยเสน่หาแต่มิได้ 
ระบุว่ายกให้เป็นสินส่วนตัวตามประมวลกฎหมายแพ่ง 
และพาณิชย์มาตรา 1464(3) ที่ดินจึงเป็นสนิสมรส 
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1466 
ซึ่งใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น แม้ต่อมาจะมีพระราช 
บัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวล 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ. 
11/2519 11/14 ใช้บังคับ ก็จะนำาบทบัญญัติตามประมวล 
30 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1471(3) ที่ได้
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2414/2538 
ห. กับ จ.เป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วย 
กฎหมายตามกฎหมายลักษณะผัวเมียโดย 
ต่างมีสินเดิมมาด้วยกันบุคคลทั้งสองได้ 
ทรัพย์พิพาทมาในระหว่างสมรสจึงเป็นสิน 
สมรสแม้ ห. ถงึแกค่วามตายใน 
ปี2532เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและ 
พาณิชย์บรรพ5ใหม่ประกาศใช้แล้วก็ตาม 
การแบ่งสินสมรสก็ต้องแบ่งตามกฎหมาย 
ลักษณะผัวเมียบทที่ 68 คือชายได้2ส่วน 
11/11/14 31 
หญิงได้1ส่วนจะแบ่งคนละส่วนเท่ากันตาม
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7254/2539 ตาม 
กฎหมายลักษณะผัวเมียอนุญาตให้ชายมีภริยาโดย 
ชอบด้วยกฎหมายได้หลายคนในเวลาเดียวกัน ทั้งได้ 
จัดลำาดับชั้นของภริยาตามวิธีการที่ชายได้หญิงนั้น 
มาเป็นภริยาออกเป็น 3 ประเภทด้วยกันได้แก่เมีย 
กลางเมือง เมียกลางนอกหรืออนุภรรยา และเมีย 
กลางทาษีหรือทาษภรรยา สำาหรับเมียกลางเมอืงนั้น 
หมายถึง หญิงอันบิดามารดากุมมือยกให้เป็นภริยา 
ของชายซึ่งถือเป็นภริยาหลวงสว่นภริยาอีก 2 
ประเภท ก็มีฐานะลดหลั่นกันลงมาตามวิธีการที่ชาย 
ได้หญิงนั้นมาเป็นภริยาหรือตามลักษณะที่ชายเลี้ยงดู 
เชิดชูหญิงว่าเป็นภริยา แต่ไม่ว่าจะเป็นภริยาใน 
ลำา11/11/ดั14 บชนั้ใดก็ตาม ต่างก็ถือว่าเป็นภริยาโดยชอบด้ว32 
ย 
กฎหมายด้วยกันทั้งสนิ้ดังนั้น แม้ข้อเท็จจริงจะไม่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เดิม มผีลบังคับ 
ใช้และมบีุตรด้วยกันถึง 6 คน และตามพระราชบัญญัติให้ 
ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ 
พาณิชย์ ทไี่ด้ตรวจชำาระใหมพ่.ศ. 2519 มาตรา 5 บัญญัติ 
ว่า บทบัญญตัิบรรพ 5 แหง่ประมวลกฎหมายแพ่งและ 
พาณิชย์ ทไี่ด้ตรวจชำาระใหม่ ท้ายพระราชบัญญตัินี้ ไม่ 
กระทบกระเทอืนถงึความสมบูรณ์ของการหมนั้ การสมรส 
ฯลฯทไี่ด้มอียแู่ล้วในวันใช้บังคับบทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทไี่ด้ตรวจชำาระใหม่ ทา้ย 
พระราชบัญญัตินี้เมอื่มขี้อเทจ็จริงทแี่สดงให้เหน็ว่าผู้ตาย 
กบัโจทก์อยู่กินเป็นสามภีริยากนัโดยเปิดเผย เป็นทรีู่้กัน 
ทวั่ไปและมิได้ทงิ้ร้างกันแต่อย่างใด ผู้ตายกับโจทก์จึงยังเป็น 
สามีภริยากันเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายอยู่ 
ตลอดมา ส่วนจำาเลยนนั้เพงิ่อยู่กินกับผู้ตาย เมอื่ปี 2491 ซึ่ง 
11/เป็11/น14 เวลาภายหลังจากทปี่ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช33 
ย์ 
บรรพ 5 เดิม ใช้บังคับแล้วแมจ้ำาเลยกับผู้ตายจะมบีุตรด้วย
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3181/2540 โจทก์กับ 
ป. อยู่กินฉันสามีภริยามาก่อนประมวลกฎหมายแพ่ง 
และพาณิชย์ บรรพ 5 พ.ศ.2477 ใช้บังคับจึงเป็น 
สามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมาย 
ลักษณะผัวเมียที่ดินพิพาทโจทก์กับ ป. ได้มาเมื่อปี 
2491 เป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับ ป. การจัดการ 
สนิสมรสดังกล่าวต้องบังคับตามบทบัญญัติบรรพ 5 
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
พ.ศ.2477มาตรา 1468,1473 และมาตรา 1462 
อันเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับขณะที่ได้ที่ดินพิพาทมา 
ที่ดินพิพาทจึงเป็นสินบริคณห์ เมื่อไม่ปรากฏว่ามี 
สญัญาก่อนสมรสกำาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ป. ย่อมมี 
อำา11/นา11/14 จจัดการสินบริคณห์เองได้ แม้ประมวลกฎหมา34 
ย 
แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชำาระใหม่พ.ศ.
โดยปราศจากความยินยอมตามวรรคหนึ่งคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่ง 
อาจขอให้ศาลเพิกถอนนิติกรรมนั้นได้ก็ตามแต่การใช้ 
บทบัญญัติในบรรพ 5 ทไี่ด้ตรวจชำาระใหมต่้องอยภู่ายใต้ 
บทบัญญัติในมาตรา 7 ของ พระราชบัญญัติใหใ้ช้ 
บทบัญญัติ บรรพ 5แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ 
ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ. 2519ป. สามโีจทก์ จึงยังคงมี 
อำานาจจัดการสินบริคณห์รายนไี้ด้ต่อไปตามทมี่าตรา 7 ของ 
พระราชบัญญตัิใหใ้ช้บทบัญญตัิบรรพ 5 แห่งประมวล 
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ. 2519 
บัญญัติไว้ และอำานาจจัดการนนั้ มาตรา 1477 ทไี่ด้ตรวจ 
ชำาระใหมบั่ญญัติไว้ว่า ใหร้วมถงึอำานาจจำาหน่ายด้วย ป. 
สามีโจทก์มีอำานาจจำาหน่ายที่ดินพิพาทได้โดยไม่ต้องได้รับ 
ความยินยอมจากโจทก์ก่อน การซื้อขายทดีิ่นพิพาทระหว่าง 
ป. กบัจำาเลยจึงเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย โจทก์จงึไมมี่ 
11/สิท11/ธิ14 ทจี่ะมาฟ้องขอเพิกถอน การสมรสระหว่างโจทก์กบั ป35 
. 
ชอบด้วยกฎหมายลักษณะผัวเมยีแล้ว แมต้่อมาโจทก์กับ ป.
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 8227/2540 ช. กับ 
โจทก์ที่ 1 เป็นสามภีริยาก่อนใช้ประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 พ.ศ. 2477 ช.ถึงแก่ 
กรรมเมื่อวันที่ 13 เมษายน 2535 ศาลมีคำาสั่งตั้ง 
โจทก์ที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกของ ช.ระหว่างที่ช.มี 
ชีวิตอยู่ ช.ได้ทำาสญัญาจะซื้อที่ดินพร้อมทาวน์เฮาส์ 
จากจำาเลยที่ 1 หลังจากนนั้ ช.ยกที่ดินพร้อมทาวน์ 
เฮาส์เลขที่ 10/141 ให้จำาเลยที่ 2 และมกีารเปลี่ยน 
คสูั่ญญาจะซื้อจะขายที่ดินพร้อมทาวน์เฮาส์ เมื่อไม่ 
ปรากฏว่าในระหว่างสมรสโจทก์ที่ 1 และ ช. ได้หย่า 
ขาดจากกันประกอบกับที่ดินมรดกนนั้ ช. ได้รับมาก็ 
ไม่ปรากฏว่าเป็นทรัพย์สนิประเภทใด กรณีจึงเป็นที่ 
สง11/ส11/ยั 14 ต้องสันนิษฐานว่า ที่ดินมรดกดังกล่าวเป็นสนิ 
36 
สมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ที่ได้ตรวจ 
ชำาระใหม่ พ.ศ. 2519 ใช้บังคับแล้ว จึงต้องนำา 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ 
ตรวจชำาระใหม่พ.ศ. 2519 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้อยู่ 
ขณะนั้นมาใช้บังคับจะนำากฎหมายลักษณะผัวเมียมา 
ใช้บังคับหาได้ไม่ เงินที่ช. ได้จากการขายที่ดินมรดก 
จึงเป็นสินสมรส การที่ ช. นำาเงินดอกเบยี้ซึ่งเป็นดอก 
ผลของสินสมรสไปซื้อที่ดินพร้อมทาวน์เฮาส์ที่พิพาท 
ทรัพย์สินดังกล่าวจึงเป็นสนิสมรสของโจทก์ที่ 1 กับ 
ช. ซึ่งในการจัดการสินสมรสดังกล่าวต้องได้รับความ 
ยินยอมจากคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งตามประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1480 การที่ ช.ยกที่ดิน 
พ11/ร้11/อ14 มทาวน์เฮาส์ที่พิพาทให้แก่จำาเลยที่ 2 โดยไม่ได้ 
37 
รับความยินยอมจากโจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นคสู่มรส โจทก์ที่
สามีภรรยาตาม บรรพ ๕ เก่า คือสามีภรรยาที่สมรสกันตั้งแต่วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๔๗๘ 
ถึงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ 
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2523 บิดาจำาเลย 
ยกที่พิพาทให้โจทก์จำาเลยใช้เป็นที่อยู่อาศัยและทำา 
กินเมื่อแต่งงานกันก่อนจดทะเบียนสมรส ก่อนใช้ 
บรรพ 5 ที่แก้ไขใหม่ ที่พิพาทจึงตกเป็นของโจทก์ 
จำาเลยคนละครึ่งครั้นโจทก์จำาเลยจดทะเบียนสมรสก็ 
กลายเป็นสินเดิมของแต่ละฝ่ายและเป็นสินส่วนตัว 
ตามพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5แห่ง 
11/ป11/ระ14 มวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำาระ 
38 
ใหม่ พ.ศ.2519
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 154/2524 บ้าน 
พิพาทผู้ร้องเอาเงินที่ได้จากการขายบ้านและ 
ที่ดินซึ่งเป็นสนิเดิมของผู้ร้องซื้อมา บา้นพิพาท 
จึงเป็นสินเดิมของผู้ร้องตามประมวลกฎหมาย 
แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1465(เดิม)ที่ใช้ 
บงัคบัอยใู่นขณะนั้น ซงึ่ตามพระราชบญัญัติ 
ให้ใช้บรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ 
พาณิชย์ที่ได้ตรวจชำาระใหม่พ.ศ.2519 
มาตรา 7 ได้บญัญัติให้สนิเดิมดังกล่าวเป็นสนิ 
ส่วนตัว บ้านพิพาทจึงเปน็สินสว่นตัวของผู้ร้อง 
ผู้ร้องและจำาเลยที่ 2 ได้หย่าและตกลงกัน 
เรื่องทรัพย์สินตามเอกสารหมาย ร.2ว่า 
11/11/14 39
โดยเฉพาะบ้านพิพาทเป็นอสังหาริมทรัพย์และเป็นสิน 
เดิมของผู้ร้อง แต่การยกให้มิได้ทำาเป็นหนังสอืและจด 
ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ การยกให้ไม่มีผล 
สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
มาตรา 525บ้านพิพาทยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของผรู้้อง 
โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนขี้องจำาเลยที่ 2 ตามคำาพิพากษา 
จึงไม่มีสทิธินำายึด 
ประเด็นมีว่าบ้านพิพาทเป็นของผู้ร้องหรือไม่ 
ปัญหาหรือข้อเท็จจริงที่ว่า การที่ผู้ร้องยกบ้านพิพาท 
ให้บุตรเป็นการสมบูรณ์หรือไม่จึงเป็นปัญหาหรือข้อ 
เท็จจริงที่รวมอยู่ในประเด็นดังกล่าว เพราะหากฟัง 
ว่าการยกให้มีผลสมบูรณ์บ้านพิพาทก็ไม่ใช่ทรัพย์สิน 
ข11/อ11/งผู้14 ร้อง แต่ถ้าการยกให้ไม่สมบูรณ์ บ้านพิพาทก็40 
ยัง 
คงเป็นของผู้ร้อง13
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 181/2523 พระ 
ราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ตรวจชำาระ 
ใหม่ พ.ศ. 2519 มาตรา 7 บญัญตัิว่า 
บทบญัญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง 
และพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำาระใหม่ ไม่กระทบ 
กระเทือนถึงอำานาจการจัดการสินบริคณห์ที่คู่ 
สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่แล้วในวันใช้บังคับ 
บทบญัญัติบรรพ 5 ใหม่นี้ เมื่อคดีได้ความว่า 
โจทก์ได้ที่พิพาทมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 โจทก์ 
ซึ่งเป็นสามีมีอำานาจจัดการรวมทั้งมีสิทธิฟ้องคดี 
เพื่11/11/อ14 ประโยชน์แก่ที่พิพาทซึ่งเป็นสินบริคณห์นั้41 
น
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2116/2523 
โจทก์ฟ้องเรียกมรดกจากจำาเลยทั้งสองซึ่งเป็น 
สามีภริยากันเมื่อทรัพย์มรดกที่ตกได้แก่จำาเลย 
ที่ 2 ก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชำาระใหม่จึงเปน็สินสมรส 
จำาเลยที่ 1 ซึ่งเปน็สามีย่อมมอีำานาจจัดการและ 
ฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์มรดกซึ่งเป็นสินบริคณห์ 
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 
5(เดิม) แม้ภายหลังมีพระราชบัญญัติให้ใช้ 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5ซึ่ง 
ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ.2519 แล้ว จำาเลยที่ 
1ยั11/11/14 งคงมีอำานาจจัดการทรัพย์พิพาทต่อไปตาม 
42
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2375/2532 จำำเลยกับ 
ล. อยู่กินด้วยกันเมื่อปี 2507 แล้วจึงได้จดทะเบียน 
กำรสมรสเมอื่วันที่ 29 มกรำคม 2519 ล. ซื้อ ที่ 
พิพำทเมื่อวันที่ 8 กันยำยน 2518 แล้วจึงออกโฉนด 
ที่ดินเมื่อวันที่19 มกรำคม 2522 โดย มีชอื่ ล. เป็นผู้ 
ถือกรรมสิทธิ์ ดังนี้ที่พิพำทจึงเป็นทรัพย์สินที่ได้ มำ 
ก่อนที่จำำเลยกับ ล. จดทะเบียนกำรสมรสกัน หำใช่ 
เป็นทรัพย์สนิที่จำำเลยกับ ล. ได้ มำระหว่ำงสมรสอัน 
จะทำำให้เป็นสินสมรสตำม ที่ ป.พ.พ. มำตรำ 1466 
เดิม บัญญัติไว้ไม่ ที่พิพำทเป็นทรัพย์สนิที่จำำเลยกับ 
ล. ทำำมำหำได้ ร่วมกันก่อนจดทะเบียนกำรสมรสกัน 
จำำเลยกับ ล. จึงเป็นเจ้ำของที่พิพำทร่วมกันคนละส่วน 
เมื่11/อ11/ได้ 14 จดทะเบียนกำรสมรสที่พิพำทย่อมเป็นสินเดิ43 
ม 
ของแต่ละฝ่ำย อันเป็นสนิบริคณห์ ตำม ป.พ.พ.
ใหม่พ.ศ. 2519 มำตรำ 7 ให้ถือว่ำสินเดิมของแต่ละฝ่ำยดัง 
กล่ำวเป็นสินส่วนตัวของแต่ละฝ่ำยนนั้ตำม บทบัญญัติบรรพ 
5 แห่ง ป.พ.พ. ทไี่ด้ตรวจ ชำำระใหม่ จำำเลยกบั ล. ไมไ่ด้ทำำ 
สัญญำก่อนสมรสเป็นอย่ำงอื่น ล. ซงึ่ เป็นสำมจีึงเป็นผู้ 
จัดกำรทพีิ่พำทอันเป็นสนิบริคณหต์ำม ป.พ.พ.มำตรำ 1468 
เดิม และตำม พ.ร.บ. ใหใ้ช้ บทบัญญตัิบรรพ 5 แหง่ป.พ.พ. 
ที่ได้ตรวจ ชำำระใหม่ มำตรำ 7 ฉะนนั้กำรที่ ล.จดทะเบียน 
ขำยฝำกทพีิ่พำทให้แก่ผู้คัดค้ำนเมอื่วันที่ 22 มถินุำยน2524 
ในขณะทจี่ำำเลยกับ ล. ยังเป็นสำมภีรรยำกนัอยู่ จึงถือได้ว่ำ 
จำำเลยยินยอมให้ ล. ขำยฝำกที่พิพำทอันเป็นสินสว่นตัวของ 
จำำเลยกึ่งหนึ่งด้วย เมอื่ผู้คัดค้ำนยอมรับว่ำจำำเลยขำยฝำกที่ 
พิพำทเฉพำะ ส่วนของจำำเลยให้แก่ผู้คัดค้ำนซงึ่ เป็นเจ้ำหนี้ 
คนหนึ่งได้เปรียบแกเ่จ้ำหนอีื้่น ศำลมอีำำนำจที่จะสงั่เพิกถอน 
กำรโอนทพีิ่พำทเฉพำะ ส่วนของจำำเลยได้ ตำม พ.ร.บ. ล้ม 
ละ11/11/ลำ14 ยพ.ศ. 2483 มำตรำ 115 กำรเพิกถอนกำรโอนตำ44 
ม 
พ.ร.บ. ล้มละลำย พ.ศ. 2483มำตรำ 115 เป็นไปโดย ผล
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 4477/2542 กำร 
พิจำรณำว่ำทรัพย์สินที่ได้มำในระหว่ำงสำมี 
ภริยำเป็นประเภทใดต้องพิจำรณำตำมบท 
กฎหมำยที่ใช้ในขณะที่ได้มำ จำำเลยได้รับที่ดิน 
พิพำทโดยทำงพินัยกรรมในระหว่ำงสมรสและ 
ไม่มีกำรระบุว่ำให้เป็นสินสมรหรือสินส่วนตัว 
เมื่อปีพ.ศ 2509 ในขณะที่ใช้ประมวล 
กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ บรรพ 5 เดิม ที่ดิน 
พิพำทจึงเป็นสินสมรสระหว่ำงโจทก์กับจำำเลย 
ตำมบรรพ 5 เดิม มำตรำ 1466 วรรคหนึ่ง แม้ 
ต่อมำจะได้มีกำรแบ่งแยกที่ดินและออกโฉนด 
11/11/14 45 
ใหม่เมื่อประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
๓.สำมีภรรยำตำมบรรพ ๕ ใหม่ 
สำมภีรรยำสมรสกันตั้งแต่ ๑๖ ตุลำคม ๒๕๑๙ ถึงวันที่ 
๒๖ กันยำยน ๒๕๓๓ 
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 730/2539 กฎหมำยมิได้ 
บัญญัติว่ำถ้ำสำมีฟ้องคดีจะต้องได้รับควำมยินยอมจำกภริยำ 
เสียก่อนทุกกรณีคู่สมรสฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดฟ้องคดีต้องได้รับ 
ควำมยินยอมจำกอีกฝ่ำยหนึ่งก็เฉพำะกำรฟ้องคดีเกี่ยวกับสิน 
สมรสซึ่งเป็นทรัพย์สินที่ทั้งสองฝ่ำยต้องจัดกำรร่วมกันตำมที่ 
บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ 
มำตรำ1476สำำหรับคดีนี้ปรำกฎว่ำจำำเลยให้กำรแต่เพียงว่ำ 
โจทก์ฟ้องคดีโดยไม่ได้รับควำมยินยอมจำกภริยำโดยไม่ได้ 
ให้11/11/กำ14 รต่อสู้ว่ำโจทก์ฟ้องคดีนี้เป็นกำรฟ้องเกี่ยวกับสินสมรส46 
ที่ 
โจทก์กับภริยำต้องจัดกำรร่วมกันตำมที่บัญญัติไว้ในมำตรำ
ได้โดยไมต่้องได้รับควำมยินยอมจำกภริยำเสยีก่อน โจทก์ 
และจำำเลยทำำสัญญำจะซื้อจะขำยที่พิพำทเมื่อวัน 
ที่8ธันวำคม2532จึงต้องบังคับตำมประมวลกฎหมำยแพ่ง 
และพำณิชย์มำตรำ1480ก่อนแก้ไขในปี2533ซึ่งบัญญัติ 
ว่ำ"ในกำรจัดกำรสินสมรสถ้ำคู่สมรสฝ่ำยหนึ่งได้ทำำนิติกรรม 
ไปโดยปรำศจำกควำมยินยอมของอีกฝ่ำยหนึ่งนิติกรรมนั้น 
จะสมบูรณ์ต่อเมื่ออีกฝ่ำยหนึ่งได้ให้สัตยำบัน"ดังนั้นหำกที่ 
พิพำทเป็นสินสมรสระหว่ำงจำำเลยกบั ป. และป. มไิด้ให้ 
ควำมยินยอมในกำรทำำสัญญำจะซื้อจะชำยนิติกรรมดังกล่ำว 
ย่อมไม่สมบูรณ์โจทก์จะฟ้องบังคับให้จำำเลยโอนที่ดินให้ 
โจทก์ตำมสัญญำมิได้คดีจึงต้องฟังข้อเท็จจริงให้ได้ควำม 
แน่ชัดเสียก่อนว่ำที่พิพำทเป็นสินสมรสระหว่ำงจำำเลยกับ 
ป.หรือไม่ถ้ำเป็นสินสมรสแล้วป.ได้ให้ควำมยินยอมด้วยหรือ 
ไม่ที่ศำลชั้นต้นมีคำำสั่งงดชี้สองสถำนและงดสืบพยำนโจทก์ 
จำำ11/เล11/14 ยแล้วพิพำกษำให้จำำเลยไปจดทะเบียนโอนขำยที่พิพำ47 
ท 
ให้แก่โจทก์ตำมสัญญำย่อมเป็นกำรวินิจฉัยคดีโดยยังมิได้ฟัง
๔.สำมภีรรยำตำมบรรพ ๕ 
ปัจจุบัน สำมภีรรยำทสี่มรส 
ตงั้แต่ ๒๗ กันยำยน ๒๕๓๓ 
จนปัจจุบัน 
11/11/14 48
ข้อจำำกัดกฎหมำยครอบครัว 
กำรบังคับใช้ 4 จังหวัดภำคใต้ 
นรำธิวำส 
ปัตตำนี 
สตูล 
ยะลำ 
ใช้กฎหมำยอิสลำม ตำม พ.ร.บ. กำรใช้กฎหมำยอิสลำมใน 
เขตจังหวัดปัตตำนี นรำธิวำส ยะลำ และสตูล พ.ศ. ๒๔๘๙ 
กำรพิจำรณำคดีใหด้ะโต๊ะยุติธรรม ๑ นำยนั่งพิจำรณำ 
พร้อมด้วยผู้พิพำกษำ 
11/11/14 49
กำรหมั้น 
ควำมหมำย 
กำรหมั้น คือ กำรที่ชำยหญิงทำำสัญญำว่ำจะ 
สมรสกันและอยกูิ่นด้วยกันฉันสำมภีรรยำ 
11/11/14 50
กำรหมั้นเป็นสญัญำหรือไม่ ? 
ศ.สอำด นำวีเจริญ กำรหมั้นถือว่ำเปน็สญัญำ 
หรือควำมตกลงที่จะสมรสกัน 
ศ.หยุด แสงอุทยั เหน็ว่ำ กำรหมนั้คือสัญญำระหว่ำงชำยทำำ 
กับหญิงโดยชอบด้วยกฎหมำย เพื่อชำยกับหญงิจะทำำกำร 
สมรสกัน 
ศ.จิตติ ติงศภทัยิ์ เหน็ว่ำ กำรหมนั้ไมใ่ช่สัญญำในลักษณะ 
หนี้ทวี่่ำหนเี้พรำะบังคับให้สมรสไมไ่ด้ เรียกเบี้ยปรับไมไ่ด้ 
กำรแสดงเจตนำในกำรหมั้นจึงไม่ใช่กำรแสดงเจตนำทำำ 
นิติกรรม 
11/11/14 51
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 763/2526 กำรหมั้นเป็น 
สัญญำซึ่งฝ่ำยชำยทำำกับฝ่ำยหญิงโดยชอบด้วย 
กฎหมำย เพื่อชำยกับหญิงจะทำำกำรสมรสกัน 
สินสอดเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ำยชำยให้แก่บิดำ 
มำรดำหรือผู้ปกครองฝ่ำยหญิงเพื่อตอบแทนกำรที่ 
หญิงยอมสมรส 
โจทก์และ ง. เป็นฝ่ำยชำยตกลงทำำสญัญำ 
หมั้นกับจำำเลยทั้งสำมฝ่ำยหญิงและมอบสินสอดให้ 
เพื่อให้ ง. กับจำำเลยที่ 3 ทำำกำรสมรสกัน เมื่อโจทก์ 
อ้ำงว่ำจำำเลยทั้งสำมฝ่ำยหญิงเป็นฝ่ำยผิดสัญญำหมั้น 
โจทก์ซึ่งเป็นคู่สัญญำย่อมมีอำำนำจฟ้องจำำเลยทั้งสำม 
ฐำนผิดสัญญำหมั้นและเรียกสนิสอดคืนได้ 
ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 
11/11/14 52 
1439 บัญญัติถึงผู้มีสิทธิเรียกร้องให้รับผิดชดใช้ค่ำ
เงื่อนไขกำรหมั้น 
๑.อำยุของคู่หมั้น 
๒.ควำมยินยอมของบิดำมำรดำหรือผู้ปกครอง 
11/11/14 53
๑.อำยุของคู่หมั้น 
มำตรำ ๑๔๓๕ บัญญตัิว่ำ กำรหมั้นจะกระทำำได้เมอื่ชำยและ 
หญิงมีอำยุครบสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว 
กำรหมนั้ทฝี่่ำฝืนบทบัญญัติวรรคหนึ่งเป็นโมฆะ 
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ ๓๑๓๓/๒๕๓๐ กำรทโี่จทก์ให้ 
เงินสดและสร้อยคอทองคำำแก่ฝ่ำยจำำเลยโดยฝ่ำยโจทก์ทรำบ 
ว่ำจำำเลยที่ 3 มอีำยุยังไมค่รบกำำหนดทจี่ะจดทะเบียนสมรสได้ 
แต่กย็อมให้โจทก์ที่ 3 และจำำเลยที่ 3 ทำำกำรสมรสกันตำม 
ประเพณีและอยกูิ่นด้วยกันฉัน สำมภีริยำโดยไมต่้องจด 
11/ทะ11/14 เบียนสมรสนนั้ เงินสดและสร้อยคอทองคำำดังกล่ำวจึง 
54 
ไมใ่ช่สินสอดตำมควำมหมำยของ ป.พ.พ.มำตรำ ๑๔๓๗
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1117/2535 โจทก์ 
ที่ 2 กับจำำเลยที่ 3 เพียงแต่ประกอบพิธีแต่งงำน 
เพื่ออยู่กินกันตำมประเพณีโดยไม่มีเจตนำจะจด 
ทะเบียนสมรสกันตำมกฎหมำยเงินทั้งหลำยที่ 
ฝ่ำยโจทก์มอบให้ฝ่ำยหญิง จึงไม่ใช่ของหมั้น 
และสินสอดตำมกฎหมำย แม้จะมีกำรหมั้นกัน 
ตำมประเพณีและมอบทรัพย์สินให้แก่กันใน 
ขณะจำำเลยที่ 3 อำยุยังไม่ครบ 17 ปีบริบรูณ์ 
โจทก์ก็หำมีสิทธิเรียกคืนไม่ 
11/11/14 55
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3072/2547 (ประชุม 
ใหญ่) ในขณะที่นำย อ. ทำำกำรหมั้นกับนำงสำว บ. 
นั้น นำงสำว บ. อำยุยังไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ โดย 
มีอำยุเพียง 15 ปีเศษ กำรหมั้นดังกล่ำวจึงฝ่ำฝืน 
บทบัญญัติ ป.พ.พ. มำตรำ 1435 วรรคหนึ่ง ย่อมตก 
เป็นโมฆะตำมมำตรำ 1435 วรรคสอง นอกจำกนี้ 
มำตรำ 172 วรรคสอง บัญญัติว่ำ ถ้ำจะต้องคืน 
ทรัพย์สินอันเกิดจำกโมฆะกรรม ให้นำำบทบัญญัติว่ำ 
ด้วยลำภมิควรได้มำใช้บังคับ เมื่อข้อเท็จจริงไม่ 
ปรำกฏว่ำโจทก์ทรำบว่ำนำงสำว บ. อำยุไม่ครบ 17 
ปี จำำเลยและนำงสำว บ. จึงต้องคืนของหมั้นและ 
สนิสอดให้แก่โจทก์ตำมมำตรำ 412 และ 413 โดย 
จะ11/ถื11/อ14 ว่ำโจทก์ชำำระหนี้ตำมอำำเภอใจตำมมำตรำ 407 
56 
หำได้ไม่ ดังนั้น กำรที่โจทก์จำำเลยซึ่งเป็นบิดำและ
ต้องได้รับควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำหรือผู้ปกครอง 
มำตรำ 1436 ผู้เยำว์จะทำำกำรหมนั้ได้ต้องได้รับควำม 
ยินยอมของบุคคล ดังต่อไปนี้ 
(1) บิดำและมำรดำ ในกรณีทมี่ทีงั้บิดำมำรดำ 
(2) บิดำหรือมำรดำในกรณีที่มำรดำหรือบิดำตำยหรือ 
ถูกถอนอำำนำจปกครอง หรือไมอ่ยู่ในสภำพหรือฐำนะทอี่ำจ 
ใหค้วำมยินยอม หรือโดย พฤติกำรณ์ผู้เยำว์ไมอ่ำจขอ 
ควำมยินยอมจำกมำรดำหรือบิดำได้ 
(3) ผู้รับบุตรบุญธรรม ในกรณีทผีู่้เยำว์เป็นบุตร 
บุญธรรม 
(4) ผู้ปกครอง ในกรณีที่ไมมี่บุคคลซึ่งอำจใหค้วำม 
ยินยอมตำม (1)(2) และ (3) หรือมแีต่บุคคลดังกล่ำวถูก 
11/11/14 57
แบบของสัญญำหมั้น 
มำตรำ 1437 กำรหมนั้จะสมบูรณ์เมอื่ฝ่ำยชำยได้ส่งมอบ 
หรือโอนทรัพย์ สินอันเป็นของหมนั้ใหแ้กห่ญิง เพื่อเป็นหลัก 
ฐำนว่ำจะสมรสกับหญิงนั้น 
เมื่อหมั้นแล้วให้ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิง 
สินสอด เป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ำยชำยให้แก่บิดำมำรดำ 
ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ปกครองฝ่ำยหญิง แล้วแต่กรณี 
เพื่อตอบแทนกำรที่หญิงยอมสมรส ถ้ำไมม่กีำรสมรสโดยมี 
เหตุสำำคัญอันเกดิแกห่ญิง หรือโดยมพีฤติกำรณ์ซึ่ง ฝ่ำย 
หญิงต้องรับผิดชอบ ทำำใหช้ำยไมส่มควรหรือไมอ่ำจสมรส 
กับหญงินั้น ฝ่ำยชำยเรียกสินสอดคืนได้ 
ถ้ำจะต้องคืนของหมั้นหรือสินสอดตำมหมวดนี้ให้นำำ 
11/11/14 58 
บทบัญญตัิ มำตรำ 412 ถึง มำตรำ 418 แหง่ประมวล 
กฎหมำยนี้ว่ำด้วยลำภมคิวรได้มำใช้ บังคับโยอนุโลม
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 676/2487 
เพยีงแตส่ญัญำจะทำำกำรสมรส แตไ่ม่มี 
ของหมั้น จะฟ้องเรียกคำ่ทดแทนฐำนผิด 
สัญญำไม่ได้ 
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1217/2496 ฝ่ำยชำย 
ได้ดำำเนินกำรสู่ขอฝ่ำยหญิงจนได้มีกำรเหยียบเรือน 
ตำมประเพณีท้องถิ่นแล้ว คือฝ่ำยชำยได้นำำหมำกพลู 
และผ้ำขำวไปเคำรพฝ่ำยหญิง และได้กำำหนดนัดวัน 
ทำำพิธีสมรสแล้ว เช่นนี้ย่อมถือได้ว่ำเป็นกำรตกลง 
โด11/11/ย14 สมบูรณ์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรหมั้น และกำร 
59 
ตกลงทำำกำรสมรสแล้วทุกประกำรเมื่อถึงวันกำำหนด
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 525/2509 กำร 
หมั้นและจะเรียกว่ำหมั้นก็ต่อเมื่อฝ่ำยชำยนำำ 
ของหมนั้ไปมอบให้ฝ่ำยหญิง อันเปน็เรื่องที่ 
เข้ำใจกันตำมธรรมดำและตำมประเพณีเมื่อมี 
กำรหมั้นแล้ว ถ้ำฝ่ำยใดผิดสญัญำหมั้นฝ่ำย 
นั้นต้องรับผิดใช้ค่ำทดแทนตำมประมวล 
กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 1438 
โดยที่กฎหมำยบัญญัติไว้เปน็พิเศษ เช่นนี้เมื่อ 
ฝ่ำยชำยเพียงแต่ตกลงว่ำจะสมรสโดยไม่มี 
กำรหมั้นดังนี้ จึงอยนู่อกขอบเขตที่กฎหมำย 
รับรองหำกไม่ปฏิบัติตำมที่ตกลงไว้จะเรียกค่ำ 
11/11/14 60 
ทดแทนหำได้ไม่
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1092/2539 เมื่อไม่มี 
กำรหมั้นโจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่ำทดแทนควำม 
เสียหำยในกำรเตรียมกำรสมรสจำกจำำเลยทั้งสำมซึ่ง 
ไม่มำทำำพิธีสมรสในวันที่กำำหนด ตำมคำำบรรยำยฟ้อง 
ของโจทก์เป็นเรื่องฝ่ำยจำำเลยสู่ขอโจทก์เพื่อสมรสกับ 
จำำเลยที่ 3โดยตกลงให้ฝ่ำยโจทก์เป็นผู้จัดงำนและ 
พิธีสมรสแล้วจำำเลยที่3ไม่มำทำำพิธีสมรสตำมที่ตกลง 
ไว้อีกทั้งค่ำเสียหำยที่โจทก์เรียกร้องไม่ว่ำจะเป็นค่ำ 
ใช้จ่ำยในกำรเตรียมกำรสมรสหรือค่ำเสียหำยทำง 
จิตใจเนื่องจำกถูกชำวบ้ำนดูถูกให้อับอำยขำยหน้ำ 
ก็ตำมล้วนสืบเนื่องมำจำกกำรที่จำำเลยที่1และที่ 2ไม่ 
นำำจำำเลยที่ 3 มำทำำพิธีสมรสในวันที่กำำหนดมูลคดี 
ตำ11/11/ม14 คำำบรรยำยฟ้องของโจทก์จึงเป็นกำรกล่ำวหำว่ำ 
61 
จำำเลยทั้งสำมผิดสัญญำหรือข้อตกลงเกี่ยวกับกำร
คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 4905/2543 พฤติกำรณ์ที่ 
จำำเลยซื้อแหวนเรือนทองฝังเพชรมอบให้โจทก์ตลอดจนกำร 
จองสถำนที่จัดงำนพิธีสมรสและพิมพ์บัตรเชิญงำนสมรสรวม 
ทงั้กำรติดต่อผู้ใหญ่ใหม้ำเป็นเจ้ำภำพในงำนพิธีสมรส ล้วน 
ส่อแสดงว่ำจำำเลยประสงค์จะสมรสกับโจทก์ กำรใหแ้หวนกนั 
ดังกล่ำวถือได้ว่ำเป็นกำรหมั้นและเพื่อเป็นหลักฐำนว่ำจะมีกำร 
สมรสกันในเวลำต่อมำแม้กำรหมั้นจะมิได้จัดพิธีตำมประเพณี 
หรือมีผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ำยมำร่วมเป็นสักขีพยำนก็เป็นกำรหมั้น 
โดยสมบูรณ์ตำมกฎหมำย เมอื่จำำเลยไปสมรสกับ น. โดยมไิด้ 
สมรสกับโจทก์ จำำเลยจึงเป็นฝ่ำยผิดสญัญำหมนั้ 
โจทก์จำำเลยกำำหนดจัดงำนพิธีสมรสกันในวันที่ 11 
พฤศจิกำยน2537 แต่พอถึงเวลำดังกล่ำวไม่มีกำรจัดงำนพิธี 
สมรส แต่โจทก์และจำำเลยก็ยังมคีวำมประสงค์ทจี่ะสมรสกนั 
อยเู่พียงแต่มีกำรเลื่อนไป โดยทงั้สองยังมคีวำมสมัพันธ์กัน 
ด้11/วย11/ดี14 ตลอดมำ ในช่วงนนั้ยังถือไมไ่ด้ว่ำจำำเลยผิดสัญญำห62 
มั้น 
แต่ต่อมำวันที่ 19 พฤศจิกำยน 2539 จำำเลยจัดงำนพิธีสมรส
กำรหมั้นที่ฝ่ำฝืนเงื่อนไขกำรสมรสจะมีผลทำำให้กำรหมั้นเป็น 
โมฆะหรือไม่ 
๑.อำยุไมค่รบ ๑๗ ปีบริบูรณ์ ตกเป็นโมฆะ 
๒.ชำยหรือหญิงเป็นคนวิกลจริต เป็นช่องทำงฝ่ำฝืน 
มำตรำ ๑๔๔๙ เป็นโมฆะตำม ม.๑๕๐ 
๓.ชำยหญงิเป็นญำติสืบสำยโลหิตโดยตรงลงมำหรือขึ้นไป 
เป็นช่องทำงฝ่ำฝืนมำตรำ ๑๔๕๐ เป็นโมฆะตำม ม.๑๕๐ 
๔.กำรหมั้นระหว่ำงบุตรบุญธรรมกับผู้รับบุตรบุญธรรมโดย 
มิได้จดทะเบียนยกเลิกกำรรับบุตรบุญธรรม ไมขั่ดต่อควำม 
สงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี 
11/11/14 63
๕.ชายหรือหญงิทมี่คีู่สมรสอยู่แล้วไปทำาสัญญาหมั้น ฝ่าฝืน 
มาตรา ๑๕๐ 
คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 125/2521 จำาเลยมภีริยาโดย 
ชอบด้วยกฎหมายอยแู่ล้ว ได้มาอยกูิ่นกบัโจทก์ฉันสามภีริยา 
ต่อมาโจทก์จำาเลยได้ตกลงเลิกอยู่กินด้วยกันโดยจำาเลยจะให้ 
เงินโจทก์ 40,000 บาท และได้ขอใหพ้นักงานสอบสวนจด 
บันทึกข้อตกลงนั้นไว้ในรายงานประจำาวันแล้วโจทก์จำาเลย 
ลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน บันทกึข้อตกลงดังกล่าวชอบด้วย 
กฎหมาย มผีลสมบูรณ์ให้จำาเลยต้องปฏบิัติตามไม่มี 
วัตถุประสงค์ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชนไมเ่ป็นโมฆะ 
ตามบันทกึข้อตกลงของโจทก์จำาเลยมคีวามว่า โจทก์ 
จำาเลยเป็นสามภีริยากันโดยไมไ่ด้จดทะเบียนสมรส อยกูิ่น 
ด้วยกันมาประมาณ 7 ปีต่อมาไม่เข้าใจกันทงั้สองฝ่ายจึง 
ประสงค์ขอเลิกจากการเป็นสามภีริยา โดยจำาเลยขอให้เงิน 
โจ11/ท11/ก์ 14 40,000 บาท เป็นค่าทไี่ด้อยกูิ่นกันมา บันทกึดังกล่า64 
ว 
เป็นการระงับข้อพิพาทที่มีอยู่หรือจะมีขึ้นเนื่องจากความไม่
คำาพพิากษาฎีกาที่ 3972/2527 โจทก์จำาเลย 
ตกลงยินยอมเป็นสามีภรรยากันตั้งแต่วันทำา 
สญัญา โดยจำาเลยจะจ่ายเป็นเงนิให้โจทก์เปน็ 
เงนิเดือนละ ๑,๐๐๐ บาท หากโจทก์มีบตุรกับ 
จำาเลย จำาเลยต้องจดทะเบยีนรับรองบตุรต่อ 
นายอำาเภอท้องที่ เมื่อข้อความในสัญญาแสดง 
ว่าโจทก์จำาเลยตกลงอยู่กินกันฉันสามีภรรยา 
โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายในขณะที่โจทก์ทราบ 
ว่าจำาเลยมีภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมายอยแู่ล้ว 
สัญญาดังกล่าวจึงมีวัตถุประสงค์ขัดต่อความ 
สงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 
11/11/ต14 กเปน็โมฆะตาม ป.พ.พ. ๑๕๐ โจทก์ฟ้อง 
65
๖.หญิงที่สามีตายหรือการสมรสสิ้นสุดลงด้วย 
ประการอื่น เมื่อการสนิ้สดุลงแห่งหารสมรสได้ 
ผ่านไปไม่ถึงสามร้อยสิบวัน 
สัญญาหมั้นสมบูรณ์ 
11/11/14 66
ของหมั้น 
มาตรา 1437 การหมนั้จะสมบูรณ์เมื่อ 
ฝ่ายชายได้สง่มอบหรือโอนทรัพย์ สนิอันเปน็ 
ของหมั้นให้แก่หญิง เพื่อเปน็หลักฐานว่าจะ 
สมรสกับหญิงนั้น 
เมื่อหมั้นแล้วให้ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่ 
หญิง 
11/11/14 67
ทรัพย์สิน โอนหรือส่งมอบ 
กรรมสิทธิ์ 
ทรัพย์สิน จะให้ 
ไม่เป็นของหมั้น 
11/11/14 68
คำาพพิากษาฎีกาที่ ๑๐๔๙/๒๔๙๒ ฝ่ายหญิง 
ได้ตกลงเรียกทองหมั้นหนัก ๑๒ บาท ฝ่ายชาย 
ได้มอบทองหนัก ๖ บาทไว้ก่อน สว่นอีก ๖ บาท 
ได้มอบโฉนดซึ่งมีเนื้อที่ 108 ไร่ ให้ยึดไว้แทน 
โดยตีราคาเนื้อที่นาในโฉนดนี้เพยีง ๕๐ ไร่ 
เท่ากับทอง ๖ บาทเมื่อชายตายโดยยังไม่ได้จด 
ทะเบยีนสมรส หญงิก็ได้แต่เก็บเอาทองหมั้น ๖ 
บาทที่ได้มอบไว้แล้วนั้น (มาตรา 1440)ส่วน 
ทองอีก ๖ บาทที่ยังไม่ได้มอบหาใช่ของหมั้นไม่ 
หญงิจึงจะเก็บเอาไว้ก็ไม่ได้ เพราะไม่ได้อยู่ที่ 
หญิงจะเรียกเอาก็ไม่ได้เพราะสัญญาหมั้นเลิก 
11/11/กั14 นเพราะความตายของชายแล้ว ไม่มีบท 
69
ลักษณะสำาคัญของของหมั้น 
๑.ต้องเป็นทรัพย์สิน 
๒.ต้องเป็นของที่ฝ่ายชายมอบให้แก่ฝ่าย 
หญิง 
๓.ต้องให้ไว้ในเวลาทำาสัญญาหมั้นและ 
หญิงได้รับแล้ว 
๔.ต้องให้ไว้เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรส 
กับหญิงและจะต้องให้ก่อนสมรส 
11/11/14 70
คำาพิพากษาฎกีาที่ ๑๕๐๗/๒๕๓๑ 
เมื่อโจทก์กับจำาเลยที่ ๑ เพียงแต่ 
ประกอบพิธีสมรสโดยมิได้เจตนาจะ 
จดทะเบยีนกนัตามกฎหมาย เงินที่ 
โจทก์อ้างว่าได้มอบให้แก่ฝ่ายหญิง 
จึงหาได้เป็นของหมั้นและสินสอด 
ตามกฎหมายไม่ แมต้่อมาจำาเลยที่ 
๑ จะไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับ 
11/โจ11/14 ทก์ โจทกก์็ไมมี่สิทธเิรียกคนื 
71
คำาพิพากษาฎีกาที่ ๕๙๒/๒๕๔๐ โจทก์แต่งงานกับ 
จำาเลยที่ ๓ โดยวิธีการผูกข้อมือ มิได้มีเจตนาจะจด 
ทะเบียนสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
ดังนั้น ทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จำาเลยไม่ใช่ของ 
หมั้น เพราะไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จำาเลยทั้ง 
สามเพื่อเป็นหลักฐานการหมั้น และประกันว่าจะสมรส 
กับจำาเลยที่ ๓ และไม่ใช่สินสอดตามมาตรา ๑๔๓๗ 
ส่วนการที่จำาเลยที่สามไม่ยอมหลับนอนนั้นเป็นสิทธิ 
ของจำาเลยที่ ๓ เพราะการสมรสของโจทก์กับจำาเลย 
ที่ ๓ จะทำาได้เมื่อจำาเลยที่ ๓ ยินยอม เป็นสามีภรรยา 
กับโจทก์ ตามมาตรา ๑๔๕๘ การที่จำาเลยที่ ๓ ไม่ 
ยอมหลับนอนกับโจทก์ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์ 
11/11/ห14 รือผิดสัญญาหมั้น โจทก์จึงไม่มีสทิธิเรียกค่า 
72 
ทดแทนหรือค่าเสียหายจากจำาเลยที่สามตามมาตรา
คำาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๕๒/๒๕๐๖ จำาเลยขอหมั้น 
น้องสาวโจทก์เพื่อให้แต่งงานกับบุตรจำาเลย แต่ 
จำาเลยไม่มีเงิน จึงทำาสัญญากู้ให้โจทก์ยึดถือไว้และ 
โจทก์จำาเลยตกลงกันว่าถ้าจำาเลยปลูกเรือนหอ 
โจทก์จะลดเงินกู้ให้บ้างตามราคาของเรือนหอ ต่อ 
มาจำาเลยไม่ปลูกเรือนหอและบุตรจำาเลยไม่ยอม 
แต่งงานกับน้องสาวโจทก์ โจทก์จึงฟ้องเรียกเงิน 
ตามสญัญากู้ สัญญากู้ดังกล่าวนี้เป็นเพียงสัญญาจะ 
ให้ทรัพย์สนิเป็นของหมั้นกันในวันข้างหน้า ยังไม่ 
ได้มีการมอบทรัพย์สินให้แก่กันอย่างแท้จริง เจตนา 
อันแท้จริงของคสูั่ญญาก็มิได้มุ่งต่อการให้ สญัญากู้ 
ตกเป็นของอีกฝ่ายหนึ่งในสภาพของหมั้นและไม่มี 
11/ค11/วา14 มประสงค์ให้ตกเป็นสิทธิแก่หญิงเมื่อสมรสแล้ว 
73 
ในกรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่ามีการให้ของหมั้นกันตาม
คำาพิพากษาฎีกาที่ ๘๗๘/๒๕๑๘ อัน 
สินสอดนั้นตามกฎหมายเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้ 
แก่บิดามารดาหรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง เพื่อตอบแทน 
การที่หญิงยอมสมรสและเมื่อมีข้อตกลงจะให้สินสอด 
แก่กันแล้ว การให้สินสอดภายหลังการสมรสย่อม 
ทำาได้เพราะไม่มีอะไรห้ามซึ่งต่างกับของหมั้นอันจะ 
ต้องให้กันในเวลาทำาสัญญาหมั้นคือก่อนสมรส 
บิดามารดาโจทก์จัดให้โจทก์และ ว. ทำาพิธี 
แต่งงานกัน และโจทก์เต็มใจยอมสมรสมารดาโจทก์ 
ได้เตือนให้โจทก์และ ว ไปจดทะเบียนสมรส แต่ทั้ง 
สองคนละเลยไม่ดำาเนินการจดทะเบียนโดยว่าจะไป 
จดวันหลังก็ได้ ครั้นอยู่ด้วยกัน ๓ เดือนก็มีเหตุต้อง 
เลิ11/ก11/ร้า14 งกันไปโดยไม่ได้จดทะเบียน ดังนจี้ะถือว่าฝ่า74 
ย 
หญิงผิดสัญญาฝ่ายเดียวย่อมไม่ได้ ชายเรียกสินสอด
จำาเลยและ ว. บุตรชายตกลงหมั้นโจทก์และ 
ตกลงจะให้เงินจำานวนหนึ่งเป็นสินสอดแก่บิดา 
มารดาโจทก์ในวันสมรส ถึงกำาหนดจำาเลยขอผัดให้ 
เงินสินสอดภายหลัง มารดาโจทก์ยินยอมให้โจทก์ 
แต่งงานกับ ว. เพื่อมิให้เสยีพิธี แต่มิได้มีการจด 
ทะเบียนสมรสกันหลังจากสมรสแล้วจำาเลยขอทำา 
สัญญากู้ให้มารดาโจทก์แทนเงินสินสอดที่ตกลงจะ 
ให้ มารดาโจทก์ต้องการเอาเงินนนั้ให้โจทก์ จึงให้ 
โจทก์ลงชื่อเป็นผู้ให้กู้ในสญัญากู้ ดังนี้ แม้โจทก์กับ 
ว. จะมิได้จดทะเบียนสมรสกันแต่เมื่อการที่มิได้จด 
ทะเบียนสมรสนั้น จะถือว่าฝ่ายหญิงผิดสัญญาฝ่าย 
เดียวไม่ได้แล้ว ชายย่อมเรียกสินสอดคืนไม่ได้ 
11/สั11/ญ14 ญากู้จึงมีมูลหนี้เนื่องมาจากเงินสินสอดอันเป็น 
75 
มูลหนชี้อบด้วยกฎหมาย เมื่อบิดามารดาโจทก์ตกลง
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว
กฎหมายลักษณะครอบครัว

More Related Content

What's hot

กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีKornnicha Wonglai
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยNakhon Pathom Rajabhat University
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
กฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสกฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสSukit U-naidhamma
 
เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53monnawan
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานKasichaphat Sae-tuan
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
บทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวกบทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวกdaypcc123
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยTaraya Srivilas
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 

What's hot (20)

การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรมการรับมรดกของบุตรบุญธรรม
การรับมรดกของบุตรบุญธรรม
 
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตายผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
ผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรีโวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
โวหารภาพพจน์ครูอรุณศรี
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
Unit 1 nouns & articles
Unit 1   nouns & articlesUnit 1   nouns & articles
Unit 1 nouns & articles
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
กฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรสกฎหมายครอบครัวการสมรส
กฎหมายครอบครัวการสมรส
 
เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53เฉลยข้อสอบ O net 53
เฉลยข้อสอบ O net 53
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
บทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวกบทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวก
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 

กฎหมายลักษณะครอบครัว

  • 1. กฎหมายลักษณะครอบครัว family law อ.สุกิจ อยู่ในธรรม Sukit U-naidhamma 11/11/14 1
  • 2. เหตุผล ครอบครัวเป็นหนว่ยหนงึ่ของสังคม การก่อให้เกิดสถานะ ความสัมพันธ์ การนำาไปสู่ประโยชน์ขอสังคมส่วน รวม การออกกฎหมายเพื่อรับรอง คุ้มครองและให้เป็นไปตามสิทธิและ หน้าที่ที่พึงมตี่อกัน 11/11/14 2
  • 3. ประวัติความเป็นมา สมัยสโุขทัย สมัยอยุธยา สมัยรัตนโกสินทร์ อิทธิพลมาจาก ศาสนา จารีตประเพณี 11/11/14 3
  • 4. กรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอู่ทอง พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการผิดเมีย พ.ศ. ๑๙๐๔ พ.ร.บ.ว่าด้วยการแบ่งสินบริคนธ์ระหว่างผัวเมีย พ.ศ. ๑๙๐๔ 11/11/14 4
  • 7. ลักษณะกฎหมายผัวเมีย ๑.กฎหมายอนุญาตให้สามมีภีรรยาได้หลายคน คือ ๑.เมยี กลางเมือง(เมียหลวง) ๒.เมียกลางนอก(อนุภรรยา) ๓.เมีย กลางทาษี ๒.หญิงที่อายุยังไม่ครบยี่สิบปีบริบูรณ์ยังอยู่ในอิสระของบิดา มารดา จะเลือกคู่โดยตามใจตนเองโดยบิดามารดาไม่ ยินยอมไมไ่ด้ แต่ถ้าหญิงทำาการสมรสเมอื่อายุครบเกณฑ์ก็ บรรลุนิติภาวะ และอำานาจเหนือหญงิเปลี่ยนไปอยทู่สี่ามี ๓.ชายหญงิทอี่่อนอายุจะทำาการสมรสไมไ่ด้ แต่ก็ไมมี่ กฎหมายใดกล่าวว่าชายและหญิงจะต้องมีอายุเท่าไรที่จะ ทำา11/กา11/14 รสมรสได้ พอเทยีบเคียงกฎหมายอื่นได้ว่าชายหญิง 7 จะต้องเป็นผู้รู้เดียงสาแล้ว โดยชายอายุเกิน ๗ ปี หญิงอายุ
  • 8. ๔.การสมรสกระทำาได้โดยการแสดงออกโดยพิธี แต่งงาน ๕.ถ้าภริยามีชู้ชายมีสิทธิฟ้องเรียกเบี้ยปรับจากชายชู้ ได้ ๒ ครั้ง จะฟ้องเรียกครั้งที่ ๓ และครั้งต่อไปไม่ได้ นอกจากนี้สามียังมีสิทธิฟ้องเรียกเบี้ยปรับจากผู้รู้หรือ เป็นแม่สื่อแม่ชักได้ ๖.สามีสละภริยาไปบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือ ภรรยาสละสามีไปบวชชีถือว่าขาดจาการสมรส ๗.เมื่อภรรยาทำาผิด ให้สามีมีสทิธิตีโบยได้ตาม สมควรในฐานะปราบปราม แต่จะทำาร้ายร่างกาย รุนแรงเกินสมควรไม่ได้ 11/11/14 8 ๘.สามีภรรยาเป็นบุคคลเดียวกันทางทรัพย์สินทาง
  • 9. ๙.เมื่อสามภีรรยาหย่ากัน ให้แบ่งสนิสมรสเป็น ๓ ส่วน ชายได้ ๒ สว่น หญิงได้หนึ่งส่วน สำาหรับบตุรนั้น ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ว่าจะ ให้บตุรอยกูั่บฝ่ายใด ให้บตุรชายอยกูั่บมารดา บุตรหญิงอยู่กับบิดา เว้นแต่สามีมีศักดินา ๔๐๐ ไร่ขึ้นไป ให้สามเีลือกบตุรได้ ๑๐.บตุรหลานฟอ้งผู่ ย่า ตา ยาย อันเป็น บรรพบรุุษไมไ่ด้ กฎหมายห้ามถือว่าเปน็อุทลุม ๑๑.ถ้าภรรยาหนีสามไีปอยกูั่บบิดามารดา พี่ น้อง หรือบุคคลอื่น หากสามีมาถามหาบคุคลนั้น อำา11/พ11/14 ราง ซุกซ่อน หรือเสือกไสไปด้วยประการ 9
  • 10. ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ เดิม บทบญัญัติแห่งบรรพ ๕ ไม่กระทบกระเทือนถึง ๑.การสมรสซึ่งได้มีอยู่ก่อนวันใช้ประมวล กฎหมายนี้และความสัมพันธ์ในครอบครัวอัน เกิดแก่การสมรสนั้น ๆ ๒.การใช้อำานาจ ปกครอง ความปกครอง การอนุบาล การรับ บุตรบุญธรรม ซึ่งมีอยกู่่อนวันใช้ประมวล กฎหมายนี้และสทิธหิรือหนี้อันเกิดแต่การนั้น ๆ 11/11/14 10
  • 11. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 834/2485 คนใน บังคับเดนมาร์คแต่งงานกับหญิงไทย. ตาม กฎหมายไทยย่อมเป็นสามีภริยากันโดยถูกต้อง. มรดกซึ่งเป็นสังหาริมทรัพย์ต้องเป็นไปตาม ภูมิลำาเนาของเจ้ามรดก. ผู้จัดการมรดกมีฐานะ เป็นตัวแทนทายาททุกคน. จึงยกอายุความเสีย สิทธิมาใช้ยันแก่ทายาทมิได้. ทายาทเข้าครอบ ครองมรดกภายใน 1 ปแีต่วันเจ้ามรดก ตาย.และสงวนไว้เป็นของกลางร่วมกันโดยยัง ไม่ได้แบ่งปันกัน.ย่อมฟ้องขอแบ่งเมื่อพ้น กำาหนด 1 ปไีด้. 11/11/14 11
  • 12. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 272/2488 (ประชุมใหญ่) ชายหญิงที่เป็นพี่น้องร่วมแต่ บิดาหรือร่วมแต่มารดาเดียวกันสมรสกันก่อน ใช้ประมวลกฎหมายแพง่และพาณิชย์ บรรพ 5 ย่อมเปน็สามภีรรยากันได้ ปัญหาที่หญิงชายจะเป็นสามีภรรยากัน ได้ตามกฎหมายหรือไม่นั้นเป็นปัญหาอันเกี่ยว กับความสงบเรียบร้อยของประชาชนคู่ความ ยกขนึ้อ้างเมื่อสบืพยานเสร็จแล้วก็ได้ 11/11/14 12
  • 13. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 524/2506 ผู้ตาย มีภริยาชอบด้วยกฎหมายอยู่แล้วคนหนึ่งต่อมา ได้ภริยาน้อยที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายมาอยู่ร่วม ด้วยอีกคนหนึ่งดังนี้ ถือว่าภริยาน้อยเข้ามาอยู่ ในครอบครัวของผู้ตายในฐานะเป็นบริวาร หรือนางบำาเรอเท่านั้นจึงหามีสิทธิที่จะเข้ามามี ส่วนเป็นเจ้าของรวมในกองทรัพย์สินที่ได้ มาระหว่างผู้ตายกับภริยาที่ชอบด้วยกฎหมาย ไม่ การที่สามีเอาที่ดินอันเป็นสินบริคณห์ โอนยกให้แก่บุตรโดยเสน่หานั้นเป็นการให้ ตามสมควรในทางศีลธรรมอันดี ภริยาจะขอ 11/11/14 13
  • 14. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1937/2526 โจทก์ซึ่งเป็นบุตรบุญธรรมตามกฎหมาย เกา่ และมิได้จดทะเบียนเป็นบตุรบญุธรรม ตามประมวลกฎหมายแพง่และพาณชิย์ บรรพ 5 ทไี่ด้ตรวจชำาระใหม่ มาตรา 1598/27 ไม่มีสิทธิรับมรดกของผู้รับ บตุรบญุธรรม ซึ่งถึงแก่กรรมหลังจากทใี่ช้ ประมวลกฎหมายแพง่และพาณชิย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชำาระใหม่แล้ว 11/11/14 14
  • 15. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2501 สมรสกัน ก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ขณะจะขาดจากการสมรสใช้ ประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ บรรพ 5 แล้ว เหตุที่จะขาดจากการ สมรสต้องใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 บังคับ และการที่สามีภริยามาร้างกันระหว่าง ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สามี ขายทรัพย์สินสมรสไปแล้วซื้อทรัพย์อื่นมาแทนทรัพย์ นั้นก็ต้องเป็นสนิสมรส แต่ทรัพย์ที่สามีหาได้มาระ หว่างร้างกันไม่เป็นสนิสมรส ในชั้นฎีกา ผฎูี้กาต้องเสยีค่าขึ้นศาลตาม จำานวนทุนทรัพย์ที่เรียกร้องในชนั้ฎีกา ถ้าทรัพย์ที่ เรี11/ย11/ก14 ร้องมีหลายอย่างตีราคารวมกันมา แต่ผฎูี้กาฎีกา 15 เฉพาะทรัพย์บางอย่างการคำานวณค่าขึ้นศาลศาล
  • 16. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1236/2506 การที่สามี ไปก่อหนี้ขึ้นระหว่างอยู่กินเป็นสามีภรรยาและภรรยา จะต้องรับผิดต่อเจ้าหนี้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกแค่ไหน เพียงใดนั้น ไม่ใช่เป็นปัญหาเกี่ยวกับความสมัพันธ์ ในครอบครัวตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติให้ ใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 มาตรา 4 แต่เป็นปัญหาที่ภรรยาจะต้องรับผิดต่อ บุคคลภายนอกร่วมกับสามีต่างหาก จะเทียบกับเรื่อง แบ่งสนิสมรสก็ไม่ได้ เพราะนั่นเป็นเรื่องภายใน ไม่ได้ เกี่ยวข้องถึงความรับผิดต่อบุคคลภายนอก เป็นสามีภรรยากันตามกฎหมายเก่าสามี ไปก่อหนี้ขึ้นเมื่อใช้บรรพ 5 แล้วการที่ภรรยาจะต้อง รับ11/ผิ11/14 ดต่อเจ้าหนี้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกเพียงใดนั้น 16 ต้องวินิจฉัยไปตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
  • 17. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1209/2508 โจทก์อุทธรณ์ยืด ยาวและวกวน และได้ใช้ถ้อยคำาในอุทธรณ์ว่า ในประเด็น อื่นๆที่ศาลชั้นต้นยังมิได้นำามาพิจารณาขอได้โปรดนำามา พิจารณาให้เป็นคุณแก่โจทก์ด้วย ถือว่าโจทก์ได้อุทธรณ์ คัดค้านคำาพิพากษาแล้ว แต่เมอื่ข้อเทจ็จริงหรือข้อกฎหมายที่ จะยกขึ้นอ้างอิงในอุทธรณ์นั้น โจทกม์ไิด้กล่าวไว้แจ้งชัดใน อุทธรณ์ อุทธรณ์ของโจทก์จงึเป็นอุทธรณ์ทไี่มส่มบูรณ์ตาม กฎหมาย เมื่ออุทธรณ์ของโจทกไ์มส่มบูรณ์ตามกฎหมาย แม้ ศาลจะฟังได้ตามข้ออุทธรณ์ของโจทก์ ศาลก็ไมอ่าจพิพากษา ใหเ้ป็นไปตามอุทธรณ์ของโจทก์ได้ เพราะเป็นการเกินคำาขอ จำาเลยใหก้ารว่า โจทก์จำาเลยแยกกันและได้หย่าร้างขาดจาก สามภีริยากนั ศาลวินิจฉัยว่าโจทก์จำาเลยได้ทงิ้ร้างกนัเป็นการ วินิจฉัยตามประเด็น ไมเ่ป็นการนอกประเด็น 11/11/14 17 โจทก์จำาเลยเป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ความสัมพันธ์ใน
  • 18. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3682/2525 สามียกที่ดินให้แก่ภริยาขณะยังอยู่กินฉัน สามีภริยาอยู่ ทงั้ตามพฤตกิารณ์ไม่พอฟัง ว่าฝ่ายภริยาไม่ต้องการส่วนแบ่งสินสมรส อีก ดังนี้จะถือว่ามีการแบ่งสนิสมรสเสร็จ สนิ้แล้วหาได้ไม่ การแบ่งสินสมรสในกรณีชายมี ภริยาโดยชอบด้วยกฎหมายหลายคนและ ตา่งมีสินเดิมด้วยกัน กฎหมายลักษณะผัว เมียมิได้มีบทบังคับว่าภริยาหลวงกับภริยา 11/11/14 18 น้อยมีสว่นในสนิสมรสตา่งกนัอย่างไร
  • 19. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 754/2526 โจทก์เป็นภริยาโดยชอบด้วยกฎหมาย ของ ล. กอ่นใชป้ระมวลกฎหมายแพง่และ พาณชิย์ บรรพ 5 แม้โจทกแ์ละ ล.แยก กันอยู่แตไ่ม่ปรากฏวา่ได้หย่าขาดจากกัน ทงั้โจทก์และ ล. ตา่งไม่มีสนิเดิมด้วยกนั ดังนนั้เมอื่ ล.ตายสนิสมรสตอ้งแบง่ออก เป็น 3 ส่วน โจทกไ์ด้ 1 สว่น ล. ได้ 2 สว่น (อา้งคำาพพิากษาฎีกาที่ 655/2495) 11/11/14 19
  • 20. คดีฟ้องหย่าระหว่างอำาแดงป้อมกับนายบุญศรี โดยอำาแดง ป้อมเป็นชู้กับนายราชาอรรถ แล้วมาฟ้องหย่ากับนายบุญศรี ช่างเหล็กหลวง นายบุญศรีไม่ยอมหย่า แต่พระเกษม ตีความในกฎหมายร่วมกับลูกขุนแล้วพิพากษาให้หย่า ขาดกนั นายบุญศรีร้องทกุข์กล่าวโทษพระเกษม และนาย ราชาอรรถต่อเจ้าพระยาศรีธรรมราช เจ้าพระยาศรีธรรม ราชนำาความกราบบังคมทลู ต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอด ฟ้าจฬุาโลก ทรงตรัสว่า หญิงนอกใจชายแล้วมาฟ้องหย่า ชาย ลูกขุนให้หย่ากนันนั้หาเป็นยุติธรรมไม่ จึงมพีระ ราชโองการตรัสให้เจ้าพระยาพระคลังเอากฎหมายของศาล หลวงมาสอบกับฉบับหอหลวงข้างทไี่ด้ความว่า “ชายผิดมิได้ หญงิขอหย่าผัว ท่านว่าเป็นหญงิหย่าชายหย่าได้” ทรงเห็น ว่าเกดิความคาดเคลื่อนในตัวบทกฎหมาย จึงใหม้กีารชำาระ กฎหมายต่าง ๆ ที่มอียใู่นหอหลวงใหถู้กต้องตรงความ 11/ยุ11/ติ14 ธรรม แล้วจัดใหเ้ป็นหมวดหมแูล้วใหอ้ารักษ์ชุบเส้น 20 หมกึสามฉบับ เก็บไว้ทีหอ้งเครื่อง หอหลวง และศาลหลวง
  • 21. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล กฎหมายลักษณะครอบครัว บรรพ ๕ พ.ศ.๒๔๗๘ มีผลใช้บังคับ ๑ ตุลาคม ๒๔๗๘ กฎหมายลักษณะครอบครัว บรรพ ๕ พ.ศ.๒๕๑๙ มีผลใช้บังคับ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ 11/11/14 21
  • 22. มวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ใหม่ พ.ศ. 2519 ยกเลิกบทบัญญัติต่าง ๆ เช่น ๑. ยกเลิกการจำากัดอำานาจในการทำานิติกรรมของหญิงมี สามี โดยกำาหนดใหส้ามภีรรยามอีำานาจจัดการทรัพย์สิน อย่างเทา่เทียมกัน ๒.บิดามารดามีอำานาจปกครองบุตรร่วมกัน ๓.ทรัพย์สิระหว่างสามภีรรยา คือ สินส่วนตัว และสินสมรส จากเดิม คือ สินส่วนตัว สินเดิม สินสมรส 11/11/14 22
  • 23. ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ ๕ ใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๓ สาระสำาคัญ คือ 1.การหมนั้ต้องมขีองหมนั้ถ้าไมม่ขีองหมนั้ไมส่มบูรณ์ ม. ๑๔๓๗ ๒.ถ้าคู่หมนั้ไมว่่าชายหรือหญงิตาย หญิงหรือฝ่ายหญงิไม่ ต้องคืนของหมั้น ม.๑๔๔๑ ๓.สามหีรือภรรยามอีำานาจในการจัดการสินสมรสตามลำาพัง เว้นแต่การจัดการสินสมรสทสี่ำาคัญ การขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าสินสมรสทเี่ป็นอสังหาริมทรัพย์ ม.๑๔๗๖ ๔.11/กา11/ร14 จัดการสินสมรสต้องจัดการร่วมกัน หากฝ่ายใดกระทำา 23 โดยลำาพังฝ่ายเดียว หรืออีกฝ่ายหนึ่งไมใ่หค้วามยินยอม มี
  • 24. ๕.การสมรสซ้อนเป็นโมฆะ ผู้มสี่วน ได้เสียมีสิทธกิล่าวอ้างได้ ม.๑๔๙๗ แม้การสมรสจะทำาโดยสุจริตก็ไม่มี สิทธิรับมรดกในฐานะทายาทของคู่ สมรส ม.๑๔๙๙ ๖.เพิ่มเหตุฟ้องหย่า ม.๑๕๑๖ (๔/๑) (๔/๒) ๗.11/11/ล14 ดอายุของผู้รับบุตรบุญธรรม 24
  • 25. กฎหมายครอบครัวปัจจุบัน ๑.สามีภรรยาตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 152/2527 กฎหมายลักษณะผัวเมียและ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ ไม่ได้บัญญัติว่า เมื่อสามีละทิ้งภริยา เพียงอย่างเดียวเป็นเหตุให้ขาดจากการสมรส ฉะนั้นเมื่อ พ. กับโจทก์ เป็นสามีภริยากันก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ ต่อมา พ. ละทิ้งร้างโจทก์ไปหลายปีแล้วกลับมาอยู่กินฉันสามีภริยากันอีกหลังจาก ประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 โดยมิได้จด ทะเบียนสมรสกันก็ตาม ก็ต้องถือว่า พ. และโจทก์เป็นสามีภริยากันโดย ชอบด้วยกฎหมายในขณะที่ พ. ถึงแกก่รรมเมื่อพ.ศ.2514 โจทก์ในฐานะทายาทฟ้องเรียกทรัพย์มรดกจากจำาเลยในฐานะผู้ จัดการมรดก โดยที่ผู้จัดการมรดกเป็นตัวแทนของทายาททงั้ปวง และ ถือว่าครอบครองทรัพย์มรดกแทนทายาท ทายาทไม่จำาต้องเข้าครอบ ครองทรัพย์มรดก จำาเลยจะยกอายุความ 1 ปีตาม ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณชิย์ มาตรา 1754 ขึ้นต่อสู้โจทก์ไม่ได้ 11/11/14 25 การแบ่งสินสมรสระหว่างสามีภริยาซึ่งสมรสกันก่อนประกาศใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ บรรพ 5 ต้องแบ่งตามกฎหมาย
  • 26. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1351/2531ฟ้อง โจทก์กล่าวว่า สนิสมรสระหว่างนายห.และนา งก.มีจำานวนเท่าใด ตกเป็นมรดกของนางก. 2 ใน 3 สว่นคดิเป็นเงนิเท่าใด ย่อมเป็นที่เข้าใจ ได้ชัดแจ้งว่า สว่นที่ตกเปน็สว่นแบง่ของนาย ห.เท่ากับ 1 ใน 3 ส่วน และสามารถคำานวณ ออกมาเป็นจำานวนเงนิได้โดยงา่ย ฟอ้งโจทก์ จึงไม่เคลือบคลุม สามีภรรยาก่อนใช้ประมวล กฎหมายแพง่และพาณิชย์ บรรพ 5การแบ่งสนิ สมรสต้องบังคับตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย บทที่68ซึ่งกำาหนดว่า ถ้าทั้งสองฝ่ายมีสนิเดิม 11/11/14 26 ให้แบง่สินสมรสเปน็ 3 สว่นชายได้ 2 สว่น
  • 27. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 89/2534 โจทก์จำาเลยเปน็พนี่้องกัน บดิามารดา โจทก์จำาเลยสมรสกันก่อนใช้ประมวล กฎหมายแพง่และพาณชิย์ บรรพ 5 แม้ บิดาโจทกจ์ำาเลยจะถึงแก่กรรม ขณะที่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิย์ บรรพ 5 พ.ศ. 2477ใช้บังคับการแบ่งทรัพย์สิน ระหว่างสามีภรรยาก็ต้องบังคับตาม กฎหมายลักษณะผัวเมีย บทที่ 68 คอืให้ คืนสินเดิมแก่แต่ละฝ่ายที่ดินพิพาทเป็น 11/11/14 27 ทรัพย์ที่มารดามีมาก่อนแต่งงานกับบิดาจึง
  • 28. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 991/2501 สมรสกันก่อนใช้ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ขณะจะขาดจากการสมรสใช้ ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 แล้ว เหตุที่จะขาดจากการสมรสต้อง ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 บังคับ และการที่สามีภริยามา ร้างกนัระหว่างใช้ ประมวลกฎหมาย 11/11/14 28 แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 สามขีาย
  • 29. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6575/2537 จำาเลยฟ้อง แย้งขอให้โจทก์จำาเลยหย่าขาดจากกันโดยอ้างเหตุว่า โจทก์จงใจทิ้งร้างจำาเลยเกินกว่าหนึ่งปี โจทก์แถลงรับ ว่าโจทก์มีเจตนาทิ้งร้างจำาเลยตามฟ้องแย้งและศาล ชนั้ต้นได้จดไว้ในรายงานกระบวนพิจารณา ทนาย จำาเลยลงชื่อโดยไม่โต้แย้งคัดค้าน และต่อมาโจทก์ยื่น คำาแถลงรับข้อเท็จจริงนี้อีก แม้จะมิได้ส่งสำาเนาให้ จำาเลยมีโอกาสคัดค้านก็ตาม ข้อเท็จจริงเป็นอันรับ ฟังได้ตามฟ้องแย้งโดยคู่ความไม่ต้องนำาสืบข้อเท็จ จริงในประเด็นนี้อีก โจทก์จำาเลยอยู่กินเป็นสามีภริยา กันมาก่อนใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เดิม แม้ต่อมาจดทะเบียนสมรสกันเมื่อปี 2512ก็11/11/14 ไม่กระทบกระเทือนถึงการสมรสและความ 29 สัมพันธ์ในครอบครัวอันเกิดแต่การสมรสตาม
  • 30. สินสมรสระหว่างโจทก์จำาเลยจึงต้องใช้กฎหมาย ลักษณะผัวเมียบังคับ จำาเลยได้ที่ดินมาเมื่อปี 2511 ก่อนโจทก์จำาเลยจดทะเบียนสมรสกันและเป็นเวลาที่ พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2477 ใช้ บังคับ โดยบุตรสาวจำาเลยยกให้โดยเสน่หาแต่มิได้ ระบุว่ายกให้เป็นสินส่วนตัวตามประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์มาตรา 1464(3) ที่ดินจึงเป็นสนิสมรส ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1466 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น แม้ต่อมาจะมีพระราช บัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ. 11/2519 11/14 ใช้บังคับ ก็จะนำาบทบัญญัติตามประมวล 30 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1471(3) ที่ได้
  • 31. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2414/2538 ห. กับ จ.เป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วย กฎหมายตามกฎหมายลักษณะผัวเมียโดย ต่างมีสินเดิมมาด้วยกันบุคคลทั้งสองได้ ทรัพย์พิพาทมาในระหว่างสมรสจึงเป็นสิน สมรสแม้ ห. ถงึแกค่วามตายใน ปี2532เมื่อประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์บรรพ5ใหม่ประกาศใช้แล้วก็ตาม การแบ่งสินสมรสก็ต้องแบ่งตามกฎหมาย ลักษณะผัวเมียบทที่ 68 คือชายได้2ส่วน 11/11/14 31 หญิงได้1ส่วนจะแบ่งคนละส่วนเท่ากันตาม
  • 32. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 7254/2539 ตาม กฎหมายลักษณะผัวเมียอนุญาตให้ชายมีภริยาโดย ชอบด้วยกฎหมายได้หลายคนในเวลาเดียวกัน ทั้งได้ จัดลำาดับชั้นของภริยาตามวิธีการที่ชายได้หญิงนั้น มาเป็นภริยาออกเป็น 3 ประเภทด้วยกันได้แก่เมีย กลางเมือง เมียกลางนอกหรืออนุภรรยา และเมีย กลางทาษีหรือทาษภรรยา สำาหรับเมียกลางเมอืงนั้น หมายถึง หญิงอันบิดามารดากุมมือยกให้เป็นภริยา ของชายซึ่งถือเป็นภริยาหลวงสว่นภริยาอีก 2 ประเภท ก็มีฐานะลดหลั่นกันลงมาตามวิธีการที่ชาย ได้หญิงนั้นมาเป็นภริยาหรือตามลักษณะที่ชายเลี้ยงดู เชิดชูหญิงว่าเป็นภริยา แต่ไม่ว่าจะเป็นภริยาใน ลำา11/11/ดั14 บชนั้ใดก็ตาม ต่างก็ถือว่าเป็นภริยาโดยชอบด้ว32 ย กฎหมายด้วยกันทั้งสนิ้ดังนั้น แม้ข้อเท็จจริงจะไม่
  • 33. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 เดิม มผีลบังคับ ใช้และมบีุตรด้วยกันถึง 6 คน และตามพระราชบัญญัติให้ ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ ทไี่ด้ตรวจชำาระใหมพ่.ศ. 2519 มาตรา 5 บัญญัติ ว่า บทบัญญตัิบรรพ 5 แหง่ประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ ทไี่ด้ตรวจชำาระใหม่ ท้ายพระราชบัญญตัินี้ ไม่ กระทบกระเทอืนถงึความสมบูรณ์ของการหมนั้ การสมรส ฯลฯทไี่ด้มอียแู่ล้วในวันใช้บังคับบทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ทไี่ด้ตรวจชำาระใหม่ ทา้ย พระราชบัญญัตินี้เมอื่มขี้อเทจ็จริงทแี่สดงให้เหน็ว่าผู้ตาย กบัโจทก์อยู่กินเป็นสามภีริยากนัโดยเปิดเผย เป็นทรีู่้กัน ทวั่ไปและมิได้ทงิ้ร้างกันแต่อย่างใด ผู้ตายกับโจทก์จึงยังเป็น สามีภริยากันเป็นสามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายอยู่ ตลอดมา ส่วนจำาเลยนนั้เพงิ่อยู่กินกับผู้ตาย เมอื่ปี 2491 ซึ่ง 11/เป็11/น14 เวลาภายหลังจากทปี่ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิช33 ย์ บรรพ 5 เดิม ใช้บังคับแล้วแมจ้ำาเลยกับผู้ตายจะมบีุตรด้วย
  • 34. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 3181/2540 โจทก์กับ ป. อยู่กินฉันสามีภริยามาก่อนประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ บรรพ 5 พ.ศ.2477 ใช้บังคับจึงเป็น สามีภริยากันโดยชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมาย ลักษณะผัวเมียที่ดินพิพาทโจทก์กับ ป. ได้มาเมื่อปี 2491 เป็นสินสมรสระหว่างโจทก์กับ ป. การจัดการ สนิสมรสดังกล่าวต้องบังคับตามบทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ.2477มาตรา 1468,1473 และมาตรา 1462 อันเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับขณะที่ได้ที่ดินพิพาทมา ที่ดินพิพาทจึงเป็นสินบริคณห์ เมื่อไม่ปรากฏว่ามี สญัญาก่อนสมรสกำาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ป. ย่อมมี อำา11/นา11/14 จจัดการสินบริคณห์เองได้ แม้ประมวลกฎหมา34 ย แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชำาระใหม่พ.ศ.
  • 35. โดยปราศจากความยินยอมตามวรรคหนึ่งคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่ง อาจขอให้ศาลเพิกถอนนิติกรรมนั้นได้ก็ตามแต่การใช้ บทบัญญัติในบรรพ 5 ทไี่ด้ตรวจชำาระใหมต่้องอยภู่ายใต้ บทบัญญัติในมาตรา 7 ของ พระราชบัญญัติใหใ้ช้ บทบัญญัติ บรรพ 5แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ. 2519ป. สามโีจทก์ จึงยังคงมี อำานาจจัดการสินบริคณห์รายนไี้ด้ต่อไปตามทมี่าตรา 7 ของ พระราชบัญญตัิใหใ้ช้บทบัญญตัิบรรพ 5 แห่งประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ. 2519 บัญญัติไว้ และอำานาจจัดการนนั้ มาตรา 1477 ทไี่ด้ตรวจ ชำาระใหมบั่ญญัติไว้ว่า ใหร้วมถงึอำานาจจำาหน่ายด้วย ป. สามีโจทก์มีอำานาจจำาหน่ายที่ดินพิพาทได้โดยไม่ต้องได้รับ ความยินยอมจากโจทก์ก่อน การซื้อขายทดีิ่นพิพาทระหว่าง ป. กบัจำาเลยจึงเป็นไปโดยชอบด้วยกฎหมาย โจทก์จงึไมมี่ 11/สิท11/ธิ14 ทจี่ะมาฟ้องขอเพิกถอน การสมรสระหว่างโจทก์กบั ป35 . ชอบด้วยกฎหมายลักษณะผัวเมยีแล้ว แมต้่อมาโจทก์กับ ป.
  • 36. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 8227/2540 ช. กับ โจทก์ที่ 1 เป็นสามภีริยาก่อนใช้ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 พ.ศ. 2477 ช.ถึงแก่ กรรมเมื่อวันที่ 13 เมษายน 2535 ศาลมีคำาสั่งตั้ง โจทก์ที่ 2 เป็นผู้จัดการมรดกของ ช.ระหว่างที่ช.มี ชีวิตอยู่ ช.ได้ทำาสญัญาจะซื้อที่ดินพร้อมทาวน์เฮาส์ จากจำาเลยที่ 1 หลังจากนนั้ ช.ยกที่ดินพร้อมทาวน์ เฮาส์เลขที่ 10/141 ให้จำาเลยที่ 2 และมกีารเปลี่ยน คสูั่ญญาจะซื้อจะขายที่ดินพร้อมทาวน์เฮาส์ เมื่อไม่ ปรากฏว่าในระหว่างสมรสโจทก์ที่ 1 และ ช. ได้หย่า ขาดจากกันประกอบกับที่ดินมรดกนนั้ ช. ได้รับมาก็ ไม่ปรากฏว่าเป็นทรัพย์สนิประเภทใด กรณีจึงเป็นที่ สง11/ส11/ยั 14 ต้องสันนิษฐานว่า ที่ดินมรดกดังกล่าวเป็นสนิ 36 สมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา
  • 37. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 5 ที่ได้ตรวจ ชำาระใหม่ พ.ศ. 2519 ใช้บังคับแล้ว จึงต้องนำา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ ตรวจชำาระใหม่พ.ศ. 2519 ซึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้อยู่ ขณะนั้นมาใช้บังคับจะนำากฎหมายลักษณะผัวเมียมา ใช้บังคับหาได้ไม่ เงินที่ช. ได้จากการขายที่ดินมรดก จึงเป็นสินสมรส การที่ ช. นำาเงินดอกเบยี้ซึ่งเป็นดอก ผลของสินสมรสไปซื้อที่ดินพร้อมทาวน์เฮาส์ที่พิพาท ทรัพย์สินดังกล่าวจึงเป็นสนิสมรสของโจทก์ที่ 1 กับ ช. ซึ่งในการจัดการสินสมรสดังกล่าวต้องได้รับความ ยินยอมจากคู่สมรสอีกฝ่ายหนึ่งตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1480 การที่ ช.ยกที่ดิน พ11/ร้11/อ14 มทาวน์เฮาส์ที่พิพาทให้แก่จำาเลยที่ 2 โดยไม่ได้ 37 รับความยินยอมจากโจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นคสู่มรส โจทก์ที่
  • 38. สามีภรรยาตาม บรรพ ๕ เก่า คือสามีภรรยาที่สมรสกันตั้งแต่วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๔๗๘ ถึงวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 655/2523 บิดาจำาเลย ยกที่พิพาทให้โจทก์จำาเลยใช้เป็นที่อยู่อาศัยและทำา กินเมื่อแต่งงานกันก่อนจดทะเบียนสมรส ก่อนใช้ บรรพ 5 ที่แก้ไขใหม่ ที่พิพาทจึงตกเป็นของโจทก์ จำาเลยคนละครึ่งครั้นโจทก์จำาเลยจดทะเบียนสมรสก็ กลายเป็นสินเดิมของแต่ละฝ่ายและเป็นสินส่วนตัว ตามพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5แห่ง 11/ป11/ระ14 มวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำาระ 38 ใหม่ พ.ศ.2519
  • 39. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 154/2524 บ้าน พิพาทผู้ร้องเอาเงินที่ได้จากการขายบ้านและ ที่ดินซึ่งเป็นสนิเดิมของผู้ร้องซื้อมา บา้นพิพาท จึงเป็นสินเดิมของผู้ร้องตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1465(เดิม)ที่ใช้ บงัคบัอยใู่นขณะนั้น ซงึ่ตามพระราชบญัญัติ ให้ใช้บรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพง่และ พาณิชย์ที่ได้ตรวจชำาระใหม่พ.ศ.2519 มาตรา 7 ได้บญัญัติให้สนิเดิมดังกล่าวเป็นสนิ ส่วนตัว บ้านพิพาทจึงเปน็สินสว่นตัวของผู้ร้อง ผู้ร้องและจำาเลยที่ 2 ได้หย่าและตกลงกัน เรื่องทรัพย์สินตามเอกสารหมาย ร.2ว่า 11/11/14 39
  • 40. โดยเฉพาะบ้านพิพาทเป็นอสังหาริมทรัพย์และเป็นสิน เดิมของผู้ร้อง แต่การยกให้มิได้ทำาเป็นหนังสอืและจด ทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ การยกให้ไม่มีผล สมบูรณ์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 525บ้านพิพาทยังคงเป็นกรรมสิทธิ์ของผรู้้อง โจทก์ซึ่งเป็นเจ้าหนขี้องจำาเลยที่ 2 ตามคำาพิพากษา จึงไม่มีสทิธินำายึด ประเด็นมีว่าบ้านพิพาทเป็นของผู้ร้องหรือไม่ ปัญหาหรือข้อเท็จจริงที่ว่า การที่ผู้ร้องยกบ้านพิพาท ให้บุตรเป็นการสมบูรณ์หรือไม่จึงเป็นปัญหาหรือข้อ เท็จจริงที่รวมอยู่ในประเด็นดังกล่าว เพราะหากฟัง ว่าการยกให้มีผลสมบูรณ์บ้านพิพาทก็ไม่ใช่ทรัพย์สิน ข11/อ11/งผู้14 ร้อง แต่ถ้าการยกให้ไม่สมบูรณ์ บ้านพิพาทก็40 ยัง คงเป็นของผู้ร้อง13
  • 41. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 181/2523 พระ ราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่ตรวจชำาระ ใหม่ พ.ศ. 2519 มาตรา 7 บญัญตัิว่า บทบญัญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์ที่ได้ตรวจชำาระใหม่ ไม่กระทบ กระเทือนถึงอำานาจการจัดการสินบริคณห์ที่คู่ สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่แล้วในวันใช้บังคับ บทบญัญัติบรรพ 5 ใหม่นี้ เมื่อคดีได้ความว่า โจทก์ได้ที่พิพาทมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 โจทก์ ซึ่งเป็นสามีมีอำานาจจัดการรวมทั้งมีสิทธิฟ้องคดี เพื่11/11/อ14 ประโยชน์แก่ที่พิพาทซึ่งเป็นสินบริคณห์นั้41 น
  • 42. คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 2116/2523 โจทก์ฟ้องเรียกมรดกจากจำาเลยทั้งสองซึ่งเป็น สามีภริยากันเมื่อทรัพย์มรดกที่ตกได้แก่จำาเลย ที่ 2 ก่อนใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 ที่ได้ตรวจชำาระใหม่จึงเปน็สินสมรส จำาเลยที่ 1 ซึ่งเปน็สามีย่อมมอีำานาจจัดการและ ฟ้องคดีเกี่ยวกับทรัพย์มรดกซึ่งเป็นสินบริคณห์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5(เดิม) แม้ภายหลังมีพระราชบัญญัติให้ใช้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5ซึ่ง ได้ตรวจชำาระใหม่ พ.ศ.2519 แล้ว จำาเลยที่ 1ยั11/11/14 งคงมีอำานาจจัดการทรัพย์พิพาทต่อไปตาม 42
  • 43. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 2375/2532 จำำเลยกับ ล. อยู่กินด้วยกันเมื่อปี 2507 แล้วจึงได้จดทะเบียน กำรสมรสเมอื่วันที่ 29 มกรำคม 2519 ล. ซื้อ ที่ พิพำทเมื่อวันที่ 8 กันยำยน 2518 แล้วจึงออกโฉนด ที่ดินเมื่อวันที่19 มกรำคม 2522 โดย มีชอื่ ล. เป็นผู้ ถือกรรมสิทธิ์ ดังนี้ที่พิพำทจึงเป็นทรัพย์สินที่ได้ มำ ก่อนที่จำำเลยกับ ล. จดทะเบียนกำรสมรสกัน หำใช่ เป็นทรัพย์สนิที่จำำเลยกับ ล. ได้ มำระหว่ำงสมรสอัน จะทำำให้เป็นสินสมรสตำม ที่ ป.พ.พ. มำตรำ 1466 เดิม บัญญัติไว้ไม่ ที่พิพำทเป็นทรัพย์สนิที่จำำเลยกับ ล. ทำำมำหำได้ ร่วมกันก่อนจดทะเบียนกำรสมรสกัน จำำเลยกับ ล. จึงเป็นเจ้ำของที่พิพำทร่วมกันคนละส่วน เมื่11/อ11/ได้ 14 จดทะเบียนกำรสมรสที่พิพำทย่อมเป็นสินเดิ43 ม ของแต่ละฝ่ำย อันเป็นสนิบริคณห์ ตำม ป.พ.พ.
  • 44. ใหม่พ.ศ. 2519 มำตรำ 7 ให้ถือว่ำสินเดิมของแต่ละฝ่ำยดัง กล่ำวเป็นสินส่วนตัวของแต่ละฝ่ำยนนั้ตำม บทบัญญัติบรรพ 5 แห่ง ป.พ.พ. ทไี่ด้ตรวจ ชำำระใหม่ จำำเลยกบั ล. ไมไ่ด้ทำำ สัญญำก่อนสมรสเป็นอย่ำงอื่น ล. ซงึ่ เป็นสำมจีึงเป็นผู้ จัดกำรทพีิ่พำทอันเป็นสนิบริคณหต์ำม ป.พ.พ.มำตรำ 1468 เดิม และตำม พ.ร.บ. ใหใ้ช้ บทบัญญตัิบรรพ 5 แหง่ป.พ.พ. ที่ได้ตรวจ ชำำระใหม่ มำตรำ 7 ฉะนนั้กำรที่ ล.จดทะเบียน ขำยฝำกทพีิ่พำทให้แก่ผู้คัดค้ำนเมอื่วันที่ 22 มถินุำยน2524 ในขณะทจี่ำำเลยกับ ล. ยังเป็นสำมภีรรยำกนัอยู่ จึงถือได้ว่ำ จำำเลยยินยอมให้ ล. ขำยฝำกที่พิพำทอันเป็นสินสว่นตัวของ จำำเลยกึ่งหนึ่งด้วย เมอื่ผู้คัดค้ำนยอมรับว่ำจำำเลยขำยฝำกที่ พิพำทเฉพำะ ส่วนของจำำเลยให้แก่ผู้คัดค้ำนซงึ่ เป็นเจ้ำหนี้ คนหนึ่งได้เปรียบแกเ่จ้ำหนอีื้่น ศำลมอีำำนำจที่จะสงั่เพิกถอน กำรโอนทพีิ่พำทเฉพำะ ส่วนของจำำเลยได้ ตำม พ.ร.บ. ล้ม ละ11/11/ลำ14 ยพ.ศ. 2483 มำตรำ 115 กำรเพิกถอนกำรโอนตำ44 ม พ.ร.บ. ล้มละลำย พ.ศ. 2483มำตรำ 115 เป็นไปโดย ผล
  • 45. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 4477/2542 กำร พิจำรณำว่ำทรัพย์สินที่ได้มำในระหว่ำงสำมี ภริยำเป็นประเภทใดต้องพิจำรณำตำมบท กฎหมำยที่ใช้ในขณะที่ได้มำ จำำเลยได้รับที่ดิน พิพำทโดยทำงพินัยกรรมในระหว่ำงสมรสและ ไม่มีกำรระบุว่ำให้เป็นสินสมรหรือสินส่วนตัว เมื่อปีพ.ศ 2509 ในขณะที่ใช้ประมวล กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ บรรพ 5 เดิม ที่ดิน พิพำทจึงเป็นสินสมรสระหว่ำงโจทก์กับจำำเลย ตำมบรรพ 5 เดิม มำตรำ 1466 วรรคหนึ่ง แม้ ต่อมำจะได้มีกำรแบ่งแยกที่ดินและออกโฉนด 11/11/14 45 ใหม่เมื่อประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
  • 46. ๓.สำมีภรรยำตำมบรรพ ๕ ใหม่ สำมภีรรยำสมรสกันตั้งแต่ ๑๖ ตุลำคม ๒๕๑๙ ถึงวันที่ ๒๖ กันยำยน ๒๕๓๓ คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 730/2539 กฎหมำยมิได้ บัญญัติว่ำถ้ำสำมีฟ้องคดีจะต้องได้รับควำมยินยอมจำกภริยำ เสียก่อนทุกกรณีคู่สมรสฝ่ำยหนึ่งฝ่ำยใดฟ้องคดีต้องได้รับ ควำมยินยอมจำกอีกฝ่ำยหนึ่งก็เฉพำะกำรฟ้องคดีเกี่ยวกับสิน สมรสซึ่งเป็นทรัพย์สินที่ทั้งสองฝ่ำยต้องจัดกำรร่วมกันตำมที่ บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ1476สำำหรับคดีนี้ปรำกฎว่ำจำำเลยให้กำรแต่เพียงว่ำ โจทก์ฟ้องคดีโดยไม่ได้รับควำมยินยอมจำกภริยำโดยไม่ได้ ให้11/11/กำ14 รต่อสู้ว่ำโจทก์ฟ้องคดีนี้เป็นกำรฟ้องเกี่ยวกับสินสมรส46 ที่ โจทก์กับภริยำต้องจัดกำรร่วมกันตำมที่บัญญัติไว้ในมำตรำ
  • 47. ได้โดยไมต่้องได้รับควำมยินยอมจำกภริยำเสยีก่อน โจทก์ และจำำเลยทำำสัญญำจะซื้อจะขำยที่พิพำทเมื่อวัน ที่8ธันวำคม2532จึงต้องบังคับตำมประมวลกฎหมำยแพ่ง และพำณิชย์มำตรำ1480ก่อนแก้ไขในปี2533ซึ่งบัญญัติ ว่ำ"ในกำรจัดกำรสินสมรสถ้ำคู่สมรสฝ่ำยหนึ่งได้ทำำนิติกรรม ไปโดยปรำศจำกควำมยินยอมของอีกฝ่ำยหนึ่งนิติกรรมนั้น จะสมบูรณ์ต่อเมื่ออีกฝ่ำยหนึ่งได้ให้สัตยำบัน"ดังนั้นหำกที่ พิพำทเป็นสินสมรสระหว่ำงจำำเลยกบั ป. และป. มไิด้ให้ ควำมยินยอมในกำรทำำสัญญำจะซื้อจะชำยนิติกรรมดังกล่ำว ย่อมไม่สมบูรณ์โจทก์จะฟ้องบังคับให้จำำเลยโอนที่ดินให้ โจทก์ตำมสัญญำมิได้คดีจึงต้องฟังข้อเท็จจริงให้ได้ควำม แน่ชัดเสียก่อนว่ำที่พิพำทเป็นสินสมรสระหว่ำงจำำเลยกับ ป.หรือไม่ถ้ำเป็นสินสมรสแล้วป.ได้ให้ควำมยินยอมด้วยหรือ ไม่ที่ศำลชั้นต้นมีคำำสั่งงดชี้สองสถำนและงดสืบพยำนโจทก์ จำำ11/เล11/14 ยแล้วพิพำกษำให้จำำเลยไปจดทะเบียนโอนขำยที่พิพำ47 ท ให้แก่โจทก์ตำมสัญญำย่อมเป็นกำรวินิจฉัยคดีโดยยังมิได้ฟัง
  • 48. ๔.สำมภีรรยำตำมบรรพ ๕ ปัจจุบัน สำมภีรรยำทสี่มรส ตงั้แต่ ๒๗ กันยำยน ๒๕๓๓ จนปัจจุบัน 11/11/14 48
  • 49. ข้อจำำกัดกฎหมำยครอบครัว กำรบังคับใช้ 4 จังหวัดภำคใต้ นรำธิวำส ปัตตำนี สตูล ยะลำ ใช้กฎหมำยอิสลำม ตำม พ.ร.บ. กำรใช้กฎหมำยอิสลำมใน เขตจังหวัดปัตตำนี นรำธิวำส ยะลำ และสตูล พ.ศ. ๒๔๘๙ กำรพิจำรณำคดีใหด้ะโต๊ะยุติธรรม ๑ นำยนั่งพิจำรณำ พร้อมด้วยผู้พิพำกษำ 11/11/14 49
  • 50. กำรหมั้น ควำมหมำย กำรหมั้น คือ กำรที่ชำยหญิงทำำสัญญำว่ำจะ สมรสกันและอยกูิ่นด้วยกันฉันสำมภีรรยำ 11/11/14 50
  • 51. กำรหมั้นเป็นสญัญำหรือไม่ ? ศ.สอำด นำวีเจริญ กำรหมั้นถือว่ำเปน็สญัญำ หรือควำมตกลงที่จะสมรสกัน ศ.หยุด แสงอุทยั เหน็ว่ำ กำรหมนั้คือสัญญำระหว่ำงชำยทำำ กับหญิงโดยชอบด้วยกฎหมำย เพื่อชำยกับหญงิจะทำำกำร สมรสกัน ศ.จิตติ ติงศภทัยิ์ เหน็ว่ำ กำรหมนั้ไมใ่ช่สัญญำในลักษณะ หนี้ทวี่่ำหนเี้พรำะบังคับให้สมรสไมไ่ด้ เรียกเบี้ยปรับไมไ่ด้ กำรแสดงเจตนำในกำรหมั้นจึงไม่ใช่กำรแสดงเจตนำทำำ นิติกรรม 11/11/14 51
  • 52. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 763/2526 กำรหมั้นเป็น สัญญำซึ่งฝ่ำยชำยทำำกับฝ่ำยหญิงโดยชอบด้วย กฎหมำย เพื่อชำยกับหญิงจะทำำกำรสมรสกัน สินสอดเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ำยชำยให้แก่บิดำ มำรดำหรือผู้ปกครองฝ่ำยหญิงเพื่อตอบแทนกำรที่ หญิงยอมสมรส โจทก์และ ง. เป็นฝ่ำยชำยตกลงทำำสญัญำ หมั้นกับจำำเลยทั้งสำมฝ่ำยหญิงและมอบสินสอดให้ เพื่อให้ ง. กับจำำเลยที่ 3 ทำำกำรสมรสกัน เมื่อโจทก์ อ้ำงว่ำจำำเลยทั้งสำมฝ่ำยหญิงเป็นฝ่ำยผิดสัญญำหมั้น โจทก์ซึ่งเป็นคู่สัญญำย่อมมีอำำนำจฟ้องจำำเลยทั้งสำม ฐำนผิดสัญญำหมั้นและเรียกสนิสอดคืนได้ ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 11/11/14 52 1439 บัญญัติถึงผู้มีสิทธิเรียกร้องให้รับผิดชดใช้ค่ำ
  • 54. ๑.อำยุของคู่หมั้น มำตรำ ๑๔๓๕ บัญญตัิว่ำ กำรหมั้นจะกระทำำได้เมอื่ชำยและ หญิงมีอำยุครบสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว กำรหมนั้ทฝี่่ำฝืนบทบัญญัติวรรคหนึ่งเป็นโมฆะ คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ ๓๑๓๓/๒๕๓๐ กำรทโี่จทก์ให้ เงินสดและสร้อยคอทองคำำแก่ฝ่ำยจำำเลยโดยฝ่ำยโจทก์ทรำบ ว่ำจำำเลยที่ 3 มอีำยุยังไมค่รบกำำหนดทจี่ะจดทะเบียนสมรสได้ แต่กย็อมให้โจทก์ที่ 3 และจำำเลยที่ 3 ทำำกำรสมรสกันตำม ประเพณีและอยกูิ่นด้วยกันฉัน สำมภีริยำโดยไมต่้องจด 11/ทะ11/14 เบียนสมรสนนั้ เงินสดและสร้อยคอทองคำำดังกล่ำวจึง 54 ไมใ่ช่สินสอดตำมควำมหมำยของ ป.พ.พ.มำตรำ ๑๔๓๗
  • 55. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1117/2535 โจทก์ ที่ 2 กับจำำเลยที่ 3 เพียงแต่ประกอบพิธีแต่งงำน เพื่ออยู่กินกันตำมประเพณีโดยไม่มีเจตนำจะจด ทะเบียนสมรสกันตำมกฎหมำยเงินทั้งหลำยที่ ฝ่ำยโจทก์มอบให้ฝ่ำยหญิง จึงไม่ใช่ของหมั้น และสินสอดตำมกฎหมำย แม้จะมีกำรหมั้นกัน ตำมประเพณีและมอบทรัพย์สินให้แก่กันใน ขณะจำำเลยที่ 3 อำยุยังไม่ครบ 17 ปีบริบรูณ์ โจทก์ก็หำมีสิทธิเรียกคืนไม่ 11/11/14 55
  • 56. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 3072/2547 (ประชุม ใหญ่) ในขณะที่นำย อ. ทำำกำรหมั้นกับนำงสำว บ. นั้น นำงสำว บ. อำยุยังไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ โดย มีอำยุเพียง 15 ปีเศษ กำรหมั้นดังกล่ำวจึงฝ่ำฝืน บทบัญญัติ ป.พ.พ. มำตรำ 1435 วรรคหนึ่ง ย่อมตก เป็นโมฆะตำมมำตรำ 1435 วรรคสอง นอกจำกนี้ มำตรำ 172 วรรคสอง บัญญัติว่ำ ถ้ำจะต้องคืน ทรัพย์สินอันเกิดจำกโมฆะกรรม ให้นำำบทบัญญัติว่ำ ด้วยลำภมิควรได้มำใช้บังคับ เมื่อข้อเท็จจริงไม่ ปรำกฏว่ำโจทก์ทรำบว่ำนำงสำว บ. อำยุไม่ครบ 17 ปี จำำเลยและนำงสำว บ. จึงต้องคืนของหมั้นและ สนิสอดให้แก่โจทก์ตำมมำตรำ 412 และ 413 โดย จะ11/ถื11/อ14 ว่ำโจทก์ชำำระหนี้ตำมอำำเภอใจตำมมำตรำ 407 56 หำได้ไม่ ดังนั้น กำรที่โจทก์จำำเลยซึ่งเป็นบิดำและ
  • 57. ต้องได้รับควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำหรือผู้ปกครอง มำตรำ 1436 ผู้เยำว์จะทำำกำรหมนั้ได้ต้องได้รับควำม ยินยอมของบุคคล ดังต่อไปนี้ (1) บิดำและมำรดำ ในกรณีทมี่ทีงั้บิดำมำรดำ (2) บิดำหรือมำรดำในกรณีที่มำรดำหรือบิดำตำยหรือ ถูกถอนอำำนำจปกครอง หรือไมอ่ยู่ในสภำพหรือฐำนะทอี่ำจ ใหค้วำมยินยอม หรือโดย พฤติกำรณ์ผู้เยำว์ไมอ่ำจขอ ควำมยินยอมจำกมำรดำหรือบิดำได้ (3) ผู้รับบุตรบุญธรรม ในกรณีทผีู่้เยำว์เป็นบุตร บุญธรรม (4) ผู้ปกครอง ในกรณีที่ไมมี่บุคคลซึ่งอำจใหค้วำม ยินยอมตำม (1)(2) และ (3) หรือมแีต่บุคคลดังกล่ำวถูก 11/11/14 57
  • 58. แบบของสัญญำหมั้น มำตรำ 1437 กำรหมนั้จะสมบูรณ์เมอื่ฝ่ำยชำยได้ส่งมอบ หรือโอนทรัพย์ สินอันเป็นของหมนั้ใหแ้กห่ญิง เพื่อเป็นหลัก ฐำนว่ำจะสมรสกับหญิงนั้น เมื่อหมั้นแล้วให้ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิง สินสอด เป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ำยชำยให้แก่บิดำมำรดำ ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ปกครองฝ่ำยหญิง แล้วแต่กรณี เพื่อตอบแทนกำรที่หญิงยอมสมรส ถ้ำไมม่กีำรสมรสโดยมี เหตุสำำคัญอันเกดิแกห่ญิง หรือโดยมพีฤติกำรณ์ซึ่ง ฝ่ำย หญิงต้องรับผิดชอบ ทำำใหช้ำยไมส่มควรหรือไมอ่ำจสมรส กับหญงินั้น ฝ่ำยชำยเรียกสินสอดคืนได้ ถ้ำจะต้องคืนของหมั้นหรือสินสอดตำมหมวดนี้ให้นำำ 11/11/14 58 บทบัญญตัิ มำตรำ 412 ถึง มำตรำ 418 แหง่ประมวล กฎหมำยนี้ว่ำด้วยลำภมคิวรได้มำใช้ บังคับโยอนุโลม
  • 59. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 676/2487 เพยีงแตส่ญัญำจะทำำกำรสมรส แตไ่ม่มี ของหมั้น จะฟ้องเรียกคำ่ทดแทนฐำนผิด สัญญำไม่ได้ คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1217/2496 ฝ่ำยชำย ได้ดำำเนินกำรสู่ขอฝ่ำยหญิงจนได้มีกำรเหยียบเรือน ตำมประเพณีท้องถิ่นแล้ว คือฝ่ำยชำยได้นำำหมำกพลู และผ้ำขำวไปเคำรพฝ่ำยหญิง และได้กำำหนดนัดวัน ทำำพิธีสมรสแล้ว เช่นนี้ย่อมถือได้ว่ำเป็นกำรตกลง โด11/11/ย14 สมบูรณ์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรหมั้น และกำร 59 ตกลงทำำกำรสมรสแล้วทุกประกำรเมื่อถึงวันกำำหนด
  • 60. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 525/2509 กำร หมั้นและจะเรียกว่ำหมั้นก็ต่อเมื่อฝ่ำยชำยนำำ ของหมนั้ไปมอบให้ฝ่ำยหญิง อันเปน็เรื่องที่ เข้ำใจกันตำมธรรมดำและตำมประเพณีเมื่อมี กำรหมั้นแล้ว ถ้ำฝ่ำยใดผิดสญัญำหมั้นฝ่ำย นั้นต้องรับผิดใช้ค่ำทดแทนตำมประมวล กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 1438 โดยที่กฎหมำยบัญญัติไว้เปน็พิเศษ เช่นนี้เมื่อ ฝ่ำยชำยเพียงแต่ตกลงว่ำจะสมรสโดยไม่มี กำรหมั้นดังนี้ จึงอยนู่อกขอบเขตที่กฎหมำย รับรองหำกไม่ปฏิบัติตำมที่ตกลงไว้จะเรียกค่ำ 11/11/14 60 ทดแทนหำได้ไม่
  • 61. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 1092/2539 เมื่อไม่มี กำรหมั้นโจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องเรียกค่ำทดแทนควำม เสียหำยในกำรเตรียมกำรสมรสจำกจำำเลยทั้งสำมซึ่ง ไม่มำทำำพิธีสมรสในวันที่กำำหนด ตำมคำำบรรยำยฟ้อง ของโจทก์เป็นเรื่องฝ่ำยจำำเลยสู่ขอโจทก์เพื่อสมรสกับ จำำเลยที่ 3โดยตกลงให้ฝ่ำยโจทก์เป็นผู้จัดงำนและ พิธีสมรสแล้วจำำเลยที่3ไม่มำทำำพิธีสมรสตำมที่ตกลง ไว้อีกทั้งค่ำเสียหำยที่โจทก์เรียกร้องไม่ว่ำจะเป็นค่ำ ใช้จ่ำยในกำรเตรียมกำรสมรสหรือค่ำเสียหำยทำง จิตใจเนื่องจำกถูกชำวบ้ำนดูถูกให้อับอำยขำยหน้ำ ก็ตำมล้วนสืบเนื่องมำจำกกำรที่จำำเลยที่1และที่ 2ไม่ นำำจำำเลยที่ 3 มำทำำพิธีสมรสในวันที่กำำหนดมูลคดี ตำ11/11/ม14 คำำบรรยำยฟ้องของโจทก์จึงเป็นกำรกล่ำวหำว่ำ 61 จำำเลยทั้งสำมผิดสัญญำหรือข้อตกลงเกี่ยวกับกำร
  • 62. คำำพิพำกษำศำลฎีกำที่ 4905/2543 พฤติกำรณ์ที่ จำำเลยซื้อแหวนเรือนทองฝังเพชรมอบให้โจทก์ตลอดจนกำร จองสถำนที่จัดงำนพิธีสมรสและพิมพ์บัตรเชิญงำนสมรสรวม ทงั้กำรติดต่อผู้ใหญ่ใหม้ำเป็นเจ้ำภำพในงำนพิธีสมรส ล้วน ส่อแสดงว่ำจำำเลยประสงค์จะสมรสกับโจทก์ กำรใหแ้หวนกนั ดังกล่ำวถือได้ว่ำเป็นกำรหมั้นและเพื่อเป็นหลักฐำนว่ำจะมีกำร สมรสกันในเวลำต่อมำแม้กำรหมั้นจะมิได้จัดพิธีตำมประเพณี หรือมีผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ำยมำร่วมเป็นสักขีพยำนก็เป็นกำรหมั้น โดยสมบูรณ์ตำมกฎหมำย เมอื่จำำเลยไปสมรสกับ น. โดยมไิด้ สมรสกับโจทก์ จำำเลยจึงเป็นฝ่ำยผิดสญัญำหมนั้ โจทก์จำำเลยกำำหนดจัดงำนพิธีสมรสกันในวันที่ 11 พฤศจิกำยน2537 แต่พอถึงเวลำดังกล่ำวไม่มีกำรจัดงำนพิธี สมรส แต่โจทก์และจำำเลยก็ยังมคีวำมประสงค์ทจี่ะสมรสกนั อยเู่พียงแต่มีกำรเลื่อนไป โดยทงั้สองยังมคีวำมสมัพันธ์กัน ด้11/วย11/ดี14 ตลอดมำ ในช่วงนนั้ยังถือไมไ่ด้ว่ำจำำเลยผิดสัญญำห62 มั้น แต่ต่อมำวันที่ 19 พฤศจิกำยน 2539 จำำเลยจัดงำนพิธีสมรส
  • 63. กำรหมั้นที่ฝ่ำฝืนเงื่อนไขกำรสมรสจะมีผลทำำให้กำรหมั้นเป็น โมฆะหรือไม่ ๑.อำยุไมค่รบ ๑๗ ปีบริบูรณ์ ตกเป็นโมฆะ ๒.ชำยหรือหญิงเป็นคนวิกลจริต เป็นช่องทำงฝ่ำฝืน มำตรำ ๑๔๔๙ เป็นโมฆะตำม ม.๑๕๐ ๓.ชำยหญงิเป็นญำติสืบสำยโลหิตโดยตรงลงมำหรือขึ้นไป เป็นช่องทำงฝ่ำฝืนมำตรำ ๑๔๕๐ เป็นโมฆะตำม ม.๑๕๐ ๔.กำรหมั้นระหว่ำงบุตรบุญธรรมกับผู้รับบุตรบุญธรรมโดย มิได้จดทะเบียนยกเลิกกำรรับบุตรบุญธรรม ไมขั่ดต่อควำม สงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี 11/11/14 63
  • 64. ๕.ชายหรือหญงิทมี่คีู่สมรสอยู่แล้วไปทำาสัญญาหมั้น ฝ่าฝืน มาตรา ๑๕๐ คำาพิพากษาศาลฎีกาที่ 125/2521 จำาเลยมภีริยาโดย ชอบด้วยกฎหมายอยแู่ล้ว ได้มาอยกูิ่นกบัโจทก์ฉันสามภีริยา ต่อมาโจทก์จำาเลยได้ตกลงเลิกอยู่กินด้วยกันโดยจำาเลยจะให้ เงินโจทก์ 40,000 บาท และได้ขอใหพ้นักงานสอบสวนจด บันทึกข้อตกลงนั้นไว้ในรายงานประจำาวันแล้วโจทก์จำาเลย ลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน บันทกึข้อตกลงดังกล่าวชอบด้วย กฎหมาย มผีลสมบูรณ์ให้จำาเลยต้องปฏบิัติตามไม่มี วัตถุประสงค์ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชนไมเ่ป็นโมฆะ ตามบันทกึข้อตกลงของโจทก์จำาเลยมคีวามว่า โจทก์ จำาเลยเป็นสามภีริยากันโดยไมไ่ด้จดทะเบียนสมรส อยกูิ่น ด้วยกันมาประมาณ 7 ปีต่อมาไม่เข้าใจกันทงั้สองฝ่ายจึง ประสงค์ขอเลิกจากการเป็นสามภีริยา โดยจำาเลยขอให้เงิน โจ11/ท11/ก์ 14 40,000 บาท เป็นค่าทไี่ด้อยกูิ่นกันมา บันทกึดังกล่า64 ว เป็นการระงับข้อพิพาทที่มีอยู่หรือจะมีขึ้นเนื่องจากความไม่
  • 65. คำาพพิากษาฎีกาที่ 3972/2527 โจทก์จำาเลย ตกลงยินยอมเป็นสามีภรรยากันตั้งแต่วันทำา สญัญา โดยจำาเลยจะจ่ายเป็นเงนิให้โจทก์เปน็ เงนิเดือนละ ๑,๐๐๐ บาท หากโจทก์มีบตุรกับ จำาเลย จำาเลยต้องจดทะเบยีนรับรองบตุรต่อ นายอำาเภอท้องที่ เมื่อข้อความในสัญญาแสดง ว่าโจทก์จำาเลยตกลงอยู่กินกันฉันสามีภรรยา โดยไม่ชอบด้วยกฎหมายในขณะที่โจทก์ทราบ ว่าจำาเลยมีภรรยาโดยชอบด้วยกฎหมายอยแู่ล้ว สัญญาดังกล่าวจึงมีวัตถุประสงค์ขัดต่อความ สงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน 11/11/ต14 กเปน็โมฆะตาม ป.พ.พ. ๑๕๐ โจทก์ฟ้อง 65
  • 67. ของหมั้น มาตรา 1437 การหมนั้จะสมบูรณ์เมื่อ ฝ่ายชายได้สง่มอบหรือโอนทรัพย์ สนิอันเปน็ ของหมั้นให้แก่หญิง เพื่อเปน็หลักฐานว่าจะ สมรสกับหญิงนั้น เมื่อหมั้นแล้วให้ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่ หญิง 11/11/14 67
  • 68. ทรัพย์สิน โอนหรือส่งมอบ กรรมสิทธิ์ ทรัพย์สิน จะให้ ไม่เป็นของหมั้น 11/11/14 68
  • 69. คำาพพิากษาฎีกาที่ ๑๐๔๙/๒๔๙๒ ฝ่ายหญิง ได้ตกลงเรียกทองหมั้นหนัก ๑๒ บาท ฝ่ายชาย ได้มอบทองหนัก ๖ บาทไว้ก่อน สว่นอีก ๖ บาท ได้มอบโฉนดซึ่งมีเนื้อที่ 108 ไร่ ให้ยึดไว้แทน โดยตีราคาเนื้อที่นาในโฉนดนี้เพยีง ๕๐ ไร่ เท่ากับทอง ๖ บาทเมื่อชายตายโดยยังไม่ได้จด ทะเบยีนสมรส หญงิก็ได้แต่เก็บเอาทองหมั้น ๖ บาทที่ได้มอบไว้แล้วนั้น (มาตรา 1440)ส่วน ทองอีก ๖ บาทที่ยังไม่ได้มอบหาใช่ของหมั้นไม่ หญงิจึงจะเก็บเอาไว้ก็ไม่ได้ เพราะไม่ได้อยู่ที่ หญิงจะเรียกเอาก็ไม่ได้เพราะสัญญาหมั้นเลิก 11/11/กั14 นเพราะความตายของชายแล้ว ไม่มีบท 69
  • 70. ลักษณะสำาคัญของของหมั้น ๑.ต้องเป็นทรัพย์สิน ๒.ต้องเป็นของที่ฝ่ายชายมอบให้แก่ฝ่าย หญิง ๓.ต้องให้ไว้ในเวลาทำาสัญญาหมั้นและ หญิงได้รับแล้ว ๔.ต้องให้ไว้เพื่อเป็นหลักฐานว่าจะสมรส กับหญิงและจะต้องให้ก่อนสมรส 11/11/14 70
  • 71. คำาพิพากษาฎกีาที่ ๑๕๐๗/๒๕๓๑ เมื่อโจทก์กับจำาเลยที่ ๑ เพียงแต่ ประกอบพิธีสมรสโดยมิได้เจตนาจะ จดทะเบยีนกนัตามกฎหมาย เงินที่ โจทก์อ้างว่าได้มอบให้แก่ฝ่ายหญิง จึงหาได้เป็นของหมั้นและสินสอด ตามกฎหมายไม่ แมต้่อมาจำาเลยที่ ๑ จะไม่ยอมจดทะเบียนสมรสกับ 11/โจ11/14 ทก์ โจทกก์็ไมมี่สิทธเิรียกคนื 71
  • 72. คำาพิพากษาฎีกาที่ ๕๙๒/๒๕๔๐ โจทก์แต่งงานกับ จำาเลยที่ ๓ โดยวิธีการผูกข้อมือ มิได้มีเจตนาจะจด ทะเบียนสมรสตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ดังนั้น ทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จำาเลยไม่ใช่ของ หมั้น เพราะไม่ใช่ทรัพย์สินที่โจทก์มอบให้จำาเลยทั้ง สามเพื่อเป็นหลักฐานการหมั้น และประกันว่าจะสมรส กับจำาเลยที่ ๓ และไม่ใช่สินสอดตามมาตรา ๑๔๓๗ ส่วนการที่จำาเลยที่สามไม่ยอมหลับนอนนั้นเป็นสิทธิ ของจำาเลยที่ ๓ เพราะการสมรสของโจทก์กับจำาเลย ที่ ๓ จะทำาได้เมื่อจำาเลยที่ ๓ ยินยอม เป็นสามีภรรยา กับโจทก์ ตามมาตรา ๑๔๕๘ การที่จำาเลยที่ ๓ ไม่ ยอมหลับนอนกับโจทก์ไม่เป็นการละเมิดต่อโจทก์ 11/11/ห14 รือผิดสัญญาหมั้น โจทก์จึงไม่มีสทิธิเรียกค่า 72 ทดแทนหรือค่าเสียหายจากจำาเลยที่สามตามมาตรา
  • 73. คำาพิพากษาฎีกาที่ ๑๘๕๒/๒๕๐๖ จำาเลยขอหมั้น น้องสาวโจทก์เพื่อให้แต่งงานกับบุตรจำาเลย แต่ จำาเลยไม่มีเงิน จึงทำาสัญญากู้ให้โจทก์ยึดถือไว้และ โจทก์จำาเลยตกลงกันว่าถ้าจำาเลยปลูกเรือนหอ โจทก์จะลดเงินกู้ให้บ้างตามราคาของเรือนหอ ต่อ มาจำาเลยไม่ปลูกเรือนหอและบุตรจำาเลยไม่ยอม แต่งงานกับน้องสาวโจทก์ โจทก์จึงฟ้องเรียกเงิน ตามสญัญากู้ สัญญากู้ดังกล่าวนี้เป็นเพียงสัญญาจะ ให้ทรัพย์สนิเป็นของหมั้นกันในวันข้างหน้า ยังไม่ ได้มีการมอบทรัพย์สินให้แก่กันอย่างแท้จริง เจตนา อันแท้จริงของคสูั่ญญาก็มิได้มุ่งต่อการให้ สญัญากู้ ตกเป็นของอีกฝ่ายหนึ่งในสภาพของหมั้นและไม่มี 11/ค11/วา14 มประสงค์ให้ตกเป็นสิทธิแก่หญิงเมื่อสมรสแล้ว 73 ในกรณีเช่นนี้ถือไม่ได้ว่ามีการให้ของหมั้นกันตาม
  • 74. คำาพิพากษาฎีกาที่ ๘๗๘/๒๕๑๘ อัน สินสอดนั้นตามกฎหมายเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้ แก่บิดามารดาหรือผู้ปกครองฝ่ายหญิง เพื่อตอบแทน การที่หญิงยอมสมรสและเมื่อมีข้อตกลงจะให้สินสอด แก่กันแล้ว การให้สินสอดภายหลังการสมรสย่อม ทำาได้เพราะไม่มีอะไรห้ามซึ่งต่างกับของหมั้นอันจะ ต้องให้กันในเวลาทำาสัญญาหมั้นคือก่อนสมรส บิดามารดาโจทก์จัดให้โจทก์และ ว. ทำาพิธี แต่งงานกัน และโจทก์เต็มใจยอมสมรสมารดาโจทก์ ได้เตือนให้โจทก์และ ว ไปจดทะเบียนสมรส แต่ทั้ง สองคนละเลยไม่ดำาเนินการจดทะเบียนโดยว่าจะไป จดวันหลังก็ได้ ครั้นอยู่ด้วยกัน ๓ เดือนก็มีเหตุต้อง เลิ11/ก11/ร้า14 งกันไปโดยไม่ได้จดทะเบียน ดังนจี้ะถือว่าฝ่า74 ย หญิงผิดสัญญาฝ่ายเดียวย่อมไม่ได้ ชายเรียกสินสอด
  • 75. จำาเลยและ ว. บุตรชายตกลงหมั้นโจทก์และ ตกลงจะให้เงินจำานวนหนึ่งเป็นสินสอดแก่บิดา มารดาโจทก์ในวันสมรส ถึงกำาหนดจำาเลยขอผัดให้ เงินสินสอดภายหลัง มารดาโจทก์ยินยอมให้โจทก์ แต่งงานกับ ว. เพื่อมิให้เสยีพิธี แต่มิได้มีการจด ทะเบียนสมรสกันหลังจากสมรสแล้วจำาเลยขอทำา สัญญากู้ให้มารดาโจทก์แทนเงินสินสอดที่ตกลงจะ ให้ มารดาโจทก์ต้องการเอาเงินนนั้ให้โจทก์ จึงให้ โจทก์ลงชื่อเป็นผู้ให้กู้ในสญัญากู้ ดังนี้ แม้โจทก์กับ ว. จะมิได้จดทะเบียนสมรสกันแต่เมื่อการที่มิได้จด ทะเบียนสมรสนั้น จะถือว่าฝ่ายหญิงผิดสัญญาฝ่าย เดียวไม่ได้แล้ว ชายย่อมเรียกสินสอดคืนไม่ได้ 11/สั11/ญ14 ญากู้จึงมีมูลหนี้เนื่องมาจากเงินสินสอดอันเป็น 75 มูลหนชี้อบด้วยกฎหมาย เมื่อบิดามารดาโจทก์ตกลง