SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ต้น ประชาธิปไตย
ต้น ประชาธิปไตย
ถูก ต ้องแล ้วครับคุณสมาน
ศรีงามในช่วงเวลานั้นไม่มีคอมพิวเตอร์กราฟฟิคเหมือนในปัจจจุบันเป็นเรื่อง
ฮือฮาและรอคอยของขวัญที่เป็นหลักวิชาทางการเมืองเรื่องประชาธิปไตยกันแทบจะ
ทุกคนในหมู่สานุศิษย์ของท่านอาจารย์และหมู่ผู้ปฏิบัติงานการปฏิวัติในแนวทางสันติ
แต่วันนั้นก็เป็นวันสูนเสียที่ยิ่งใหญ่ของเรา ผมยังจาได ้อย่างไม่รู้ลืมแม้วันเวลาจะผ่านไปถึง
20ปีแล ้วก็ตาม เห็นต ้นไม้ประชาธิปไตยทุกครั้งก็เป็นการกระตุ้นเตือนความทรงจาทันที
ถึงเรื่องนี้ด ้วยครับ
♦ต ้น ประชาธิปไตย...ผม(คุณมาน ศรีงาม)เป็นผู้ออกแบบ...อาจารย์สมบูรณ์ สีดาคุณ
กรรมกรแบงค์เป็นผู้สนับสนุนค่าใช ้จ่ายในการพิมพ์...อาจารย์ประเสริฐ
ทรัพย์สุนทรเป็นผู้ตรวจอนุมัติ...เป็น ส.ค.ส.๒๕๓๘พิมพ์เสร็จจากโรงพิมพ์ตอนเช ้าของวันที่๒๕
ธันวาคม ๒๕๓๘ (พิมพ์แถวโรงพิมพ์ศูนย์การค ้าตลาดเจริญรัตน์)
ผมได ้รับจากโรงพิมพ์ตอนเช ้าตรู่...และนาไปให้อาจารย์ประเสริฐ ตรวจในตอนเช ้าประมาณ
9.30 น. ที่บ ้านแถวตลิ่งชัน และท่านได ้อนุมัติทั้งด ้านรูปแบบและเนื้อหา...และให้ส่ง ส.ค.ส.
๒๕๓๘ ออกไปอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะกรรมกรรัฐวิสาหกิจทั่งประเทศ
และเป็นการพูดคุยกับอาจารย์ประเสริฐเป็นครั้งสุดท ้าย...และงานต ้น
ประชาธิปไตยเป็นงานสุดท ้ายที่อาจารย์ประเสริฐ ตรวจและอนุมัติ
และบอกให้เผยแพร่ออกไปมากๆอย่างกว้างขวางทีสุุ่ด (ท่านชื่นชอบมากๆ
ยังถามผมว่า.."อานาจอธิปไตยของปวงชนอยู่ที่ไหน...ผมตอบท่านว่าอยู่ด ้านราก
ฐานครับ...ท่านดูแล ้วก็ร้องอ ้อ...!!! และบอกว่า..ดีมากๆ"...และท่านเพิมเติมเนื้อหาเล็กน้อย
เพื่อให้ถูกต ้องสมบูรณ์
เพื่อนาเอาไปพิมพ์แนบกับภาพต ้นประชาธิปไตยอันเป็นภาคส่วน.."คาอธิบาย"
แม้ว่าจะมีความพยายามคัดค ้านจากฝ่ายกรรมกรบางคนก็ตามเมื่อได ้คุยแลกเปลี่ยนกับอาจารย์ป
ระเสริฐเสร็จแล ้ว...ผมจึงลาท่านอาจารย์ ประเสริฐ เพื่อไปบรรจุซองและจ่าหน้าซอยส่ง
สคส.ต ้นประชาธิปไตยนี้ไปให้กรรมกรรัฐวิสาหกิจ และอื่นๆ โดยนักศึกษาเป็นผู้ดาเนินการ คือ
คุณสมเกียรติ เพ็ชรอริยวงศ์(พระสมเกียรติ์ ปริญญาโนภิกขุ วัดสันติธรรมารามฝรั่งธนบุรี
ตรงข ้ามโรงพยาบาลทหารเรือ) คุณอนุสรณ์ สมอ่อน คุณบุญช่วย เจียมจันทร์ อนันต์
ประพงษ์เป็นต ้น ที่สานักบริษัทพนักงานรักษาความปลอดภัย "บริษัท G-7 จากัด"
ของคุณทรงพล รักษาพันธุ์(จัดตั้งของคุณวันชัย พรหมภา)จนถึงเวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น.
ของวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗
ได ้ยินเสียงโทรศัพท์ดังขึ้น...ผมเป็นผู้รับสาย..ได ้ยินเสียงตามสาย ว่า.."อาจารย์ตายแล ้ว"...!!!
เป็นเสียงของคุณไพทูรย์ เสณีวงศ์ ณ อยุธยา คนใกล ้ชัดอาจารย์ประเสริฐ
ผมถามกลับว่า.."อาจารย์ไหนครับ"...??? ท่านตอบว่า.."อาจารย์ประเสริฐ"...!!!
ผมตกใจมาก...และถามต่อไปว่า.."ตายเมื่อไหร่"...??? คุณไพทูรย์ตอบว่า.."ตายเมื่อประมาณ ๕
โมงเย็นวันนี้"...!!! และผมถามต่อว่า.."ตอนนี้อาจารย์ประเสริฐอยู่ไหน"...???
คุณไพทูรย์ตอบว่า.."อยู่โรงพยาบาลเจ ้าพระยา พระปิ่นเกล ้าฝั่งธนบุรี"...!!! ผมและคุณสมเกียรติ
คุณอนุสรณ์ คุณบุญช่วย และคุณอนันต์ ประพงษ์ รีบขับรถจากซอยอุดมสุขบางนา(ซอย ๑๐๓)
มุ่งตรงไปที่โรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...พอไปถึงเห็นร่างอาจารย์ประเสริฐนอนอยู่บนเตียงเ
หล็ก..ท่านใส่ชุดเดิมคือ "เสื้อเชิร์ตลายแขนสั้น และกางเกงขาสั้น" นอนลืมตาอยู่
แต่นัยตาไม่มีแวว เหมือนนัยตาเมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗
ที่ท่านนอนหลับบนรถผมตอนขากลับจากงานเลี้ยงส่งท ้ายปีเก่าต ้อนรับปีใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๘
ที่บ ้านคุณอุระ หวังอ ้อมกลาง ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลอาญา ซึ่งคุณสัญชัย
คงมงคล..สมาชิกสภาปฏิวัติแห่งชาติเป็นผู้ดูแลบ ้านคุณอุระแถวๆ ลาดหลุมแก ้ว
"ผมสวดกอดอาจารย์ประเสริฐด ้วยความรักและความอาลัยอย่างสุดซึ้ง"...ต่อมาพลโท ประสิทธิ์
นวาวัฒน์ ผู้ประสานงานระหว่างอาจารย์ประเสริฐ กับ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ์
มาถึงโรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...เมื่อเห็นอาจารย์นอนสงบนิ่งไม่หายใจ
อยู่บนเตียงเหล็ก...เสธ.ประสิทธิ์ถึงกับ.."ร้องไห้โฮ"...!!!
และท่านตั้งข ้อสงสัยว่า.."ใครวางยาอาจารย์ประเสริฐ" ??? เพราะเล็บมีสีดา
ฯลฯ...แต่แพทย์และตารวจยืนยันว่า.."อาจารย์ประเสริฐ ตายเพราะโรคหัวใจวายเฉียบพลัน"
และญาติก็ไม่ติดใจใดๆ ุ่จึงนาศพอาจารย์ประเสริฐ
ไปตั้งเพื่อทาพิธีอาบน้าศพและบาเพ็ญกุศลที่.."วัดเจ ้าอาม" ตลิ่งชัน ธนบุรี
และเมื่อบาเพ็ญกุศลศพแล ้ว...ก็เก็บศพไว้ ๑ ปี แล ้วขอพระราชทานเพลิงศพอีก ๑ ปี ต่อมา
ที่วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน โดยจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นประธาน โดยคุณอนุสรณ์ สมอ่อน
และคุณไชยยงค์ รันตวัน ได ้บวชหน้าไฟให้อาจารย์ประเสริฐ มี ศาสตราจารย์พ.อ.ชวัติ
พิสุทธิพันธ์ ประธานทหารประชาธิปไตย
เป็นประธานดาเนินการพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
หมายเหตุ...ตอนที่เกิดอาการหัวใจวายเฉียบพลันอยู่บนโต๊ะเขียนหนังสือขั้นสอง
บ ้านตลิ่งชันเมื่อประมาณเวลาเย็น ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. เกิดความขัดแย ้งกันขึ้นเป็น ๒ ฝ่าย
คือ...
- ฝ่ายภรรยาของท่าน...ต ้องการให้หมอจากโรงพยาบาลเดินมารักษาอาจารย์ประเสริฐ
ที่บ ้านโดยรักษาพยาบาลแบบฉุกเฉินที่มีเครื่องมือพร้อมสรรพ
- ฝ่ายคนใกล ้ชิดท่าน(คุณไพทูรย์)...ต ้องการให้อุ้มอาจารย์ประเสริฐใส่รถ
แล ้วรีบขับไปที่โรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า(อันเป็นโรงพยาบาลประจาตัว)
ในที่สุดฝ่ายภรรยาอาจารย์ประเสริฐชนะ
แจ ้งรถพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...ให้หมอนาเครื่องมือโดยรถโรงพยาบาล(ฉุก เฉิน)
เดินทางมาหาอาจารย์ประเสริฐ ที่อยู่บ ้านซอยตลิ่งชั่น
...แต่เวลาผ่านไปนาน...เพราะรถติดมาก..หรือ..หมออาจจะมาช ้าไป อาจารย์ประเสริฐ
ซึ่งหลานๆ อุ้มท่านอยู่ หลานคนที่อุ้มอาจารย์ประเสริฐ
ได ้บอกว่าเลือดออกปากและจมูกของอาจารย์ประเสริฐ...และในที่สุดท่านได ้พูด
เป็นครั้งสุดท ้ายว่า..."คงไม่ทันแล ้วนะ...!!!" ...และท่านก็แน่นิ่งไป ต่อมาอีกประมาณ ๕ นาที
หมอและรถพยาบาลมาถึงบ ้านตลิ่งชัน...หมอพยายามปั๊มหัวใจอาจารย์ประเสริฐ
แต่ก็ไม่ตอบสนอง
จึงรีบนาขึ้นรถพยาบาลไปโรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...เมื่อไปถึงก็พยายาม
ปั๊มหัวใจให้อ๊อกซิเจน และฉีกยากระตุ้น...แต่ก็ไม่ตอบสนองแต่อย่างใดทั้งสิ้น
จนในที่สุดแพทย์ก็ลงมติว่า.."อาจารย์ประเสริฐตายแน่นอนแล ้ว"...จึงเลิกการ ช่วยชีวิตฉุกเฉิน
และนาร่างไร้วิญญาณของอาจารย์ประเสริฐมารอญาติอยู่ณ ห้องรอญาติ
อนึ่ง...พลเอกชวลิต..ได ้กล่าวภายหลังว่า.."ถ ้าอาจารย์ประเสริฐ
อยู่ในการดูแลของหมอโรคนี้...อาจารย์ประเสริฐจะไม่ตายง่ายๆอย่างนั้น"...!!!
แม ้ร่างกายของอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร จะตายไปตามกฎแห่งสัจธรรม.."เกิด แก่
เจ็บ ตาย" ตามหลัก อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา...ความคิดอันเป็นสัจธรรมที่ถูกต ้องของท่านยังอยู่
และเติบโต และมีชัยชนะ ขึ้นทุกวันๆ...ต ้นประชาธิปไตยก็บังเกิดขึ้นทั่วทั้งแผ่นดินอันกว้างใหญ่ไ
ฟศาล บานสะพรั่ง"...!!!
ความหมายของต้นประชาธิปไตย
♦รายละเอียดในความหมายของต ้นไม้ประชาธิปไตย ก็คือทั้งหมด ดังนี้ ครับ
ประชาธิปไตยคืออะไร
การปฏิวัติประชาธิปไตย คือการเปลี่ยนแลงระบอบเผด็จการเป็นระบอบประชาธิปไตย
หรือยกเลิกระบอบเผด็จการและสถาปนาระบอบประชาธิปไตยขึ้นแทน
หลายคนกล่าวว่า ประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยอยู่แล ้ว จึงไม่ต ้องปฏิวัติประชาธิปไตย
บางคนกล่าวว่า ประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยที่ไม่สมบูรณ์
จึงเพียงแต่พัฒนาระบอบประชาธิปไตยเท่านั้นไม่ต ้องปฏิวัติประชาธิปไตย
จริงทีเดียว ถ ้าประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยอยู่แล ้ว
ไม่ว่าจะสมบูรณ์หรือไม่สมบูรณ์ก็ตาม ก็ไม่ต ้องปฏิวัติประชาธิปไตย
แต่ประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยอยู่แล ้วจริงหรือ ?
ระบอบประชาธิปไตยนั้นแสดงออกโดยการปกครองประชาธิปไตยหรือรัฐบาลประชาธิปไตย
(Democratic Government) และการปกครองประชาธิปไตยนั้น
จะต ้องเป็นไปตามหลักของการปกครองประชาธิปไตย ดังต่อไปนี้
1. อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน (Popular Sovereignty) หมายความว่า
ประชาชนเป็นเป็นเจ ้าของอานาจสูงสุดของประเทศร่วมกัน มิใช่คนส่วนใดส่วนหนึ่ง
ซึ่งเป็นส่วนน้อยผูกขาดอานาจไว้
ดังที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล ้าเจ ้าอยู่หัวทรงคัดค ้านคณะราษฎร์ว่า “
ข ้าพเจ ้าสมัครใจจะสละอานาจของข ้าพเจ ้าให้แก่ราษฎรทั้งหลาย
แต่ไม่ยินยอมยกอานาจของข ้าพเจ ้าให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือคณะหนึ่งคณะใด ”
และหลักการอานาจอธิปไตยปวงชนนั้น แสดงออกด ้วยนโยบายบริหารประเทศ
ซึ่งรักษาผลประโยชน์ของประชาชน มิใช่รักษาผลประโยชน์ของคนส่วนน้อย
2. เสรีภาพ (Freedom) หมายความว่า บุคคลมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการใช ้สิทธิต่าง ๆ
ทั้งในทางส่วนตัว ในทางสังคมและในทางการเมือง เช่น ในร่างกาย ในทรัพย์สิน ในการศึกษา
ในการนับถือศาสนา ในการชุมนุม ในการตั้งสมาคม ในการตั้งพรรคการเมือง
และในการเปลี่ยนรัฐบาล เป็นต ้น
3. ความเสมอภาค (Equality) หมายความว่า บุคคลมีความเท่าเทียมกันในด ้านต่าง ๆ
โดยเฉพาะถือความเท่าเทียมกัน ทั้งในทางกฎหมาย และในทางโอกาส
4. หลักกฎหมาย (Rule of Law) คือหลักนิติธรรม ซึ่งใช ้เป็นเป็นมาตรฐานของการออกกฎหมาย
เช่น หลักที่ว่าผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดให้สันนิษฐานก่อนว่า เป็นผู้สุจริต
ศาลเท่านั้นเป็นผู้พิพากษาตัดสินกฎหมาย ฯลฯ
กฎหมายใดซึ่งขัดกับหลักกฎหมายย่อมเป็นโมฆะ
5. รัฐบาลจากการเลือกตั้ง (Elected Government) หมายความว่า ฝ่ายนิติบัญญัติ
และฝ่าบริหารต ้องมาจากการเลือกตั้งทั่วไป
เหล่านี้ คือหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองซึ่งเป็นไปตามหลักการเหล่านี้
ก็เป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย และหลักการที่เป็นหัวใจ คือ
อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ถ ้ามีหลักการข ้อนี้แล ้ว ถึงจะยังขาดข ้ออื่น ๆ
อยู่บ ้างก็เป็นระบอบประชาธิปไตย แต่ถ ้าไม่มีข ้อนี้ ถึงจะมีข ้ออื่น ๆ ก็เป็นระบอบเผด็จการ
เช่นประเทศไทยในปัจจุบันเป็นระบอเผด็จการที่มีเสรีภาพพอสมควร ที่เรียกว่า
ประชาธิปไตยครึ่งใบ เพราะว่าถึงจะมีเสรีภาพ มีความเสมอภาค มีหลักกฎหมายอยู่บ ้าง
และมีการเลือกตั้งแต่อานาจอธิปไตยมิได ้เป็นของปวงชน ฉะนั้น การปกครองของประเทศไทย
จึงไม่เป็นระบอบประชาธิปไตย แต่เป็นระบอบเผด็จการ
(5) อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน เป็นหลักการปกครองหลักที่ 1 ของระบอบประชาธิปไตย
และเป็นหัวใจของระบอบประชาธิปไตย แต่ในประเทศไทย
มีการอธิบายกันอย่างกว้างขวางว่าหัวใจของระบอบประชาธิปไตย คือ เสรีภาพของประชาชน
ซึ่งเป็นการชักจูงประชาชนให้เข ้าใจผิดต่อระบอบประชาธิปไตยอย่างร้ายแรง
จนไม่รู้ว่าระบอบประชาธิปไตยคืออะไร การปกครองทั้งหลายย่อมมีอานาจ
การปกครองบ ้านย่อมมีอานาจของบ ้าน การปกครองของวัดย่อมมีอานาจของวัด
การปกครองย่อมมีอานาจของโรงเรียน ไปจนถึงการปกครองประเทศ ย่อมมีอานาจของประเทศ
ในบรรดาอานาจทั้งหลายเหล่านั้น อานาจของประเทศเป็นอานาจสูงสุดคือสูงถึงขนาดฆ่าคนได ้
และสิทธิ์ขาดโต ้แย ้งมิได ้จึงนิยมเรียกกันว่าอานาจสูงสุดของประเทศ
ดังที่ใช ้ในรัฐธรรมนูญฉบับแรก และต่อมาเรียกให้เป็นศัพท์ว่าอานาจอธิปไตย
ซึ่งใช ้ในรัฐธรรมนูญฉบับต่อ ๆ มา จนถึงปัจจุบัน อานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยนั้น
มีอานาจเดียวแต่แสดงออกเป็น 3 ด ้าน คือ (1) อานาจนิติบัญญัติ (2) อานาจบริหาร (3)
อานาจตุลการ อานาจในการปกครองย่อมมีเจ ้าของ และเจ ้าของอานาจก็คือผู้ปกครอง นัยหนึ่ง
อานาจย่อมเป็นของผู้ปกครอง อานาจของบ ้านเป็นของเจ ้าบ ้าน อานาจของวัดเป็นของสมภาร
อานาจของโรงเรียนเป็นของครูใหญ่
จนถึงอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของผู้ปกครองประเทศ
ผู้ปกครองประเทศนั้นกล่าวอย่างกว้างมี 2 ชนิด คือ ชนส่วนน้อยและปวงชน (ประชาชน)
ถ ้าชนส่วนน้อยเป็นผู้ปกครองประเทศ
อานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยก็เป็นของชนส่วนน้อย ถ ้าปวงชนเป็นผู้ปกครองประเทศ
อานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ถ ้าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของชนส่วนน้อย ก็เป็นระบอบเผด็จการ
ถ ้าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนก็เป็นระบอบประชาธิปไตย
และแต่ละระบอบต่างก็มีหลายรูป
โดยสาระสาคัญแล ้วระบอบเผด็จการหรือระบอบประชาธิปไตยนั้น ได ้ได ้หมายความอย่างอื่น
แต่หมายความว่า อานาจหรืออานาจอธิปไตยเป็ นของชนส่วนน้อยหรือเป็นของปวงชนเท่านั้น
แต่ชนส่วนน้อยหรือปวงชน ซึ่งเป็นเจ ้าของอานาจของประเทศหรืออานาจประชาธิปไตยนั้น
ไม่ได ้เป็นผู้กุมอานาจโดยตรง แต่มีผู้แทนเป็นผู้กุมอานาจ และผู้แทนก็คือคณะการเมือง
กลุ่มการเมือง หรือพรรคการเมือง
ซึ่งเข ้าไปกุมองค์กรแห่งอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตย อันได ้แก่ รัฐสภา
คณะรัฐมนตรีและศาล เพื่อใช ้องค์กรทั้ง 3 นี้รักษาผลประโยชน์ของผู้ที่ตนแทน
ถ ้าแทนชนส่วนน้อยก็ใช ้องค์กรเหล่านี้รักษาผลประโยชน์ของชนส่วนน้อย
ถ ้าแทนปวงชนก็ใช ้องค์กรเหล่านี้รักษาผลประโยชน์ของปวงชน
ทั้งนี้จะรู้ได ้ด ้วยนโยบายของรัฐบาลเป็นสาคัญ
ถ ้านโยบายของรัฐบาลรักษาผลประโยชน์ของชนส่วนน้อย
ก็แสดงว่าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของชนส่วนน้อย
ถ ้านโยบายของรัฐบาลรักษาผลประโยชน์ของปวงชน
ก็แสดงว่าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ในปัจจุบันอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาด
ซึ่งเป็นชนส่วนน้อย ฉะนั้น ไม่ว่านโยบายใด ๆ ล ้วนแต่มุ่งรักษาผลประโยชน์ของชนส่วนน้อย
โดยไม่คานึงถึงความเดือดร้อนของประชาชน ฉะนั้น
จึงต ้องเปลี่ยนมืออานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยจากของกลุ่มผลประโยชน์ผูก ขาด
มาเป็นของปวงชน เพื่อให้มีรัฐบาลที่ดาเนินนโยบายรักษาผลประโยชน์ของประชาชน
การเปลี่ยนมืออานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเช่นนี้
คือหัวใจของการเปลี่ยนระบอบเผด็จการเป็นระบอบประชาธิปไตย
คือหัวใจของการปฏิวัติประชาธิปไตย
(6) บุคคลมีเสรีภาพสมบูรณ์
บุคคลมีเสรีภาพสมบูรณ์ เป็นหลักการปกครองหลักที่ 2 ของระบอประชาธิปไตย
เป็นเป็นหลักคู่กับอานาจอธิปไตยของปวงชน ซึ่งเป็นหลักการปกครองที่ 1
ของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพ คือสิทธิ
คือสิทธิในการคิดและในการกระทาที่ปราศจากกาพันธนาการไม่ว่าจะเป็นสิทธิทาง ส่วนตัว
หรือทางการเมือง สิทธิทางส่วนตัว เช่น สิทธิในชีวิต สิทธิในทรัพย์สิน
สิทธิในการแสวงหาความสุข ฯลฯ สิทธิทางการเมือง เช่น สิทธิในการเลือกลัทธิทางการเมือง
สิทธิในการเลือกตั้ง สิทธิในการเปลี่ยนรัฐบาล ฯลฯ
การที่บุคคลใช ้สิทธิโดยปราศจากพันธนาการ คือการที่บุคคลมีเสรีภาพ
บุคคลย่อมมีเสรีภาพไม่ว่าภายใต ้ระบอบใด ๆ
เพราะบุคคลไม่สามารถดารงอยู่ได ้โดยปราศจากเสรีภาพอย่างสิ้นเชิง
ต่างแต่ว่าเสรีภาพในกระบอบประชาธิปไตยไม่ว่าในรูปใด ๆ เป็นเสรีภาพบริบูรณ์
เสรีภาพในระบอบเผด็จการไม่ว่ารูปใด ๆ เป็นเสรีภาพไม่บริบูรณ์ เช่น
ในประเทศสวีเดนเป็นเสรีภาพบริบูรณ์ ในประเทศไทยเป็นเสรีภาพไม่บริบูรณ์ เพราะ
สวีเดนเป็นระบอบประชาธิปไตย ไทยเป็นระบอบเผด็จการ เสรีภาพบริบูรณ์นั้น
ไม่ใช่บริบูรณ์อย่างไม่มีขอบเขต แต่บริบูรณ์ภายในขอบเขต
ถ ้าเลยขอบเขตก็กลายเป็นไม่มีเสรีภาพ เช่น
ผู้ขับรถยนต์มีเสรีภาพสมบูรณ์ในการขับรถยนต์ตามถนนแลพะตามกฎจราจร
ถ ้าขับรถยนต์ออกนอกถนนหรือไม่ถือกฎจราจรก็ไม่มีเสรีภาพในการขับรถยนต์
เสรีภาพบริบูรณ์ภายในขอบเขตคือหลักธรรมชาติของเสรีภาพ
และขอบเขตของเสรีภาพบริบูรณ์คือ
การไม่ล่วงล้าเสรีภาพของบุคคลอื่นและไม่เป็นปรปักษ์ต่อส่วนรวม ฉะนั้น
คติที่ถือว่าเสรีภาพบริบูรณ์ คือเสรีภาพไม่มีขอบเขตจึงเป็นคติที่ผิดธรรมชาติ
จึงไม่ใช่คติของลัทธิประชาธิปไตย แต่เป็นคติของลัทธิอนาธิปไตย
การปฏิบัติตามคติของลัทธิอนาธิปไตย คือการทาลายเสรีภาพนั่นเอง
ในบรรดาเสรีภาพทั้งปวงนั้น เสรีภาพทางความคิดเป็นรากฐาน
คนเราถ ้าไม่มีเสรีภาพทางความคิด ก็เท่ากับไม่มีเสรีภาพและเท่ากับหมาดความเป็นคน ฉะนั้น
ระบอบประชาธิปไตยซึ่งยึดถือหลักธรรมชาติของเสรีภาพ
จึงทาให้เสรีภาพบริบูรณ์แก่บุคคลในการนับถือศาสนา และเชื่อถือลัทธิการเมือง
ในขอบเขตที่ไม่กระทาการอันขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม ในระบอบประชาธิปไตย
การที่บุคคลได ้แสดงความคิดเห็นอย่างเสรีย่อมทาให้ได ้มาซึ่งแนวความคิดที่ดี ที่สุด
อันจะส่งผลให้ได ้มาซึ่งนโยบายที่ดีและนาความผาสุกมาสู่คนส่วนรวม
และการให้บุคคลมีเสรีภาพทาให้บุคคลเกิดความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
ฉะนั้นในระบอบประชาธิปไตยซึ่งบุคคลมีเสรีภาพบริบูรณ์
ประชาชนจึงมีจิตสานึกในการรักษาระเบียบวินัยด ้วยความสมัครใจ อานาจอธิปไตย
เป็นหลักคู่กับเสรีภาพในฐานะที่เสรีภาพขึ้นต่ออานาจอธิปไตย
เพราะผู้ปกครองย่อมให้เสรีภาพย่างเต็มที่แก่ตนเองเสมอไป ดังนั้น
ในระบอบเผด็จการซึ่งอานาจอธิปไตยเป็นของคนส่วนน้อย ชนส่วนน้อยจึงมีเสรีภาพอย่างเต็มที่
และในระบอบประชาธิปไตยซึ่งอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน บุคคลทั่วไปจึงมีเสรีภาบริบูรณ์
ในประเทศปัจจุบัน อานาจอธิปไตยเป็นของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดซึ่งเป็นชนส่วนน้อย
เสรีภาพอย่างเต็มที่จึงมีแก่เฉพาะบุคคลในกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดเท่านั้น
บุคคลทั่วไปขาดเสรีภาพอย่างมากมาย ดังนั้น จึงต ้องทาการปฏิวัติประชาธิปไตย
เปลี่ยนอานาจอธิปไตยจากคนส่วนน้อยมาเป็นของปวงชน
เพื่อเสรีภาพบริบูรณ์จะได ้มีแก่บุคคลทั่วไปอย่างเสมอหน้ากัน
(7) ความเสมอภาค
ความเสมอภาค
เป็นหลักการปกครองอีกหลักหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยต่อจากอานาจอธิปไตเป็นของ
ปวงชนและบคคุลมีเสรีภาพบริบูรณ์ ความเสมอภาค คือว่าเท่าเทียมกันของคนทุกคน
ลัทธิประชาธิปไตยยึดหลักธรรมชาติของมนุษย์ว่า
มนุษย์ทุกคนเมื่อเกิดมาแล ้วย่อมมีความทียมกันในความเป็นมนุษย์
แต่มนุษย์แต่ละคนเมื่อเกิดมาแล ้วไม่เหมือนกัน บางคนแข็งแรง บางคนอ่อนแอ
บางคนฉลาดมาก บางคนฉลาดน้อย บางคนมีความสามารถมาก บางคนมีความสามารถน้อย
บางคนมีความทะเยอทะยานมาก บางคนมีความทะเยอทะยานน้อย ดังนั้น
การที่จะกาหนดให้ทุกคนมีความเท่าเทียมกันในทุกสิ่งทุกอย่างจึงหขัดกับหลัก
ธรรมชาติของมนุษย์และดังนั้น เพื่อนุวัติตามธรรมชาติของมนุษย์
ระบอบประชาธิปไตยจึงกาหนดว่าเมื่อประชาชนทุกคนเป็นเจ ้าของอานาจสูงสุดของ
ประเทศหรืออานาจอธิปไตยแล ้ว ประชาชนทุกคนจึงมีความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกัน
ในการแสดงออกซึ่งความเป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตยนั้น
ความหมายโดยสาระสาคัญของความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยคือคนทุกคนมีความเท่า
เทียมกันในการแสดงออกซึ่งความเป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตย แบ่งออกเป็น 3 ประการ คือ
1. ความเสมอภาคในกฎหมาย (Equality before the law) หมายความว่า
คนทุกคนไม่ว่ากาเนิดใด ศาสนาใด มีฐานะทางเศรษฐกิจ ทางการเมือง ทางสังคม
สูงหรือต่าอย่างใด ย่อมอยู่ภายใต ้กฎหมายเดียวกัน อยู่ภายใต ้ระบบศาลเดียวกัน
ได ้รับการปฏิบัติอย่างเดียวกัน และได ้รับความคุ้มครองจากองค์กรกฎหมายเท่าเทียมกัน
ความแตกต่างในกรณีใด ๆ ระหว่างบุคคลไม่ก่อให้เกิดเอกสิทธิ์อย่างใด
2. ความเสมอภาคในการออกเสียง (Equality in vote) หมายความว่า
บุคคลแต่ละคนมีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนในการเลือกตั้งหรือในการแสดง ประชามติใด ๆ
ได ้เพียงคะแนนเดียว (One man, One vote) และหมายความว่า
คะแนนเสียงของแต่ละคนจะต ้องมีน้าหนัก
หรือคุณค่าในการตัดสินผลการเลือกตั้งหรือการแสดงประชามติเท่าเทียมกัน ตัวอย่างเช่น
การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ถือเอาเนื้อที่ของเขตเป็นเกณฑ์ ไม่ถือเอาจานวนประชากรเป็นเกณฑ์
ทาให้เขตการเลือกตั้งซึ่งอยู่ในเมืองใหญ่ที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน
เยเปรียบเขตเลือกตั้งในชนบทที่มีประชากรเพียง 50,000 คน
และคะแนนเสียงของคนในเมืองใหญ่มีผลในการตัดสินการเลือกน้อยกว่าคะแนนเสียง
ของคนในชนบทถึง 10 เท่า เหตุนี้ศาลจึงตัดสินว่า การแบ่งเขตเลือกตั้งเช่นนี้ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
เป็นต ้น
3. ความเสมอภาคในโอกาส (Equality in Opportunity ) หมายความว่า
คนทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันในการใช ้พลังสมองและความสามารถ
เพื่อเสริมสร้างและยกฐานะทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ และทางสังคมของตน เช่น
ให้โอกาสเท่าเทียมกันแก่ทุกคนที่จะได ้รับการศึกษา ที่จะได ้รับการประกันสังคม
ที่จะได ้ประกอบกิจกรรมในด ้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่จะได ้มีงานทาและได ้
รับการคุ้มครองแรงงาน
และจะต ้องขจัดระบบผูกขาดซึ่งเป็นการทาลายความเสมอภาคในโอกาสของบุคคล เป็นต ้น
ในปัจจุบัน ประชาชน ประชาชนชาวไทยไม่มีความเสมอภาคกัน
ทั้งในฐานะเป็นคนไทยและในฐานะเป็นมนุษย์
เพราะลักษณะการปกครองของไทยและเป็นระบอบเผด็จการ
จึงจาเป็นจะต ้องทาการปฏิวัติประชาธิปไตยให้สาเร็จโดยเร็วเพื่อเปลี่ยนระบอบ
เผด็จการเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อสถาปนาระบอบประชาธิปไตยขึ้นแล ้ว
ประชาชนชาวไทยก็จะมีความเสมอภาคกันในความเป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตย
ซึ่งจะยังผลให้มีความเสมอภาคกันในกฎหมาย ในการออกเสียง ในโอกาส
สมกับที่เป็นคนไทยและเป็นมนุษย์
(8) หลักกฎหมาย
หลักกฎหมาย เป็นหลักการปกครองอีกหลักหนึ่งของระบอบประชาธิปไตย
ต่อจากหลักอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน บุคคลมีเสรีภาพบริบูรณ์ และความเสมอภาค
มีผู้เข ้าใจผิดว่า การปฏิบัติตามกฎหมายคือเครื่องหมายของระบอบประชาธิปไตย
และการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายเป็นการทาลายระบอบประชาธิปไตย ความจริง
ไม่ว่าในระบอบประชาธิปไตยหรือระบอบเผด็จการ ล ้วนแต่จะต ้องปฏิบัติตามกฎหมาย
ไม่มีระบอบใด ๆ จะอนุญาตให้ละเมิดกฎหมาย การปฏิบัติตามกฎหมายเป็นเรื่องของทุก ๆ
ระบอบ หาใช่เป็นเรื่องของระบอบประชาธิปไตยแต่เพียงระบอบเดียวไม่ ฉะนั้น
การปฏิบัติตามกฎหมายจึงหาใช่เครื่องวัดความเป็นระบอบประชาธิปไตยแต่อย่างใด ไม่
กฎหมายย่อมแก ้ไขเปลี่ยนแปลงได ้เสมอ ตามวิถีทางนิติบัญญัติที่ได ้กาหนดไว้ในระบอบนั้น ๆ
กฎหมายฉบับใดถ ้ารัฐบาลไม่ต ้องการจะปฏิบัติตามก็ยกเลิกหรือแก ้ไขเพิ่มเติม
กฎหมายฉบับนั้นเสีย เช่น รัฐบาลต ้องการจะต่ออายุผบ.ทบ. ครั้งที่แล ้ว แต่กฎหมายห้ามไว้
ก็แก ้ไขเพิ่มเติมกฎหมายนั้นเสีย
การกระทาเช่นนี้หาใช่เป็นเครื่องวัดของความเป็นระบอบประชาธิปไตย
หรือของความเป็นระบอบเผด็จการ แต่อย่างใดไม่ หรือกฎหมายฉบับใดไม่เป็นธรรมแก่ประชาชน
และมีการแสดงประชามติคัดค ้านกฎหมายฉบับนั้น
หรือเรียกร้องให้ยกเลิกหรือแก ้ไขเพิ่มเติมกฎหมายฉบับนั้น
ก็เป็นการปฏิบัติตามวิถีทางประชาธิปไตยอย่างหนึ่ง หาใช่เป็น “ กฎหมู่อยู่เหนือกฎหมาย ”
แต่อย่างใดไม่ การโฆษณาว่า การปฏิบัติตามกฎหมาย คือเครื่องหมายของระบอบประชาธิปไตย
และว่าการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคือการทาลายระบอบประชาธิปไตย
และเห็นการแสดงประชามติเป็น “ กฎหมู่อยู่เหนือกฎหมาย ” ไปนั้น
คือความพยายามของระบอบเผด็จการที่จะให้ประชาชนยินยอมอยุ่ใต ้ความกดขี่ตลอดไป
การปฏิบัติตามกฎหมายไม่ใช่เครื่องหมายไม่ใช่เครื่องหมายของความเป็นระบอบ ประชาธิปไตย
เพราะระบอบเผด็จการก็ใช ้กฎหมายเช่นกัน
และระบอบเผด็จการมักจะเน้นหนักให้ปฏิบัติตามกฎหมายที่กดขี่ประชาชน
เครื่องหมายของความเป็นรบอบประชาธิปไตยคือ การปฏิบัติตามหลักกฎหมาย
จะต ้องไม่เอากฎหมาย (Law) ไปปะปนกับหลักกฎหมาย (Rule of Law)
หลักกฎหมาย คือหลักนิติธรรมที่ได ้รับรองแล ้วว่าถูกต ้อง
เป็นกลักที่ผุ้ออกกฎหมายเพื่อประโยชน์ของประชาชนต ้องยึดถือปฏิบัติตาม
แม ้ว่าองค์กรนิติบัญญัติ เช่น สภาผู้แทนราษฎร
จะมีอานาจออกกฎหมายมาจากัดเสรีภาพของบุคคลได ้ก็ตาม
แต่กฎหมายนั้นต ้องสอดคล ้องกับหลักกฎหมาย
สภาผู้แทนราษฎรจะออกกฎหมายขัดต่อหลักกฎหมายมิได ้
ในประเทศที่ไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น อังกฤษ ศาลมีอานาจพิจารณาว่า
กฎหมายใดขัดกับหลักกฎหมายและเป็นโมฆะ ในประเทศที่มีรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษร
เช่น สหรัฐ มีการบัญญัติหลักกฎหมายไว้ในรัฐธรรมนูญ หลักกฎหมายที่สาคัญ ๆ เช่น
(1) ผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิด
ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้สุจริตบุคคลจะถูกล่าวหาว่ากระทาความผิดได ้ก็
ต่อเมื่อการกระทานั้นมีบัญญัติไว้ในกฎหมายแห่งชาติว่าเป็นความผิด
(2) กฎหมายจะมีผลย ้อนหลังไปลงโทษบุคคลมิได ้
(3) ศาลเท่านั้นเป็นผู้มีอานาจพิจารณาว่า
การกระทาใดเป็นการละเมิดกฎหมายและเป็นความผิดต ้องได ้รับโทษ
ฯลฯระบอบใดสามารถออกกฎหมายละเมิดหลักกฎหมายได ้
สิทธิเสรีภาพของประชาชนก็จะถูกทาลาย เช่น กฎหมาย ปร.42 เป็นต ้น นั่นคือ
เครื่องหมายอย่างหนึ่งของระบอบเผด็จการ
ระบอบประชาธิปไตยย่อมยึดถือหลักกฎหมายอย่างเคร่งครัด
องค์กรนิติบัญญัติของระบอบประชาธิปไตยจะออกกฎหมายโดยละเมิดหลักฎหมายมิได ้
(9) การปกครองจากการเลือกต ้อง
การปกครองจากการเลือกตั้ง (Election Government)
เป็นหลักการปกครองหลักสุดท ้ายของระบอบประชาธิปไตย มีนักวิชาการบางคน
เรียกการปกครองจากการเลือกตั้งว่าการปกครองทางผู้แทน
โดยถือว่าการปกครองทางผู้แทนเป็นวิธีการปกครองของประบอบประชาธิปไตยใน ปัจจุบัน
เพราะไม่สามารถจะใช ้การปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยตรงได ้
แต่ประชาชนจะต ้องเลือกผู้แทนขึ้นมาทาการปกครองแทนตน
นักวิชาการเหล่านั้น เอาประชาธิปไตยทางผู้แทน (Representative Democracy )
กล่าวคือประชาธิปไตยทางตรงหมายความถึงระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชนเข ้าไปทา
หน้าที่ออกกฎหมาย หรือระเบียบข ้อบังคับของรัฐด ้วยตนเอง
ดังเช่นที่ปรากฏในบางรัฐของสวิสเซอร์แลนด์ในปัจจุบัน และในนครรัฐสมัยกรีกโรมัน
ส่วนประชาธิปไตยทางผู้แทน
หมายความถึงระบอบประชาธิปไตยที่เลือกผู้แทนโดยการเลือกตั้งทั่วไปให้เข ้าไป
ใช ้อานาจอธิปไตย คืออกกฎหมาย บริหาร และตัดสินคดี
ดังที่ใช ้อยู่ในประเทศประชาธิปไตยทั้งหลายในปัจจุบัน เช่น อังกฤษ อเมริกา อินเดีย ฯลฯ
แต่การปกครองทางผู้แทนนั้น เป็นอีกเรื่อหงนึ่ง
เพราะในยุคปัจจุบันไม่ว่าระบอบประชาธิปไตยหรือระบอบเผด็จการ
ต ้องใช ้การปกครองทางผู้แทน (Representative Government) ด ้วยกันทั้งนั้น
เราะไม่ว่าอานาจอธิปไตยจะเป็นของคนส่วนน้อย (ระบอบเผด็จการ)
หรืออานาจอธิปไตยจะเป็นของปวงชน (ระบอบประชาธิปไตย) ก็ตาม
คนส่วนน้อยและปวงชนต่างก็ไม่สามารถจะเข ้าไปใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรงได ้
เพราะคนส่วนน้อยผู้เป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตยนั้นก็มจานวนเป็นพันเป็นหมื่น
หรือเป็นแสนเป็นล ้านจึงไม่สามารถเข ้าไปใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรง
แต่ต ้องมีคณะปกครองเป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนตน
ซึ่งโดยทั่วไปก็ได ้แก่รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ยิ่งปวงชนด ้วยแล ้วยิ่งมีจานวนเป็นล ้าน ๆ สิบ ๆ
ล ้าน หรือ ร้อย ๆ ล ้าน จึงยิ่งไม่สามารถเข ้าไปใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรง จึงต ้องมีคณะปกครอง
ซึ่งได ้แก่ รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนตนเช่นเดียวกัน
เช่นการปกครองของกลุ่มผลประโยชน์ชั้นสูงของเยอรมัน เมื่อก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
ซึ่งส่วนสาคัญได ้แก่เจ ้าที่ดินใหญ่ นายทุนใหญ่ และนายธนาคารใหญ่
ไม่สามารถใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรง จึงมอบหมายให้รัฐบาลนาซีเป็นผู้ใช ้อานาจแทน
การปกครองของนาซีก็คือการปกครองทางผู้แทนในระบอบเผด็จการฟาสซิสต์
ซึ่งรัฐบาลนานซีเป็นผู้แทนของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดสูงสุดของเยอรมัน
ทั้งนี้ก็เช่นเดียวกับรัฐบาลอังกฤษ รัฐบาลฝรั่งเศส รัฐบาลสวีเดน ฯลฯ
ซึ่งใช ้อานาจอธิปไตยแทนปวงชนจึงเป็นรัฐบาลที่เป็นผู้แทนปวงชน
เป็นการปกครองทางผู้แทนของระบอบประชาธิปไตย
และการปกครองทางผู้แทนหรือรัฐบาลทางผู้แทนนั้น
ไม่หมายความว่าการเลือกตั้งหรือไม่เลือกตั้ง
แต่หมายความว่าใช ้อานาจอธิปไตยรักษาผลประโยชน์ของใครถึงจะเลือกตั้งแต่ถ ้า
รักษาผลประโยชน์ของกลุ่มผูกขาดก็เป็นผู้แทนของกลุ่มผูกขาด ไม่ได ้เป็นผู้แทนของปวงชน
จึงเป็นการปกครองระบอบเผด็จการ แต่ถึงจะไม่เลือกตั้งแต่รักษาผลประโยชน์ของปวงชน
ก็เป็นผู้แทนของปวงจนจึงเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย
เมื่อประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยจากการปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475 นั้น
ไม่มีรัฐบาลจากการเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎรครั้งนั้นเป็นสภาแต่งตั้ง
และคณะรัฐมนตรีครั้งนั้นประกอบด ้วยรัฐมนตรีที่ไม่ได ้มาจากการเลือกตั้ง
แต่รัฐบาลครั้งนั้นเป็นรัฐบาลประชาธิปไตยหรือการปกครองระบอบประชาธิปไตย (Democratic
Government) เพราะว่ารัฐบาลครั้งนั้นเป็นผู้แทนปวงชน
เป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนปวงชนชาวไทย หลังจากนั้นไม่นาน
ระบอบประชาธิปไตยก็เปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและเป็นระบอบเผด็จการมาจนถึง ปัจจุบัน ทั้ง
ๆ ที่มีการเลือกตั้ง และทั้ง ๆ ที่มีรัฐบาลทางผู้แทน แต่เป็นผู้แทนของคนส่วนน้อย
เป็นผู้แทนของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาด ไม่ใช่ผู้แทนปวงชน
จึงเห็นได ้ว่าประชาธิปไตยทางผู้แทน (Representative Democracy) เท่านั้น
เป็นคู่กับประชาธิปไตยทางตรง (Direct Democracy)
การปกครองทางผู้แทนหรือรัฐบาลทางผู้แทน (Representative Government)
ไม่ได ้เป็นคู่กับประชาธิปไตยทางตรง
และการปกครองทางผู้แทนหรือรัฐบาลทางผู้แทนก็ไม่ใช่สิ่งเดียวกับการปกครองจาก
การเลือกตั้งหรือรัฐบาลจากการเลือกตั้ง (Election Government)
ตามที่นักวิชาการมักจะเอาไปปะปนกัน ระบอบประชาธิปไตย
ถือเอาการปกครองจากการเลือกตั้งเป็นกลักการปกครองหลักหนึ่ง แต่จัดเป็นหลักสุดท ้าย
เพราะการปกครองจากการเลือกตั้งนั้นเป็นของกลาง ซึ่งระบอบใด ๆ จะนาไปใช ้ก็ได ้
และระบอบประชาธิปไตยนั้นในบางกรณีก็ไม่มีการเลือกตั้ง
โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรกขชองระบอบประชาธิปไตยไม่สามรถจะมีการเลือกตั้ง
ดังเช่นระยะแรกของระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ภายหลังการปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475
ไม่มีการเลือกตั้ง ต่อเมื่อเข ้ารูปเข ้ารอยแล ้วจึงมีการเลือกตั้ง นอกจากนั้นยังมีการปะปนหลัก
อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน กับ หลักการปกครองจากการเลือกตั้ง
โดยเถือว่าเมื่อมีการเลือกตั้ง ส.ส. เข ้าสภา
และสภาเป็นผู้ตั้งคณะรัฐมนตรีและควบคุมคณะรัฐมนตรี
ก็คือสภาและคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนปวงชนแล ้ว จึงเปลี่ยนคาว่า “
อานาจอธิปไตย เป็นของ ปวงชน ” เป็น “ อานาจอธิปไตย มาจาก ปวงชน ”
ดังที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญเกือบทุกฉบับของประเทศเรา
ซึ่งเป็นการทาลายหลักอันเป็นหัวใจของระบอบประชาธิปไตย
ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีการปกครองจากการเลือกตั้ง แต่อานาจอธิปไตยไม่ได ้เป็นของปวงชน
แต่เป็นของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาด ฉะนั้น
จึงต ้องเปลี่ยนอานาจอธิปไตยของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดมาเป็นอานาจอธิปไตยของ
ปวงชนเสียก่อน การปกครองมากจากการเลือกตั้ง
จึงเป็นหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยได ้ หลักการปกครองของระบอบประชาธิปไตย มี 5
ประการ คือ 1. อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน 2 เสรีภาพบริบูรณ์ของบุคคล 3. ความเสมอภาค
4. หลักกฎหมาย 5. การปกครองจากการเลือกตั้ง แต่หลักที่เป็นหัวใจของระบอบประชาธิปไตย
คืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน แม้ว่าจะมีหลักอื่น ๆ
แต่ไม่มีหลักอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนก็ไม่ใช่ระบอบประชาธิปไตย
ฉะนั้นจะดูว่าระบอบใดเป็นระบอบประชาธิปไตยหรือไม่
ก่อนอื่นก็ต ้องดูที่ว่าอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนหรือเป็นของคนส่วนน้อย
(ตอนหนึ่งในสารสัมพันธิ์ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ)
Edit:thongkrm_virut@yahoo.com

More Related Content

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

ต้น ประชาธิปไตย

  • 1. ต้น ประชาธิปไตย ต้น ประชาธิปไตย ถูก ต ้องแล ้วครับคุณสมาน ศรีงามในช่วงเวลานั้นไม่มีคอมพิวเตอร์กราฟฟิคเหมือนในปัจจจุบันเป็นเรื่อง ฮือฮาและรอคอยของขวัญที่เป็นหลักวิชาทางการเมืองเรื่องประชาธิปไตยกันแทบจะ ทุกคนในหมู่สานุศิษย์ของท่านอาจารย์และหมู่ผู้ปฏิบัติงานการปฏิวัติในแนวทางสันติ แต่วันนั้นก็เป็นวันสูนเสียที่ยิ่งใหญ่ของเรา ผมยังจาได ้อย่างไม่รู้ลืมแม้วันเวลาจะผ่านไปถึง 20ปีแล ้วก็ตาม เห็นต ้นไม้ประชาธิปไตยทุกครั้งก็เป็นการกระตุ้นเตือนความทรงจาทันที ถึงเรื่องนี้ด ้วยครับ ♦ต ้น ประชาธิปไตย...ผม(คุณมาน ศรีงาม)เป็นผู้ออกแบบ...อาจารย์สมบูรณ์ สีดาคุณ กรรมกรแบงค์เป็นผู้สนับสนุนค่าใช ้จ่ายในการพิมพ์...อาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรเป็นผู้ตรวจอนุมัติ...เป็น ส.ค.ส.๒๕๓๘พิมพ์เสร็จจากโรงพิมพ์ตอนเช ้าของวันที่๒๕ ธันวาคม ๒๕๓๘ (พิมพ์แถวโรงพิมพ์ศูนย์การค ้าตลาดเจริญรัตน์) ผมได ้รับจากโรงพิมพ์ตอนเช ้าตรู่...และนาไปให้อาจารย์ประเสริฐ ตรวจในตอนเช ้าประมาณ 9.30 น. ที่บ ้านแถวตลิ่งชัน และท่านได ้อนุมัติทั้งด ้านรูปแบบและเนื้อหา...และให้ส่ง ส.ค.ส. ๒๕๓๘ ออกไปอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะกรรมกรรัฐวิสาหกิจทั่งประเทศ
  • 2. และเป็นการพูดคุยกับอาจารย์ประเสริฐเป็นครั้งสุดท ้าย...และงานต ้น ประชาธิปไตยเป็นงานสุดท ้ายที่อาจารย์ประเสริฐ ตรวจและอนุมัติ และบอกให้เผยแพร่ออกไปมากๆอย่างกว้างขวางทีสุุ่ด (ท่านชื่นชอบมากๆ ยังถามผมว่า.."อานาจอธิปไตยของปวงชนอยู่ที่ไหน...ผมตอบท่านว่าอยู่ด ้านราก ฐานครับ...ท่านดูแล ้วก็ร้องอ ้อ...!!! และบอกว่า..ดีมากๆ"...และท่านเพิมเติมเนื้อหาเล็กน้อย เพื่อให้ถูกต ้องสมบูรณ์ เพื่อนาเอาไปพิมพ์แนบกับภาพต ้นประชาธิปไตยอันเป็นภาคส่วน.."คาอธิบาย" แม้ว่าจะมีความพยายามคัดค ้านจากฝ่ายกรรมกรบางคนก็ตามเมื่อได ้คุยแลกเปลี่ยนกับอาจารย์ป ระเสริฐเสร็จแล ้ว...ผมจึงลาท่านอาจารย์ ประเสริฐ เพื่อไปบรรจุซองและจ่าหน้าซอยส่ง สคส.ต ้นประชาธิปไตยนี้ไปให้กรรมกรรัฐวิสาหกิจ และอื่นๆ โดยนักศึกษาเป็นผู้ดาเนินการ คือ คุณสมเกียรติ เพ็ชรอริยวงศ์(พระสมเกียรติ์ ปริญญาโนภิกขุ วัดสันติธรรมารามฝรั่งธนบุรี ตรงข ้ามโรงพยาบาลทหารเรือ) คุณอนุสรณ์ สมอ่อน คุณบุญช่วย เจียมจันทร์ อนันต์ ประพงษ์เป็นต ้น ที่สานักบริษัทพนักงานรักษาความปลอดภัย "บริษัท G-7 จากัด" ของคุณทรงพล รักษาพันธุ์(จัดตั้งของคุณวันชัย พรหมภา)จนถึงเวลาประมาณ ๑๘.๐๐ น. ของวันที่ ๒๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ได ้ยินเสียงโทรศัพท์ดังขึ้น...ผมเป็นผู้รับสาย..ได ้ยินเสียงตามสาย ว่า.."อาจารย์ตายแล ้ว"...!!! เป็นเสียงของคุณไพทูรย์ เสณีวงศ์ ณ อยุธยา คนใกล ้ชัดอาจารย์ประเสริฐ ผมถามกลับว่า.."อาจารย์ไหนครับ"...??? ท่านตอบว่า.."อาจารย์ประเสริฐ"...!!! ผมตกใจมาก...และถามต่อไปว่า.."ตายเมื่อไหร่"...??? คุณไพทูรย์ตอบว่า.."ตายเมื่อประมาณ ๕ โมงเย็นวันนี้"...!!! และผมถามต่อว่า.."ตอนนี้อาจารย์ประเสริฐอยู่ไหน"...??? คุณไพทูรย์ตอบว่า.."อยู่โรงพยาบาลเจ ้าพระยา พระปิ่นเกล ้าฝั่งธนบุรี"...!!! ผมและคุณสมเกียรติ คุณอนุสรณ์ คุณบุญช่วย และคุณอนันต์ ประพงษ์ รีบขับรถจากซอยอุดมสุขบางนา(ซอย ๑๐๓) มุ่งตรงไปที่โรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...พอไปถึงเห็นร่างอาจารย์ประเสริฐนอนอยู่บนเตียงเ หล็ก..ท่านใส่ชุดเดิมคือ "เสื้อเชิร์ตลายแขนสั้น และกางเกงขาสั้น" นอนลืมตาอยู่ แต่นัยตาไม่มีแวว เหมือนนัยตาเมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ที่ท่านนอนหลับบนรถผมตอนขากลับจากงานเลี้ยงส่งท ้ายปีเก่าต ้อนรับปีใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๘ ที่บ ้านคุณอุระ หวังอ ้อมกลาง ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลอาญา ซึ่งคุณสัญชัย คงมงคล..สมาชิกสภาปฏิวัติแห่งชาติเป็นผู้ดูแลบ ้านคุณอุระแถวๆ ลาดหลุมแก ้ว "ผมสวดกอดอาจารย์ประเสริฐด ้วยความรักและความอาลัยอย่างสุดซึ้ง"...ต่อมาพลโท ประสิทธิ์ นวาวัฒน์ ผู้ประสานงานระหว่างอาจารย์ประเสริฐ กับ พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ์ มาถึงโรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...เมื่อเห็นอาจารย์นอนสงบนิ่งไม่หายใจ อยู่บนเตียงเหล็ก...เสธ.ประสิทธิ์ถึงกับ.."ร้องไห้โฮ"...!!! และท่านตั้งข ้อสงสัยว่า.."ใครวางยาอาจารย์ประเสริฐ" ??? เพราะเล็บมีสีดา ฯลฯ...แต่แพทย์และตารวจยืนยันว่า.."อาจารย์ประเสริฐ ตายเพราะโรคหัวใจวายเฉียบพลัน" และญาติก็ไม่ติดใจใดๆ ุ่จึงนาศพอาจารย์ประเสริฐ ไปตั้งเพื่อทาพิธีอาบน้าศพและบาเพ็ญกุศลที่.."วัดเจ ้าอาม" ตลิ่งชัน ธนบุรี และเมื่อบาเพ็ญกุศลศพแล ้ว...ก็เก็บศพไว้ ๑ ปี แล ้วขอพระราชทานเพลิงศพอีก ๑ ปี ต่อมา ที่วัดพระศรีมหาธาตุ บางเขน โดยจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นประธาน โดยคุณอนุสรณ์ สมอ่อน และคุณไชยยงค์ รันตวัน ได ้บวชหน้าไฟให้อาจารย์ประเสริฐ มี ศาสตราจารย์พ.อ.ชวัติ พิสุทธิพันธ์ ประธานทหารประชาธิปไตย เป็นประธานดาเนินการพระราชทานเพลิงศพอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร หมายเหตุ...ตอนที่เกิดอาการหัวใจวายเฉียบพลันอยู่บนโต๊ะเขียนหนังสือขั้นสอง บ ้านตลิ่งชันเมื่อประมาณเวลาเย็น ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. เกิดความขัดแย ้งกันขึ้นเป็น ๒ ฝ่าย คือ... - ฝ่ายภรรยาของท่าน...ต ้องการให้หมอจากโรงพยาบาลเดินมารักษาอาจารย์ประเสริฐ ที่บ ้านโดยรักษาพยาบาลแบบฉุกเฉินที่มีเครื่องมือพร้อมสรรพ - ฝ่ายคนใกล ้ชิดท่าน(คุณไพทูรย์)...ต ้องการให้อุ้มอาจารย์ประเสริฐใส่รถ แล ้วรีบขับไปที่โรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า(อันเป็นโรงพยาบาลประจาตัว)
  • 3. ในที่สุดฝ่ายภรรยาอาจารย์ประเสริฐชนะ แจ ้งรถพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...ให้หมอนาเครื่องมือโดยรถโรงพยาบาล(ฉุก เฉิน) เดินทางมาหาอาจารย์ประเสริฐ ที่อยู่บ ้านซอยตลิ่งชั่น ...แต่เวลาผ่านไปนาน...เพราะรถติดมาก..หรือ..หมออาจจะมาช ้าไป อาจารย์ประเสริฐ ซึ่งหลานๆ อุ้มท่านอยู่ หลานคนที่อุ้มอาจารย์ประเสริฐ ได ้บอกว่าเลือดออกปากและจมูกของอาจารย์ประเสริฐ...และในที่สุดท่านได ้พูด เป็นครั้งสุดท ้ายว่า..."คงไม่ทันแล ้วนะ...!!!" ...และท่านก็แน่นิ่งไป ต่อมาอีกประมาณ ๕ นาที หมอและรถพยาบาลมาถึงบ ้านตลิ่งชัน...หมอพยายามปั๊มหัวใจอาจารย์ประเสริฐ แต่ก็ไม่ตอบสนอง จึงรีบนาขึ้นรถพยาบาลไปโรงพยาบาลเจ ้าพระยาปิ่นเกล ้า...เมื่อไปถึงก็พยายาม ปั๊มหัวใจให้อ๊อกซิเจน และฉีกยากระตุ้น...แต่ก็ไม่ตอบสนองแต่อย่างใดทั้งสิ้น จนในที่สุดแพทย์ก็ลงมติว่า.."อาจารย์ประเสริฐตายแน่นอนแล ้ว"...จึงเลิกการ ช่วยชีวิตฉุกเฉิน และนาร่างไร้วิญญาณของอาจารย์ประเสริฐมารอญาติอยู่ณ ห้องรอญาติ อนึ่ง...พลเอกชวลิต..ได ้กล่าวภายหลังว่า.."ถ ้าอาจารย์ประเสริฐ อยู่ในการดูแลของหมอโรคนี้...อาจารย์ประเสริฐจะไม่ตายง่ายๆอย่างนั้น"...!!! แม ้ร่างกายของอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร จะตายไปตามกฎแห่งสัจธรรม.."เกิด แก่ เจ็บ ตาย" ตามหลัก อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา...ความคิดอันเป็นสัจธรรมที่ถูกต ้องของท่านยังอยู่ และเติบโต และมีชัยชนะ ขึ้นทุกวันๆ...ต ้นประชาธิปไตยก็บังเกิดขึ้นทั่วทั้งแผ่นดินอันกว้างใหญ่ไ ฟศาล บานสะพรั่ง"...!!! ความหมายของต้นประชาธิปไตย ♦รายละเอียดในความหมายของต ้นไม้ประชาธิปไตย ก็คือทั้งหมด ดังนี้ ครับ ประชาธิปไตยคืออะไร การปฏิวัติประชาธิปไตย คือการเปลี่ยนแลงระบอบเผด็จการเป็นระบอบประชาธิปไตย หรือยกเลิกระบอบเผด็จการและสถาปนาระบอบประชาธิปไตยขึ้นแทน หลายคนกล่าวว่า ประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยอยู่แล ้ว จึงไม่ต ้องปฏิวัติประชาธิปไตย บางคนกล่าวว่า ประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยที่ไม่สมบูรณ์
  • 4. จึงเพียงแต่พัฒนาระบอบประชาธิปไตยเท่านั้นไม่ต ้องปฏิวัติประชาธิปไตย จริงทีเดียว ถ ้าประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยอยู่แล ้ว ไม่ว่าจะสมบูรณ์หรือไม่สมบูรณ์ก็ตาม ก็ไม่ต ้องปฏิวัติประชาธิปไตย แต่ประเทศไทยเป็นระบอบประชาธิปไตยอยู่แล ้วจริงหรือ ? ระบอบประชาธิปไตยนั้นแสดงออกโดยการปกครองประชาธิปไตยหรือรัฐบาลประชาธิปไตย (Democratic Government) และการปกครองประชาธิปไตยนั้น จะต ้องเป็นไปตามหลักของการปกครองประชาธิปไตย ดังต่อไปนี้ 1. อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน (Popular Sovereignty) หมายความว่า ประชาชนเป็นเป็นเจ ้าของอานาจสูงสุดของประเทศร่วมกัน มิใช่คนส่วนใดส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นส่วนน้อยผูกขาดอานาจไว้ ดังที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล ้าเจ ้าอยู่หัวทรงคัดค ้านคณะราษฎร์ว่า “ ข ้าพเจ ้าสมัครใจจะสละอานาจของข ้าพเจ ้าให้แก่ราษฎรทั้งหลาย แต่ไม่ยินยอมยกอานาจของข ้าพเจ ้าให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือคณะหนึ่งคณะใด ” และหลักการอานาจอธิปไตยปวงชนนั้น แสดงออกด ้วยนโยบายบริหารประเทศ ซึ่งรักษาผลประโยชน์ของประชาชน มิใช่รักษาผลประโยชน์ของคนส่วนน้อย 2. เสรีภาพ (Freedom) หมายความว่า บุคคลมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการใช ้สิทธิต่าง ๆ ทั้งในทางส่วนตัว ในทางสังคมและในทางการเมือง เช่น ในร่างกาย ในทรัพย์สิน ในการศึกษา ในการนับถือศาสนา ในการชุมนุม ในการตั้งสมาคม ในการตั้งพรรคการเมือง และในการเปลี่ยนรัฐบาล เป็นต ้น 3. ความเสมอภาค (Equality) หมายความว่า บุคคลมีความเท่าเทียมกันในด ้านต่าง ๆ โดยเฉพาะถือความเท่าเทียมกัน ทั้งในทางกฎหมาย และในทางโอกาส 4. หลักกฎหมาย (Rule of Law) คือหลักนิติธรรม ซึ่งใช ้เป็นเป็นมาตรฐานของการออกกฎหมาย เช่น หลักที่ว่าผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดให้สันนิษฐานก่อนว่า เป็นผู้สุจริต ศาลเท่านั้นเป็นผู้พิพากษาตัดสินกฎหมาย ฯลฯ กฎหมายใดซึ่งขัดกับหลักกฎหมายย่อมเป็นโมฆะ 5. รัฐบาลจากการเลือกตั้ง (Elected Government) หมายความว่า ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่าบริหารต ้องมาจากการเลือกตั้งทั่วไป เหล่านี้ คือหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองซึ่งเป็นไปตามหลักการเหล่านี้ ก็เป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย และหลักการที่เป็นหัวใจ คือ อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ถ ้ามีหลักการข ้อนี้แล ้ว ถึงจะยังขาดข ้ออื่น ๆ อยู่บ ้างก็เป็นระบอบประชาธิปไตย แต่ถ ้าไม่มีข ้อนี้ ถึงจะมีข ้ออื่น ๆ ก็เป็นระบอบเผด็จการ เช่นประเทศไทยในปัจจุบันเป็นระบอเผด็จการที่มีเสรีภาพพอสมควร ที่เรียกว่า ประชาธิปไตยครึ่งใบ เพราะว่าถึงจะมีเสรีภาพ มีความเสมอภาค มีหลักกฎหมายอยู่บ ้าง และมีการเลือกตั้งแต่อานาจอธิปไตยมิได ้เป็นของปวงชน ฉะนั้น การปกครองของประเทศไทย จึงไม่เป็นระบอบประชาธิปไตย แต่เป็นระบอบเผด็จการ (5) อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน เป็นหลักการปกครองหลักที่ 1 ของระบอบประชาธิปไตย และเป็นหัวใจของระบอบประชาธิปไตย แต่ในประเทศไทย
  • 5. มีการอธิบายกันอย่างกว้างขวางว่าหัวใจของระบอบประชาธิปไตย คือ เสรีภาพของประชาชน ซึ่งเป็นการชักจูงประชาชนให้เข ้าใจผิดต่อระบอบประชาธิปไตยอย่างร้ายแรง จนไม่รู้ว่าระบอบประชาธิปไตยคืออะไร การปกครองทั้งหลายย่อมมีอานาจ การปกครองบ ้านย่อมมีอานาจของบ ้าน การปกครองของวัดย่อมมีอานาจของวัด การปกครองย่อมมีอานาจของโรงเรียน ไปจนถึงการปกครองประเทศ ย่อมมีอานาจของประเทศ ในบรรดาอานาจทั้งหลายเหล่านั้น อานาจของประเทศเป็นอานาจสูงสุดคือสูงถึงขนาดฆ่าคนได ้ และสิทธิ์ขาดโต ้แย ้งมิได ้จึงนิยมเรียกกันว่าอานาจสูงสุดของประเทศ ดังที่ใช ้ในรัฐธรรมนูญฉบับแรก และต่อมาเรียกให้เป็นศัพท์ว่าอานาจอธิปไตย ซึ่งใช ้ในรัฐธรรมนูญฉบับต่อ ๆ มา จนถึงปัจจุบัน อานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยนั้น มีอานาจเดียวแต่แสดงออกเป็น 3 ด ้าน คือ (1) อานาจนิติบัญญัติ (2) อานาจบริหาร (3) อานาจตุลการ อานาจในการปกครองย่อมมีเจ ้าของ และเจ ้าของอานาจก็คือผู้ปกครอง นัยหนึ่ง อานาจย่อมเป็นของผู้ปกครอง อานาจของบ ้านเป็นของเจ ้าบ ้าน อานาจของวัดเป็นของสมภาร อานาจของโรงเรียนเป็นของครูใหญ่ จนถึงอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของผู้ปกครองประเทศ ผู้ปกครองประเทศนั้นกล่าวอย่างกว้างมี 2 ชนิด คือ ชนส่วนน้อยและปวงชน (ประชาชน) ถ ้าชนส่วนน้อยเป็นผู้ปกครองประเทศ อานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยก็เป็นของชนส่วนน้อย ถ ้าปวงชนเป็นผู้ปกครองประเทศ อานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ถ ้าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของชนส่วนน้อย ก็เป็นระบอบเผด็จการ ถ ้าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนก็เป็นระบอบประชาธิปไตย และแต่ละระบอบต่างก็มีหลายรูป โดยสาระสาคัญแล ้วระบอบเผด็จการหรือระบอบประชาธิปไตยนั้น ได ้ได ้หมายความอย่างอื่น แต่หมายความว่า อานาจหรืออานาจอธิปไตยเป็ นของชนส่วนน้อยหรือเป็นของปวงชนเท่านั้น แต่ชนส่วนน้อยหรือปวงชน ซึ่งเป็นเจ ้าของอานาจของประเทศหรืออานาจประชาธิปไตยนั้น ไม่ได ้เป็นผู้กุมอานาจโดยตรง แต่มีผู้แทนเป็นผู้กุมอานาจ และผู้แทนก็คือคณะการเมือง กลุ่มการเมือง หรือพรรคการเมือง ซึ่งเข ้าไปกุมองค์กรแห่งอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตย อันได ้แก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล เพื่อใช ้องค์กรทั้ง 3 นี้รักษาผลประโยชน์ของผู้ที่ตนแทน ถ ้าแทนชนส่วนน้อยก็ใช ้องค์กรเหล่านี้รักษาผลประโยชน์ของชนส่วนน้อย ถ ้าแทนปวงชนก็ใช ้องค์กรเหล่านี้รักษาผลประโยชน์ของปวงชน ทั้งนี้จะรู้ได ้ด ้วยนโยบายของรัฐบาลเป็นสาคัญ ถ ้านโยบายของรัฐบาลรักษาผลประโยชน์ของชนส่วนน้อย ก็แสดงว่าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของชนส่วนน้อย ถ ้านโยบายของรัฐบาลรักษาผลประโยชน์ของปวงชน ก็แสดงว่าอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน ในปัจจุบันอานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเป็นของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาด ซึ่งเป็นชนส่วนน้อย ฉะนั้น ไม่ว่านโยบายใด ๆ ล ้วนแต่มุ่งรักษาผลประโยชน์ของชนส่วนน้อย โดยไม่คานึงถึงความเดือดร้อนของประชาชน ฉะนั้น จึงต ้องเปลี่ยนมืออานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยจากของกลุ่มผลประโยชน์ผูก ขาด มาเป็นของปวงชน เพื่อให้มีรัฐบาลที่ดาเนินนโยบายรักษาผลประโยชน์ของประชาชน การเปลี่ยนมืออานาจของประเทศหรืออานาจอธิปไตยเช่นนี้ คือหัวใจของการเปลี่ยนระบอบเผด็จการเป็นระบอบประชาธิปไตย คือหัวใจของการปฏิวัติประชาธิปไตย (6) บุคคลมีเสรีภาพสมบูรณ์ บุคคลมีเสรีภาพสมบูรณ์ เป็นหลักการปกครองหลักที่ 2 ของระบอประชาธิปไตย เป็นเป็นหลักคู่กับอานาจอธิปไตยของปวงชน ซึ่งเป็นหลักการปกครองที่ 1 ของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพ คือสิทธิ คือสิทธิในการคิดและในการกระทาที่ปราศจากกาพันธนาการไม่ว่าจะเป็นสิทธิทาง ส่วนตัว
  • 6. หรือทางการเมือง สิทธิทางส่วนตัว เช่น สิทธิในชีวิต สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในการแสวงหาความสุข ฯลฯ สิทธิทางการเมือง เช่น สิทธิในการเลือกลัทธิทางการเมือง สิทธิในการเลือกตั้ง สิทธิในการเปลี่ยนรัฐบาล ฯลฯ การที่บุคคลใช ้สิทธิโดยปราศจากพันธนาการ คือการที่บุคคลมีเสรีภาพ บุคคลย่อมมีเสรีภาพไม่ว่าภายใต ้ระบอบใด ๆ เพราะบุคคลไม่สามารถดารงอยู่ได ้โดยปราศจากเสรีภาพอย่างสิ้นเชิง ต่างแต่ว่าเสรีภาพในกระบอบประชาธิปไตยไม่ว่าในรูปใด ๆ เป็นเสรีภาพบริบูรณ์ เสรีภาพในระบอบเผด็จการไม่ว่ารูปใด ๆ เป็นเสรีภาพไม่บริบูรณ์ เช่น ในประเทศสวีเดนเป็นเสรีภาพบริบูรณ์ ในประเทศไทยเป็นเสรีภาพไม่บริบูรณ์ เพราะ สวีเดนเป็นระบอบประชาธิปไตย ไทยเป็นระบอบเผด็จการ เสรีภาพบริบูรณ์นั้น ไม่ใช่บริบูรณ์อย่างไม่มีขอบเขต แต่บริบูรณ์ภายในขอบเขต ถ ้าเลยขอบเขตก็กลายเป็นไม่มีเสรีภาพ เช่น ผู้ขับรถยนต์มีเสรีภาพสมบูรณ์ในการขับรถยนต์ตามถนนแลพะตามกฎจราจร ถ ้าขับรถยนต์ออกนอกถนนหรือไม่ถือกฎจราจรก็ไม่มีเสรีภาพในการขับรถยนต์ เสรีภาพบริบูรณ์ภายในขอบเขตคือหลักธรรมชาติของเสรีภาพ และขอบเขตของเสรีภาพบริบูรณ์คือ การไม่ล่วงล้าเสรีภาพของบุคคลอื่นและไม่เป็นปรปักษ์ต่อส่วนรวม ฉะนั้น คติที่ถือว่าเสรีภาพบริบูรณ์ คือเสรีภาพไม่มีขอบเขตจึงเป็นคติที่ผิดธรรมชาติ จึงไม่ใช่คติของลัทธิประชาธิปไตย แต่เป็นคติของลัทธิอนาธิปไตย การปฏิบัติตามคติของลัทธิอนาธิปไตย คือการทาลายเสรีภาพนั่นเอง ในบรรดาเสรีภาพทั้งปวงนั้น เสรีภาพทางความคิดเป็นรากฐาน คนเราถ ้าไม่มีเสรีภาพทางความคิด ก็เท่ากับไม่มีเสรีภาพและเท่ากับหมาดความเป็นคน ฉะนั้น ระบอบประชาธิปไตยซึ่งยึดถือหลักธรรมชาติของเสรีภาพ จึงทาให้เสรีภาพบริบูรณ์แก่บุคคลในการนับถือศาสนา และเชื่อถือลัทธิการเมือง ในขอบเขตที่ไม่กระทาการอันขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม ในระบอบประชาธิปไตย การที่บุคคลได ้แสดงความคิดเห็นอย่างเสรีย่อมทาให้ได ้มาซึ่งแนวความคิดที่ดี ที่สุด อันจะส่งผลให้ได ้มาซึ่งนโยบายที่ดีและนาความผาสุกมาสู่คนส่วนรวม และการให้บุคคลมีเสรีภาพทาให้บุคคลเกิดความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ฉะนั้นในระบอบประชาธิปไตยซึ่งบุคคลมีเสรีภาพบริบูรณ์ ประชาชนจึงมีจิตสานึกในการรักษาระเบียบวินัยด ้วยความสมัครใจ อานาจอธิปไตย เป็นหลักคู่กับเสรีภาพในฐานะที่เสรีภาพขึ้นต่ออานาจอธิปไตย เพราะผู้ปกครองย่อมให้เสรีภาพย่างเต็มที่แก่ตนเองเสมอไป ดังนั้น ในระบอบเผด็จการซึ่งอานาจอธิปไตยเป็นของคนส่วนน้อย ชนส่วนน้อยจึงมีเสรีภาพอย่างเต็มที่ และในระบอบประชาธิปไตยซึ่งอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน บุคคลทั่วไปจึงมีเสรีภาบริบูรณ์ ในประเทศปัจจุบัน อานาจอธิปไตยเป็นของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดซึ่งเป็นชนส่วนน้อย เสรีภาพอย่างเต็มที่จึงมีแก่เฉพาะบุคคลในกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดเท่านั้น บุคคลทั่วไปขาดเสรีภาพอย่างมากมาย ดังนั้น จึงต ้องทาการปฏิวัติประชาธิปไตย เปลี่ยนอานาจอธิปไตยจากคนส่วนน้อยมาเป็นของปวงชน เพื่อเสรีภาพบริบูรณ์จะได ้มีแก่บุคคลทั่วไปอย่างเสมอหน้ากัน (7) ความเสมอภาค ความเสมอภาค เป็นหลักการปกครองอีกหลักหนึ่งของระบอบประชาธิปไตยต่อจากอานาจอธิปไตเป็นของ ปวงชนและบคคุลมีเสรีภาพบริบูรณ์ ความเสมอภาค คือว่าเท่าเทียมกันของคนทุกคน ลัทธิประชาธิปไตยยึดหลักธรรมชาติของมนุษย์ว่า มนุษย์ทุกคนเมื่อเกิดมาแล ้วย่อมมีความทียมกันในความเป็นมนุษย์ แต่มนุษย์แต่ละคนเมื่อเกิดมาแล ้วไม่เหมือนกัน บางคนแข็งแรง บางคนอ่อนแอ บางคนฉลาดมาก บางคนฉลาดน้อย บางคนมีความสามารถมาก บางคนมีความสามารถน้อย บางคนมีความทะเยอทะยานมาก บางคนมีความทะเยอทะยานน้อย ดังนั้น
  • 7. การที่จะกาหนดให้ทุกคนมีความเท่าเทียมกันในทุกสิ่งทุกอย่างจึงหขัดกับหลัก ธรรมชาติของมนุษย์และดังนั้น เพื่อนุวัติตามธรรมชาติของมนุษย์ ระบอบประชาธิปไตยจึงกาหนดว่าเมื่อประชาชนทุกคนเป็นเจ ้าของอานาจสูงสุดของ ประเทศหรืออานาจอธิปไตยแล ้ว ประชาชนทุกคนจึงมีความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกัน ในการแสดงออกซึ่งความเป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตยนั้น ความหมายโดยสาระสาคัญของความเสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยคือคนทุกคนมีความเท่า เทียมกันในการแสดงออกซึ่งความเป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตย แบ่งออกเป็น 3 ประการ คือ 1. ความเสมอภาคในกฎหมาย (Equality before the law) หมายความว่า คนทุกคนไม่ว่ากาเนิดใด ศาสนาใด มีฐานะทางเศรษฐกิจ ทางการเมือง ทางสังคม สูงหรือต่าอย่างใด ย่อมอยู่ภายใต ้กฎหมายเดียวกัน อยู่ภายใต ้ระบบศาลเดียวกัน ได ้รับการปฏิบัติอย่างเดียวกัน และได ้รับความคุ้มครองจากองค์กรกฎหมายเท่าเทียมกัน ความแตกต่างในกรณีใด ๆ ระหว่างบุคคลไม่ก่อให้เกิดเอกสิทธิ์อย่างใด 2. ความเสมอภาคในการออกเสียง (Equality in vote) หมายความว่า บุคคลแต่ละคนมีสิทธิในการออกเสียงลงคะแนนในการเลือกตั้งหรือในการแสดง ประชามติใด ๆ ได ้เพียงคะแนนเดียว (One man, One vote) และหมายความว่า คะแนนเสียงของแต่ละคนจะต ้องมีน้าหนัก หรือคุณค่าในการตัดสินผลการเลือกตั้งหรือการแสดงประชามติเท่าเทียมกัน ตัวอย่างเช่น การแบ่งเขตเลือกตั้งที่ถือเอาเนื้อที่ของเขตเป็นเกณฑ์ ไม่ถือเอาจานวนประชากรเป็นเกณฑ์ ทาให้เขตการเลือกตั้งซึ่งอยู่ในเมืองใหญ่ที่มีประชากรมากกว่า 500,000 คน เยเปรียบเขตเลือกตั้งในชนบทที่มีประชากรเพียง 50,000 คน และคะแนนเสียงของคนในเมืองใหญ่มีผลในการตัดสินการเลือกน้อยกว่าคะแนนเสียง ของคนในชนบทถึง 10 เท่า เหตุนี้ศาลจึงตัดสินว่า การแบ่งเขตเลือกตั้งเช่นนี้ขัดต่อรัฐธรรมนูญ เป็นต ้น 3. ความเสมอภาคในโอกาส (Equality in Opportunity ) หมายความว่า คนทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกันในการใช ้พลังสมองและความสามารถ เพื่อเสริมสร้างและยกฐานะทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ และทางสังคมของตน เช่น ให้โอกาสเท่าเทียมกันแก่ทุกคนที่จะได ้รับการศึกษา ที่จะได ้รับการประกันสังคม ที่จะได ้ประกอบกิจกรรมในด ้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมที่จะได ้มีงานทาและได ้ รับการคุ้มครองแรงงาน และจะต ้องขจัดระบบผูกขาดซึ่งเป็นการทาลายความเสมอภาคในโอกาสของบุคคล เป็นต ้น ในปัจจุบัน ประชาชน ประชาชนชาวไทยไม่มีความเสมอภาคกัน ทั้งในฐานะเป็นคนไทยและในฐานะเป็นมนุษย์ เพราะลักษณะการปกครองของไทยและเป็นระบอบเผด็จการ จึงจาเป็นจะต ้องทาการปฏิวัติประชาธิปไตยให้สาเร็จโดยเร็วเพื่อเปลี่ยนระบอบ เผด็จการเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อสถาปนาระบอบประชาธิปไตยขึ้นแล ้ว ประชาชนชาวไทยก็จะมีความเสมอภาคกันในความเป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตย ซึ่งจะยังผลให้มีความเสมอภาคกันในกฎหมาย ในการออกเสียง ในโอกาส สมกับที่เป็นคนไทยและเป็นมนุษย์ (8) หลักกฎหมาย หลักกฎหมาย เป็นหลักการปกครองอีกหลักหนึ่งของระบอบประชาธิปไตย ต่อจากหลักอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน บุคคลมีเสรีภาพบริบูรณ์ และความเสมอภาค มีผู้เข ้าใจผิดว่า การปฏิบัติตามกฎหมายคือเครื่องหมายของระบอบประชาธิปไตย และการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายเป็นการทาลายระบอบประชาธิปไตย ความจริง ไม่ว่าในระบอบประชาธิปไตยหรือระบอบเผด็จการ ล ้วนแต่จะต ้องปฏิบัติตามกฎหมาย ไม่มีระบอบใด ๆ จะอนุญาตให้ละเมิดกฎหมาย การปฏิบัติตามกฎหมายเป็นเรื่องของทุก ๆ ระบอบ หาใช่เป็นเรื่องของระบอบประชาธิปไตยแต่เพียงระบอบเดียวไม่ ฉะนั้น การปฏิบัติตามกฎหมายจึงหาใช่เครื่องวัดความเป็นระบอบประชาธิปไตยแต่อย่างใด ไม่ กฎหมายย่อมแก ้ไขเปลี่ยนแปลงได ้เสมอ ตามวิถีทางนิติบัญญัติที่ได ้กาหนดไว้ในระบอบนั้น ๆ
  • 8. กฎหมายฉบับใดถ ้ารัฐบาลไม่ต ้องการจะปฏิบัติตามก็ยกเลิกหรือแก ้ไขเพิ่มเติม กฎหมายฉบับนั้นเสีย เช่น รัฐบาลต ้องการจะต่ออายุผบ.ทบ. ครั้งที่แล ้ว แต่กฎหมายห้ามไว้ ก็แก ้ไขเพิ่มเติมกฎหมายนั้นเสีย การกระทาเช่นนี้หาใช่เป็นเครื่องวัดของความเป็นระบอบประชาธิปไตย หรือของความเป็นระบอบเผด็จการ แต่อย่างใดไม่ หรือกฎหมายฉบับใดไม่เป็นธรรมแก่ประชาชน และมีการแสดงประชามติคัดค ้านกฎหมายฉบับนั้น หรือเรียกร้องให้ยกเลิกหรือแก ้ไขเพิ่มเติมกฎหมายฉบับนั้น ก็เป็นการปฏิบัติตามวิถีทางประชาธิปไตยอย่างหนึ่ง หาใช่เป็น “ กฎหมู่อยู่เหนือกฎหมาย ” แต่อย่างใดไม่ การโฆษณาว่า การปฏิบัติตามกฎหมาย คือเครื่องหมายของระบอบประชาธิปไตย และว่าการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายคือการทาลายระบอบประชาธิปไตย และเห็นการแสดงประชามติเป็น “ กฎหมู่อยู่เหนือกฎหมาย ” ไปนั้น คือความพยายามของระบอบเผด็จการที่จะให้ประชาชนยินยอมอยุ่ใต ้ความกดขี่ตลอดไป การปฏิบัติตามกฎหมายไม่ใช่เครื่องหมายไม่ใช่เครื่องหมายของความเป็นระบอบ ประชาธิปไตย เพราะระบอบเผด็จการก็ใช ้กฎหมายเช่นกัน และระบอบเผด็จการมักจะเน้นหนักให้ปฏิบัติตามกฎหมายที่กดขี่ประชาชน เครื่องหมายของความเป็นรบอบประชาธิปไตยคือ การปฏิบัติตามหลักกฎหมาย จะต ้องไม่เอากฎหมาย (Law) ไปปะปนกับหลักกฎหมาย (Rule of Law) หลักกฎหมาย คือหลักนิติธรรมที่ได ้รับรองแล ้วว่าถูกต ้อง เป็นกลักที่ผุ้ออกกฎหมายเพื่อประโยชน์ของประชาชนต ้องยึดถือปฏิบัติตาม แม ้ว่าองค์กรนิติบัญญัติ เช่น สภาผู้แทนราษฎร จะมีอานาจออกกฎหมายมาจากัดเสรีภาพของบุคคลได ้ก็ตาม แต่กฎหมายนั้นต ้องสอดคล ้องกับหลักกฎหมาย สภาผู้แทนราษฎรจะออกกฎหมายขัดต่อหลักกฎหมายมิได ้ ในประเทศที่ไม่มีรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น อังกฤษ ศาลมีอานาจพิจารณาว่า กฎหมายใดขัดกับหลักกฎหมายและเป็นโมฆะ ในประเทศที่มีรัฐธรรมนูญเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สหรัฐ มีการบัญญัติหลักกฎหมายไว้ในรัฐธรรมนูญ หลักกฎหมายที่สาคัญ ๆ เช่น (1) ผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทาความผิด ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้สุจริตบุคคลจะถูกล่าวหาว่ากระทาความผิดได ้ก็ ต่อเมื่อการกระทานั้นมีบัญญัติไว้ในกฎหมายแห่งชาติว่าเป็นความผิด (2) กฎหมายจะมีผลย ้อนหลังไปลงโทษบุคคลมิได ้ (3) ศาลเท่านั้นเป็นผู้มีอานาจพิจารณาว่า การกระทาใดเป็นการละเมิดกฎหมายและเป็นความผิดต ้องได ้รับโทษ ฯลฯระบอบใดสามารถออกกฎหมายละเมิดหลักกฎหมายได ้ สิทธิเสรีภาพของประชาชนก็จะถูกทาลาย เช่น กฎหมาย ปร.42 เป็นต ้น นั่นคือ เครื่องหมายอย่างหนึ่งของระบอบเผด็จการ ระบอบประชาธิปไตยย่อมยึดถือหลักกฎหมายอย่างเคร่งครัด องค์กรนิติบัญญัติของระบอบประชาธิปไตยจะออกกฎหมายโดยละเมิดหลักฎหมายมิได ้ (9) การปกครองจากการเลือกต ้อง การปกครองจากการเลือกตั้ง (Election Government) เป็นหลักการปกครองหลักสุดท ้ายของระบอบประชาธิปไตย มีนักวิชาการบางคน เรียกการปกครองจากการเลือกตั้งว่าการปกครองทางผู้แทน โดยถือว่าการปกครองทางผู้แทนเป็นวิธีการปกครองของประบอบประชาธิปไตยใน ปัจจุบัน เพราะไม่สามารถจะใช ้การปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยตรงได ้ แต่ประชาชนจะต ้องเลือกผู้แทนขึ้นมาทาการปกครองแทนตน นักวิชาการเหล่านั้น เอาประชาธิปไตยทางผู้แทน (Representative Democracy ) กล่าวคือประชาธิปไตยทางตรงหมายความถึงระบอบประชาธิปไตยที่ประชาชนเข ้าไปทา หน้าที่ออกกฎหมาย หรือระเบียบข ้อบังคับของรัฐด ้วยตนเอง ดังเช่นที่ปรากฏในบางรัฐของสวิสเซอร์แลนด์ในปัจจุบัน และในนครรัฐสมัยกรีกโรมัน
  • 9. ส่วนประชาธิปไตยทางผู้แทน หมายความถึงระบอบประชาธิปไตยที่เลือกผู้แทนโดยการเลือกตั้งทั่วไปให้เข ้าไป ใช ้อานาจอธิปไตย คืออกกฎหมาย บริหาร และตัดสินคดี ดังที่ใช ้อยู่ในประเทศประชาธิปไตยทั้งหลายในปัจจุบัน เช่น อังกฤษ อเมริกา อินเดีย ฯลฯ แต่การปกครองทางผู้แทนนั้น เป็นอีกเรื่อหงนึ่ง เพราะในยุคปัจจุบันไม่ว่าระบอบประชาธิปไตยหรือระบอบเผด็จการ ต ้องใช ้การปกครองทางผู้แทน (Representative Government) ด ้วยกันทั้งนั้น เราะไม่ว่าอานาจอธิปไตยจะเป็นของคนส่วนน้อย (ระบอบเผด็จการ) หรืออานาจอธิปไตยจะเป็นของปวงชน (ระบอบประชาธิปไตย) ก็ตาม คนส่วนน้อยและปวงชนต่างก็ไม่สามารถจะเข ้าไปใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรงได ้ เพราะคนส่วนน้อยผู้เป็นเจ ้าของอานาจอธิปไตยนั้นก็มจานวนเป็นพันเป็นหมื่น หรือเป็นแสนเป็นล ้านจึงไม่สามารถเข ้าไปใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรง แต่ต ้องมีคณะปกครองเป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนตน ซึ่งโดยทั่วไปก็ได ้แก่รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี ยิ่งปวงชนด ้วยแล ้วยิ่งมีจานวนเป็นล ้าน ๆ สิบ ๆ ล ้าน หรือ ร้อย ๆ ล ้าน จึงยิ่งไม่สามารถเข ้าไปใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรง จึงต ้องมีคณะปกครอง ซึ่งได ้แก่ รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนตนเช่นเดียวกัน เช่นการปกครองของกลุ่มผลประโยชน์ชั้นสูงของเยอรมัน เมื่อก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งส่วนสาคัญได ้แก่เจ ้าที่ดินใหญ่ นายทุนใหญ่ และนายธนาคารใหญ่ ไม่สามารถใช ้อานาจอธิปไตยโดยตรง จึงมอบหมายให้รัฐบาลนาซีเป็นผู้ใช ้อานาจแทน การปกครองของนาซีก็คือการปกครองทางผู้แทนในระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ ซึ่งรัฐบาลนานซีเป็นผู้แทนของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดสูงสุดของเยอรมัน ทั้งนี้ก็เช่นเดียวกับรัฐบาลอังกฤษ รัฐบาลฝรั่งเศส รัฐบาลสวีเดน ฯลฯ ซึ่งใช ้อานาจอธิปไตยแทนปวงชนจึงเป็นรัฐบาลที่เป็นผู้แทนปวงชน เป็นการปกครองทางผู้แทนของระบอบประชาธิปไตย และการปกครองทางผู้แทนหรือรัฐบาลทางผู้แทนนั้น ไม่หมายความว่าการเลือกตั้งหรือไม่เลือกตั้ง แต่หมายความว่าใช ้อานาจอธิปไตยรักษาผลประโยชน์ของใครถึงจะเลือกตั้งแต่ถ ้า รักษาผลประโยชน์ของกลุ่มผูกขาดก็เป็นผู้แทนของกลุ่มผูกขาด ไม่ได ้เป็นผู้แทนของปวงชน จึงเป็นการปกครองระบอบเผด็จการ แต่ถึงจะไม่เลือกตั้งแต่รักษาผลประโยชน์ของปวงชน ก็เป็นผู้แทนของปวงจนจึงเป็นการปกครองระบอบประชาธิปไตย เมื่อประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยจากการปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475 นั้น ไม่มีรัฐบาลจากการเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎรครั้งนั้นเป็นสภาแต่งตั้ง และคณะรัฐมนตรีครั้งนั้นประกอบด ้วยรัฐมนตรีที่ไม่ได ้มาจากการเลือกตั้ง แต่รัฐบาลครั้งนั้นเป็นรัฐบาลประชาธิปไตยหรือการปกครองระบอบประชาธิปไตย (Democratic Government) เพราะว่ารัฐบาลครั้งนั้นเป็นผู้แทนปวงชน เป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนปวงชนชาวไทย หลังจากนั้นไม่นาน ระบอบประชาธิปไตยก็เปลี่ยนเป็นระบอบเผด็จการและเป็นระบอบเผด็จการมาจนถึง ปัจจุบัน ทั้ง ๆ ที่มีการเลือกตั้ง และทั้ง ๆ ที่มีรัฐบาลทางผู้แทน แต่เป็นผู้แทนของคนส่วนน้อย เป็นผู้แทนของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาด ไม่ใช่ผู้แทนปวงชน จึงเห็นได ้ว่าประชาธิปไตยทางผู้แทน (Representative Democracy) เท่านั้น เป็นคู่กับประชาธิปไตยทางตรง (Direct Democracy) การปกครองทางผู้แทนหรือรัฐบาลทางผู้แทน (Representative Government) ไม่ได ้เป็นคู่กับประชาธิปไตยทางตรง และการปกครองทางผู้แทนหรือรัฐบาลทางผู้แทนก็ไม่ใช่สิ่งเดียวกับการปกครองจาก การเลือกตั้งหรือรัฐบาลจากการเลือกตั้ง (Election Government) ตามที่นักวิชาการมักจะเอาไปปะปนกัน ระบอบประชาธิปไตย ถือเอาการปกครองจากการเลือกตั้งเป็นกลักการปกครองหลักหนึ่ง แต่จัดเป็นหลักสุดท ้าย เพราะการปกครองจากการเลือกตั้งนั้นเป็นของกลาง ซึ่งระบอบใด ๆ จะนาไปใช ้ก็ได ้
  • 10. และระบอบประชาธิปไตยนั้นในบางกรณีก็ไม่มีการเลือกตั้ง โดยเฉพาะในระยะเริ่มแรกขชองระบอบประชาธิปไตยไม่สามรถจะมีการเลือกตั้ง ดังเช่นระยะแรกของระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย ภายหลังการปฏิวัติ 24 มิถุนายน 2475 ไม่มีการเลือกตั้ง ต่อเมื่อเข ้ารูปเข ้ารอยแล ้วจึงมีการเลือกตั้ง นอกจากนั้นยังมีการปะปนหลัก อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน กับ หลักการปกครองจากการเลือกตั้ง โดยเถือว่าเมื่อมีการเลือกตั้ง ส.ส. เข ้าสภา และสภาเป็นผู้ตั้งคณะรัฐมนตรีและควบคุมคณะรัฐมนตรี ก็คือสภาและคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช ้อานาจอธิปไตยแทนปวงชนแล ้ว จึงเปลี่ยนคาว่า “ อานาจอธิปไตย เป็นของ ปวงชน ” เป็น “ อานาจอธิปไตย มาจาก ปวงชน ” ดังที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญเกือบทุกฉบับของประเทศเรา ซึ่งเป็นการทาลายหลักอันเป็นหัวใจของระบอบประชาธิปไตย ในปัจจุบัน ประเทศไทยมีการปกครองจากการเลือกตั้ง แต่อานาจอธิปไตยไม่ได ้เป็นของปวงชน แต่เป็นของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาด ฉะนั้น จึงต ้องเปลี่ยนอานาจอธิปไตยของกลุ่มผลประโยชน์ผูกขาดมาเป็นอานาจอธิปไตยของ ปวงชนเสียก่อน การปกครองมากจากการเลือกตั้ง จึงเป็นหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตยได ้ หลักการปกครองของระบอบประชาธิปไตย มี 5 ประการ คือ 1. อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน 2 เสรีภาพบริบูรณ์ของบุคคล 3. ความเสมอภาค 4. หลักกฎหมาย 5. การปกครองจากการเลือกตั้ง แต่หลักที่เป็นหัวใจของระบอบประชาธิปไตย คืออานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน แม้ว่าจะมีหลักอื่น ๆ แต่ไม่มีหลักอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนก็ไม่ใช่ระบอบประชาธิปไตย ฉะนั้นจะดูว่าระบอบใดเป็นระบอบประชาธิปไตยหรือไม่ ก่อนอื่นก็ต ้องดูที่ว่าอานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนหรือเป็นของคนส่วนน้อย (ตอนหนึ่งในสารสัมพันธิ์ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติ) Edit:thongkrm_virut@yahoo.com