SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร?
สืบเนื่องจากภัยอันตรายที่มีต่อความมั่นคงสถาพรของสถาบันพระมหากษัตริย์
ขบวนการประชาธิปไตยแห่งชาติผู้เผยแผ่แนวทางสร้างประชาธิปไตยพระปกเกล้ารัชกาลที่7และสถาบันประเสริฐ
ทรัพย์สุนทรขอถือโอกาสนาเสนอเนื้อหาจากหนังสือชื่อ"จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร"
เขียนโดยอ.ประเสริฐทรัพย์สุนทรซึ่งได้รับการตีพิมพ์เป็นตอนๆลงในนิตยสาร"ตะวันใหม่"ในปีพ.ศ. 2524
และต่อมาได้รับการตีพิมพ์อีกครั้งในหนังสือพิมพ์"สยามโพสต์"ในคอลัมน์"โลกสีฟ้ า"ของนายจาลองบุญสองในปีพ.ศ.
2539 และได้จัดพิมพ์รวมเล่มขึ้นเป็นครั้งแรกเป็นหนังสือพ็อคเก็ตบุคสาหรับแจกจ่ายในปีเดียวกัน
ในวโรกาสอภิลักขิตสมัยฉลองครองสิริราชสมบัติครบ50ปี
ในโลกข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ได้เคยนาเนื้อหาไปเผยแผ่ด้วยการโพสเป็นตอนๆในเว็บบอร์ดวิทยุผู้จัดการถึงสองครั้งเมื่อปี
2548-2549และในปี2551ตามลาดับ
ท่านผู้อ่านจะได้ทาความเข้าใจกับแนวทางและศึกษาปัญหาพื้นฐานของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาลัทธิการเมื
องที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของสถาบันชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์
และผู้เขียนได้เสนอแนวทางแก้ปัญหาไว้แล้วในบทสุดท้ายของหนังสือเล่มนี้
นับแต่สงครามโลกครั้งที่2ยุติลง
ประวัติศาสตร์ของประเทศไทยเป็นประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้ระหว่างขบวนการเผด็จการคอมมิวนิสต์กับขบวนการประชา
ธิปไตย โดยขบวนเผด็จการคอมมิวนิสต์มีขบวนเผด็จการรัฐสภาเป็น"แนวร่วม"หากขบวนเผด็จการคอมมิวนิสต์ชนะ
ประเทศไทยก็จะมีการปกครองแบบคอมมิวนิสต์เท่ากับว่าชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ก็จะสิ้นไป
แต่หากขบวนการประชาธิปไตยชนะประเทศไทยก็จะมีการปกครองแบบประชาธิปไตยชาติศาสนา
และพระมหากษัตริย์ก็จะมีความมั่นคงดารงอยู่ตลอดไป
นายประเสริฐทรัพย์สุนทรเป็นผู้นาเอาพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่7
ที่ทรงสืบทอดมาจากรัชกาลที่5และรัชกาลที่6
มาประยุกต์เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบันต่อสู้เอาชนะขบวนการเผด็จการคอมมิวนิสต์ที่มีขบวนการเผด็จการรัฐสภาเป็นแนว
ร่วมเพื่อรักษาชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์
โดยได้เสนอนโยบายต่อผู้ปกครองและประชาชนมาตลอดระยะเวลาหลายสิบปีตลอดจนสิ้นอายุขัย
การเสนอนโยบายของนายประเสริฐจาเพาะกลุ่มแคบลงต่อผู้ปกครอง
ถ้าหากผู้ปกครองคณะใดนาไปปฏิบัติก็จะแก้ปัญหาชาติบ้านเมืองได้
แต่ถ้าผู้ปกครองใดไม่นาไปปฏิบัติก็จะพากันล่มสลายหายไปจากการเมืองการปกครองทุกคณะ
และถึงแม้จะมีผู้ปกครองบางคณะรับเอาไปปฏิบัติไม่ครบถ้วนแต่ก็มีผลใหญ่หลวงสามารถรักษาชาติบ้านเมืองไว้ได้ เช่น
นโยบายต่อสู้กับทฤษฎีโดมิโนเพื่อให้ประเทศรอดพ้นจากการยึดประเทศจากคอมมิวนิสต์อินโดจีน
และนโยบายเพื่อต่อสู้เอาชนะคอมมิวนิสต์66/23บรรลุความสาเร็จของการสร้างการปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นต้น
และในโอกาสอันเป็นมงคลและในการเปิดตัวสานักสื่อปฏิวัติทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในแนวทางปฏิวัติสันติ
เพื่อเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และเพื่อให้มีความมั่นคงยั่งยืนไปชั่วนิรันดรด้วยความสาเร็จของการสถาปนาการปกครอ
งแบบประชาธิปไตยจึงมีความสอดคล้องเหมาะสมอย่างสาคัญที่สานักสื่อปฏิวัติจะได้นาเสนอ
“จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร”ซึ่งเขียนโดยนายประเสริฐทรัพย์สุนทรเป็นตอนๆอีกครั้งหนึ่ง
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร?
องค์คุณเอกภาพ3 ประการของประเทศไทยคือชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
ได้รับการเชิดชูขึ้นเป็นพิเศษโดยล้นเกล้าฯรัชกาลที่6พร้อมๆกับทรงเปลี่ยนธงชาติจากธงแดงรูปช้างสีขาวเป็นธง3 สี คือ
แดง ขาวน้าเงิน เรียกว่า“ธงไตรรงค์”
ธงไตรรงค์คือสัญลักษณ์ขององค์คุณเอกภาพ3ประการสีแดงเป็นสัญลักษณ์ของชาติ
สีขาวเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาสีน้าเงินเป็นสัญลักษณ์ของพระมหากษัตริย์
ชาติ หมายความถึงชนชาติไทยและประชาชาติสยามรวมกัน(ประชาชาติสยาม
เปลี่ยนเป็นประชาชาติไทยโดยรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมพ.ศ.2482ว่าด้วยนามประเทศ
เมื่อเปลี่ยนนามประเทศจากประเทศสยามเป็นประเทศไทยประชาชาติสยามก็เปลี่ยนเป็นประชาชาติไทย
และสยามรัฐก็เปลี่ยนเป็นรัฐไทย)
ศาสนาหมายความถึงศาสนาทุกศาสนาในประเทศไทยโดยเฉพาะหมายความถึงพุทธศาสนา
ซึ่งเป็นศาสนาที่สอดคล้อง
กับลักษณะของชนชาติไทยและชนชาติไทยรับเอาเป็นศาสนาของตนมาแต่โบราณกาล
พระมหากษัตริย์หมายความถึงประมุขแห่งรัฐว่าประเทศไทยทุกยุคทุกสมัยแต่โบราณมา
มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขแห่งรัฐ
ไม่ว่าสภาวการณ์ทางประวัติศาสตร์และทางสังคมของประเทศไทยจะพัฒนาไปอย่างไร
พระมหากษัตริย์เป็นประมุขแห่งรัฐคู่กับชนชาติไทยเสมอไป
องค์คุณ 3 ประการนี้เป็นเอกภาพกันแยกกันไม่ออกชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
เหมือนกับสีแดง สีขาวสีน้าเงินทั้ง 3 สี รวมกันอยู่อย่างแยกกันไม่ได้ในธงไตรรงค์ผืนเดียวกัน
ต่อมา เมื่อมีการปฏิวัติประชาธิปไตยเกิดขึ้นในประเทศไทยเมื่อพ.ศ.2475
รัฐบาลของระบอบประชาธิปไตยได้เพิ่มองค์คุณเข้าไปอีกองค์หนึ่งคือรัฐธรรมนูญองค์คุณเอกภาพ3
ประการจึงเปลี่ยนเป็นองค์คุณเอกภาพ4ประการคือชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และรัฐธรรมนูญ
การที่รัฐบาลสมัยนั้นเพิ่มรัฐธรรมนูญเข้าไปก็เพราะเข้าใจผิดที่ยกความสาคัญของรัฐธรรมนูญจนเกินไป
ซึ่งความจริงรัฐธรรมนูญ
หาได้มีฐานะสูงส่งเสมอด้วยชาติศาสนาและพระมหากษัตริย์ไม่
ถ้ารัฐบาลสมัยนั้นจะยกองค์คุณใดขึ้นมาเสมอด้วยองค์คุณ3ประการดังกล่าวองค์คุณนั้นควรเป็นระบอบประชาธิปไตย
ฉะนั้นถ้าจะเปลี่ยนองค์คุณเอกภาพ3ประการเป็นองค์คุณเอกภาพ4ประการตามดาริของรัฐบาลสมัยนั้นแล้วองคุณ4
ประการควรเป็นชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์และระบอบประชาธิปไตย
เมื่อการเพิ่มรัฐธรรมนูญเข้าไปอีกองค์คุณหนึ่งเกิดจากความเข้าใจผิดที่ยกความสาคัญของรัฐธรรมนูญสูงเกินไป
ต่อมาองคุณรัฐธรรมนูญจึงหายไปเองคงเหลือองค์คุณ3ประการคือชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์
ตามพระราชดาริอันถูกต้องของล้นเกล้าฯรัชกาลที่6มาจนถึงทุกวันนี้
และในปัจจุบัน กล่าวถึงองค์คุณเอกภาพ3ประการนี้นิยมกล่าวในฐานะเป็นสถาบันคือสถาบันชาติ
สถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ คนไทยพากันรู้สึกว่าสถาบันเอกภาพทั้ง3นี้
เริ่มได้รับความกระทบกระเทือนเมื่อมหาอานาจเจ้าอาณานิคมทาการคุกคามต่อประเทศหนักยิ่งขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินท
ร์ โดยมหาอานาจมุ่งจะทาลายเอกราชของประชาชาติสยามถ้าเอกราชของประชาชาติสยามถูกทาลายลงในครั้งนั้น
จะเป็นภัยคุกคามอย่างรุนแรงต่อสถาบันพุทธศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์
...ด้วยพระปรีชาญาณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ภัยคุกคามจากมหาอานาจต่อเอกราชของประชาชาติสยามถูกขจัดโดยพื้นฐานแต่ก็ยังไม่อาจไว้วางใจได้
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงส่งเสริมความรักชาติ(Patriotism) และลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นด้วยการเชิดชูองค์คุณ3ประการคือชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์ขึ้นเป็นพิเศษเป็นสาคัญประการหนึ่ง
ครั้งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
มหาอานาจสังคมนิยมเข้มแข็งขึ้นอย่างรวดเร็วคู่ขนานกับมหาอานาจเสรีนิยมภัยคุกคามต่อประเทศไทยด้วยรูปแบบต่างๆ
ก็ทวียิ่งขึ้นจึงจาเป็นต้องใช้มาตรการสูงสุดในการรับมือภัยคุกคามนั่นคือการปฏิวัติประชาธิปไตย
การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตยเมื่อพ.ศ.2475
แต่ระบอบประชาธิปไตยประสบความล้มเหลว
เป็นเหตุสาคัญให้ภัยคุกคามทวีขึ้นเป็นลาดับและเลวร้ายมากในปัจจุบันคุณบุญชูโรจนเสถียร
กล่าวคาบรรยายที่กรมยุทธศึกษาทหารบกเมื่อวันที่3 กรกฎาคม2524ตอนหนึ่งว่า
“ผมเห็นจะต้องเอ่ยถึงสถานการณ์ที่เห็นกันอยู่คือเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในประเทศเราในช่วงเวลาไม่นานมานี้
กาลังแผ่เงาดาครอบคลุมไปทั่วประเทศถ้าเราไม่คิดหลอกตัวเองกันเราก็ต้องยอมรับกันว่า
ทุกคนกาลังมีความกังวลห่วงใยบ้านเมืองของเราห่วงใยสถาบันต่างๆที่เราเคารพบูชาว่าตกอยู่ในสถานะที่อันตรายมาก
แต่จะเป็นด้วยเหตุใดก็ตามพวกเรามักเก็บไว้ในใจไม่พูดถึงกันอย่างไรก็ตามวันนี้ผมอยากระบายแทนเพราะเห็นว่า
ถ้าเราประสงค์จะอยู่รอดตลอดไปเราต้องหันหน้าเข้าสู้กับความจริง
ไม่ว่าความเป็นจริงนั้นจะลาบากยากเข็ญที่จะแก้เพียงใดหรือน่ากลัวเพียงใด
เราก็ต้องพร้อมใจกันฝ่ าฟันแก้ไขอย่างกล้าหาญไม่ย่อท้อแม้แต่น้อย”(จาก“ตะวันใหม่”ฉบับที่ 175)
คาของคุณบุญชู ที่กล่าวว่า“ทุกคนกาลังมีความกังวลห่วงใยบ้านเมืองของเราห่วงใยสถาบันต่างๆ
ที่เราเคารพบูชาว่าตกอยู่ในฐานะที่อันตรายมาก”นั้นเป็นการสะท้อนสภาพความเป็นจริงอย่างถูกต้องที่สุด
และคุณบุญชูกล่าวว่า“แต่จะเป็นด้วยเหตุใดก็ตามพวกเรามักจะเก็บไว้ในใจไม่พูดถึงกัน...วันนี้ผมจะขอระบายแทน”นั้น
เรา“ตะวันใหม่” ขอรับรองให้คุณบุญชูระบายแทนเพราะรู้สึกว่าคุณบุญชูสามารถใช้คาพูดสั้นๆ
วาดมโนภาพเข้าไปถึงส่วนลึกที่สุดในหัวใจของประชาชนชาวไทยรวมทั้งของ “ตะวันใหม่”
เกินกว่าความสามารถที่เราจะระบายเองได้ โดยเฉพาะที่คุณบุญชูกล่าวว่าทุกคนกาลังห่วงใยต่อสถาบันต่างๆ
ที่เราเคารพบูชาก็คือสถาบันชาติสถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์นั่นเอง
อย่างไรก็ดีเราเห็นว่าความสามารถของคุณบุญชู
มีเพียงแต่ระบายความในใจแทนคนไทยที่มีความห่วงใยสถาบันอันเป็นที่เคารพบูชาเท่านั้น
แต่ในปัจจุบันปัญหาไม่ได้มีเพียงการระบายความห่วงใยปัญหาสาคัญที่สุดในปัจจุบันคือ
ทาอย่างไรจึงจะแก้ให้สถาบันที่เราเคารพบูชาพ้นจากสภาพที่“ตกอยู่ในฐานะที่อันตรายมาก”
ที่คุณบุญชูระบายออกมาอย่างตรงกับความเป็นจริงที่สุดนั้นได้
ความห่วงใยสถาบันที่เราเคารพบูชาว่าตกอยู่ในฐานะที่อันตรายมากคือทุกข์แต่จะรู้ทุกข์เพียงอย่างเดียวมิได้
จะต้องรู้เหตุแห่งทุกข์และรู้หนทางแห่งความพ้นทุกข์ด้วย
เรารู้ทุกข์กันมามากแล้วเวลานี้ไม่ใช่เวลาที่เพียงแต่จะราพันถึงทุกข์
บัดนี้ถึงเวลาแล้วที่จะต้องแก้ทุกข์และพ้นทุกข์การที่จะพ้นทุกข์ได้นั้นจะต้องมีหนทางแก้ทุกข์อย่างถูกต้อง
ถ้ามีหนทางแก้ทุกข์ไม่ถูกต้องก็แก้ทุกข์ไม่ได้ ไม่พ้นทุกข์แต่กลับจะทุกข์หนักยิ่งขึ้นก็เป็นไปได้
ความจริงคุณบุญชูไม่ได้ระบายทุกข์อย่างเดียวคุณบุญชูได้เสนอหนทางแก้ทุกข์ด้วยเหมือนกัน
เช่นเดียวกับหลายคนที่ไม่เพียงแต่ระบายความห่วงใยต่อชาติบ้านเมืองเท่านั้น
หากยังเสนอวิธีแก้ปัญหาของประเทศชาติอีกด้วย แต่วิธีแก้ปัญหานั้นมีทั้งถูกต้องและผิดพลาด
วิธีแก้ปัญหาที่ถูกต้องเท่านั้นจึงจะแก้ปัญหาได้ วิธีการแก้ปัญหาที่ผิดพลาดไม่เพียงแต่จะแก้ปัญหาไม่ได้
หากยังจะทาให้ปัญหาร้ายแรงยิ่งขึ้นก็เป็นไปได้
สมัยก่อนพุทธกาลมีศาสดาเป็นอันมากสอนหนทางพ้นทุกข์แต่ไม่สามารถจะพ้นทุกข์
ก็เพราะหนทางเหล่านั้นเป็นหนทางที่ผิดพลาดการที่พระพุทธเจ้าอุบัติขึ้นในโลกคือ
การเกิดขึ้นของหนทางพ้นทุกข์ที่ถูกต้องเรียกว่าสัมมามรรคซึ่งปฏิเสธมิจฉามรรคของศาสนาอื่นสมัยนั้น
กล่าวโดยอนุโลมกับการเมืองสัมมามรรคก็คือนโยบายที่ถูกต้อง และมิจฉามรรคก็คือนโยบายที่ผิดพลาด เพราะ
“ตะวันใหม่” เห็นตรงกับคุณบุญชูและคนอื่นว่าสถาบันต่างๆที่เราเคารพบูชาตกอยู่ในอันตรายมาก
จาเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องแก้ไขโดยด่วนที่สุดแต่การที่แก้ไขได้นั้นไม่เพียงแต่จะ “ต้องหันหน้าเข้าสู่ความเป็นจริง
ไม่ว่าความเป็นจริงนั้นจะลาบากยากเข็ญที่จะแก้สักเพียงใดหรือน่ากลัวเพียงใด
เราจะต้องพร้อมใจกันฟันฝ่ าแก้ไขอย่างกล้าหาญไม่ย่อท้อแม้แต่น้อย”อย่างคุณบุญชูว่าเท่านั้น
ข้อสาคัญที่สุดจะต้องมีนโยบายที่ถูกต้องในการแก้ไขด้วยจึงจะแก้ไขได้
คนไทยไม่ได้ขาดความกล้าหาญและไม่ได้ขาดนโยบายสิ่งที่ขาดคือนโยบายที่ถูกต้อง
คุณบุญชูได้เสนอนโยบายสาหรับแก้ไขสถานการณ์ ซึ่งสถาบันต่างๆที่เราเคารพบูชาตกอยู่ในฐานะที่อันตรายมากไว้แล้ว
เช่นเดียวกับบุคคลอื่นและคณะบุคคลอื่นได้เสนอนโยบายไว้เป็นอันมาก
แต่ว่าเราเห็นว่านโยบายเหล่านั้นไม่สามารถจะแก้ปัญหาได้เพราะโดยพื้นฐานแล้วยังไม่เป็นนโยบายที่ถูกต้องยังไม่เป็นสัม
มามรรค
“ตะวันใหม่” ยืนยันว่านโยบายของเราสาหรับแก้ไขสถานการณ์ซึ่งสถาบันต่างๆ
ที่เราเคราพบูชาตกอยู่ในฐานะที่อันตรายมากนั้นเป็นนโยบายที่ถูกต้องและถ้านาไปปฏิบัติอย่างครบถ้วนแล้วสถาบันต่าง
ๆที่เราเคารพบูชาก็จะพ้นอันตรายและมีความมั่นคงและยั่งยืนไปชั่วนิรันดร
เราจึงขอนาเอานโยบายที่เรายืนยันว่าถูกต้องนั้นมาเสนอต่อสาธารณะอีกครั้งหนึ่ง
เพื่อได้โปรดพิจารณาโดยทั่วกัน และเพื่อให้สอดคล้องแก่กาลเวลาซึ่งใกล้อภิลักขิตสมัยเฉลิมฉลองกรุงเทพพระมหานครฯ
ครบรอบ200 ปี (ในปีที่เขียน)เพื่อเชิดชูสถาบันที่เราเคารพบูชาคือชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์
และในการเฉลิมฉลองนั้นเรียงลาดับโดยยกสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นอันดับแรกฉะนั้น
ในการนาเอานโยบายของเราเพื่อแก้ไขสถานการณ์ให้สถาบันที่เราเคารพบูชาพ้นจากฐานะที่ตกอยู่ในอันตรายมาและให้มี
ความมั่นคงยั่งยืนไปชั่วนิรันดรมาเสนอย้าในครั้งนี้เราขอเริ่มต้นด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์โดยให้ชื่อเรื่องว่า
“จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร”
เราตั้งหัวเรื่องว่าจะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไรคาว่า “มั่นคง”
มีความหมายอย่างเดียวกับคาว่า “ปลอดภัย”ตรงกับศัพท์อังกฤษว่าSecure เช่นคาว่าSecurityCouncil
แต่ก่อนแปลเป็นไทยว่า“คณะมนตรีความปลอดภัย”เวลานี้แปลว่า“คณะมนตรีความมั่นคง”และในปัจจุบันคาว่า
Security ก็ยังใช้ศัพท์คาไทย2คาอยู่เช่น National SecurityCentreใช้คาว่า“ศูนย์รักษาความปลอดภัยแห่งชาติ”
National SecurityCouncilใช้ว่า“สภาความมั่นคงแห่งชาติ”เป็นต้น
Secure แปลว่าUntroubledbydangerof apprehension(The Concise OxfordDictionary)
แปลเป็นไทยว่าไม่ยุ่งยากไม่ลาบากหรือไม่กังวลด้วยอันตรายหรือความกลัว
ฉะนั้น ความมั่นคงจึงหมายถึงความไม่ยุ่งยากไม่ลาบากหรือไม่กังวลด้วยอันตรายหรือความกลัวพูดง่ายๆ
ว่าไม่มีอันตรายหรืออันตรายทาอะไรไม่ได้นั่นเอง
ฉะนั้นการรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคง
ก็คือการทาให้สถาบันพระมหากษัตริย์ไม่มีอันตรายหรืออันตรายทาอะไรต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่ได้นั่นเอง
เรายกคาของคุณบุญชูโรจนเสถียรมาในฉบับก่อนว่า “ทุกคนกาลังกังวลห่วงใยบ้านเมืองของเรา
ห่วงใยสถาบันต่างๆที่เราเคารพบูชาว่าตกอยู่ในฐานะที่อันตรายมาก”คาของคุณบุญชูนี้พูดอีกนัยหนึ่งก็คือสถาบันต่าง
ๆที่เราเคราพบูชาตกอยู่ในฐานะที่ไม่มั่นคงมากคือสถาบันชาติสถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์
ตกอยู่ในฐานะที่ไม่มั่นคงมากนั่นเอง
เพราะฉะนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องรักษาสถาบันชาติสถาบันศาสนา
และสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงในที่นี้เราเริ่มต้นด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์จึงตั้งหัวเรื่องว่า
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
แต่ไหนแต่ไรมาคนไทยไม่เคยรู้จักและไม่เคยคิดถึงความไม่มั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์
เพราะสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีความมั่นคงมาโดยตลอด
คนไทยเคยรู้จักแต่ความไม่มั่นคงขององค์พระมหากษัตริย์บางองค์ในบางสมัยเท่านั้นเช่นในสมัยกรุงศรีอยุธยา
คนไทยรู้จักความไม่มั่นคงของพระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระเยาว์
หรือความไม่มั่นคงของพระมหากษัตริย์ซึ่งประชาชนไม่ยอมรับ(คือขุนวรวงศาธิราช)
หรือพระมหากษัตริย์ผู้ทรงมีผู้คิดชิงราชสมบัติมากหรือเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งหลัง
พระมหากษัตริย์ต้องเสด็จหนีและสิ้นพระชนม์
เหล่านี้คือความไม่มั่นคงขององค์พระมหากษัตริย์บางพระองค์ซึ่งคนไทยรู้จัก
แต่ในขณะที่พระมหากษัตริย์บางพระองค์ไม่มั่นคงนั้นสถาบันพระมหากษัตริย์มั่นคงโดยตลอดตรงนี้
เราเห็นควรชี้แจงไว้ด้วยคาว่า“พระมหากษัตริย์”นั้นมี2 ฐานะ คือฐานะสถาบันและฐานะบุคคล
ถ้ากล่าวถึงพระมหากษัตริย์ในฐานะบุคคลต้องใช้ราชาศัพท์
ปัญหานี้เคยมีการโต้เถียงกันในระหว่างการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญร่างของคณะกรรมาธิการใช้คาว่า
“...มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”มีสมาชิกโต้แย้งว่าต้องเติม“ทรง” เข้าไปเป็น “...มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”
พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ทรงอธิบายให้สมาชิกสภาฟังว่า “พระมหากษัตริย์”ในประโยคนี้
ไม่ใช่บุคคลจึงไม่ต้องใช้ราชาศัพท์การโต้เถียงจึงยุติ ดังกล่าวแล้วว่า
แต่ก่อนไทยไม่เคยรู้จักความไม่มั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์
เคยรู้จักแต่ความไม่มั่นคงของพระมหากษัตริย์บางพระองค์
แล้วเหตุใดเวลานี้คนไทยจึงเกิดความรู้สึกถึงความไม่มั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์อย่างมากดังตัวอย่างที่คุณบุญชู
ว่าตกอยู่ในฐานะที่อันตรายมาก?
คนไทยเริ่มห่วงใยถึงความไม่มั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์เมื่อมหาอานาจเจ้าอาณานิคมคุกคามเอกราชของประเทศไ
ทยรุนแรงยิ่งขึ้นในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์เพราะถ้ามหาอานาจยึดประเทศไทยได้ อาจทาลายสถาบันพระมหากษัตริย์
ดังตัวอย่างที่อังกฤษยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย์ในพม่าเป็นต้น
ก่อนยุคล่าอาณานิคมอย่างรุนแรงนั้นแม้ว่าประเทศไทยจะเคยแพ้สงคราม
ก็ไม่กระทบกระเทือนความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ผู้ชนะสงครามไม่ทาลายสถาบันพระมหากษัตริย์
เพียงแต่ทาอันตรายต่อพระมหากษัตริย์พระองค์เดิมเท่านั้นเช่นเมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยาแพ้สงครามแก่พม่าเมื่อพ.ศ.2112
สถาบันพระมหากษัตริย์ยังอยู่และเมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกเมื่อพ.ศ.2310
พระยาตากสินก็ยกสถาบันพระมหากษัตริย์ขึ้นมาอีกในทันทีทั้งๆที่สุกี้ยึดกรุงศรีอยุธยาอยู่
แต่ถ้าประเทศไทยตกเป็นเมืองขึ้นแก่มหาอานาจตะวันตกก็ไม่แน่ว่ามหาอานาจจะไม่ทาลายสถาบันพระมหากษัตริย์
นี่คือเริ่มแรกที่คนไทยเกิดความห่วงใยต่อความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์แต่ความห่วงใยนี้ก็เลือนหายไปเมื่อแน่ใจ
แล้วว่าประเทศไทยสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ ด้วยพระปรีชาญาณของพระมหากษัตริย์ไทย
....ความห่วงใยเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งเมื่อเกิดการเคลื่อนไหวปฏิวัติประชาธิปไตยขึ้นในประเทศไทยการเคลื่อนไหวประชาธิปไ
ตย (หรือขบวนการประชาธิปไตย)ในประเทศไทยนั้นแบ่งออกเป็น2 ส่วน
ส่วนหนึ่งดาเนินการปฏิวัติประชาธิปไตยโดยพระมหากษัตริย์เจ้านายและขุนนางผู้ใหญ่
อีกส่วนหนึ่งดาเนินการปฏิวัติประชาธิปไตยโดยข้าราชการระดับล่างและพ่อค้าประชาชน
ส่วนแรกไม่มีใครห่วงใยต่อความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ส่วนหลังก่อให้เกิดความเป็นห่วงอยู่บ้าง
การเคลื่อนไหวปฏิวัติประชาธิปไตยส่วนแรกซึ่งดาเนินการโดยพระมหากษัตริย์เจ้านายและขุนนางผู้ใหญ่นั้น
ความมุ่งหมายประการหนึ่งในการปฏิวัติประชาธิปไตยก็เพื่อรักษาความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์
ดังเช่นการปฏิวัติประชาธิปไตยในญี่ปุ่นซึ่งดาเนินการโดยพระจักรพรรดิเป็นต้น
ในประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ทรงมีพระราชดาริที่จะทาการปฏิวัติประชาธิปไตยอยู่
เพียงแต่จะทรงทาการปฏิรูปประชาธิปไตยเสียก่อนเท่านั้น
และการเคลื่อนไหวปฏิวัติประชาธิปไตยของเจ้านายและขุนนางในสมัยนั้นก็มีความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน
ดังเช่นคาท้ายถวายคากราบบังคมทูลแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ทรงรีบทาการปฏิวัติประชาธิปไตย
ของคณะเจ้านายและขุนนางเมื่อวันที่8มกราคม2428 มีข้อความตอนหนึ่งว่า
“ ด้วยความประสงค์อันนี้ข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงจึงสามารถกราบบังคมทูลพระกรุณา
บังอาจชี้แจงโดยพิสดารแลใช้ถ้อยคาอันเรี่ยวแรงดังนี้
เพราะเป็นความประสงค์ของข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงที่จะกราบบังคมทูลแสดงความกตัญญูรักใคร่ในใต้ฝ่ ายละอองธุลีพระบ
าทแลบ้านเมืองซึ่งได้เป็นของไทยมาหลายร้อยปี โดยเต็มตามใจคิดทุกอย่างไม่ได้คิดยั้งถ้อยคา
ถ้าผิดพลั้งเหลือเกินเรี่ยวแรงไปประการใดแล้วพระราชอาญาไม่พ้นเกล้าฯ
แลที่ข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงสามารถกราบบังคมทูลพระกรุณาทั้งนี้หาได้มีความประสงค์แห่งลาภ
ยศฐานานุศักดิ์ฦๅช่องโอกาสด้วยความประสงค์จะหาประโยชน์อย่างหนึ่งอย่างใดไม่
ข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงมีความประสงค์จะได้ฉลองพระเดชพระคุณซึ่งได้ทรงพระกรุณาชุบเลี้ยงเกล้าฯมา
แลทาความดีให้แก่บ้านเมืองซึ่งเป็นที่รักของข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายเพื่อให้เป็นเอกราชต่อไปด้วยร่างกายแลชีวิต
หาได้คิดถึงความสุขความเจริญแต่ในส่วนตัวต่อไปข้างหน้าไม่”
และอีกตอนหนึ่งว่า
“ ด้วยข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงมีความเชื่อถืออันเป็นแน่ว่า
ใต้ฝ่ าละอองธุลีพระบาทมีพระราชหฤทัยทรงพระอุตสาหะดังที่ได้มีมาเป็นพยานอยู่แต่ก่อนแล้วที่จะทรงพระราชวินิจฉัยในร
าชกิจทานุบารุงราชอาณาเขตและไพร่ฟ้ าประชาราษฎร์
ให้มีความสุขความเจริญต่อไปแลทั้งโดยความกตัญญูสวามิภักดิ์ของข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงเฉพาะใต้ฝ่ าละอองธุลีพระบาท
จึงทาให้ข้าพระพุทธเจ้ามีความประสงค์อันแรงกล้าที่จะได้เห็นรัชกาลของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทรุ่งเรืองยิ่งขึ้นไปด้วยควา
มดีความเจริญเพราะฉะนั้นข้าพระพุทธเจ้าทั้งปวงจึ่งสามารถขอรับพระราชทานพระบรมราชานุญาติ
กราบบังคมทูลใต้ฝ่ าละอองธุลีพระบาททรงพระราชดาริถึงรัชกาลปัตยุบันนี้ซึ่งตั้งอยู่ในสมัยอันประเสริฐคือ“ศิวิไลซ์” นี้
ไม่ควรที่จะให้มีความดี
ความเจริญเพียงเสมอรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแต่โบราณมาด้วยราชกิจแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าแผ่นดิ
นนั้นใช่แต่จะทรงทานุบารุงรักษาพระราชกิจแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินนั้น
ใช่แต่จะทรงทานุบารุงรักษาพระราชอาณาเขตให้พ้นจากภัยอันตรายตลอดไปชั่วรัชกาลหนึ่งนั้นมิได้
ต้องให้ความดีความเจริญที่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทได้ทรงพระราชอุตสาหะประพฤติมาในรัชกาลปัตยุบันนี้
เป็นการป้ องกันรักษาอันแน่นอนของกรุงสยาม
แลเป็นรากของความเจริญที่ต่อไปแลเมื่อรัชกาลในใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทสิ้นไปแล้วให้ผู้ที่จะมารักษาราชประเพณีสืบไป
แลทั้งข้าราชการราษฎรนั้นกลับระลึกได้ถึงรัชกาลของใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทด้วยความเคารพนับถือ
ว่าเอกราชของกรุงสยามแลกาเนิดของความสุขความสบายที่ตั้งอยู่เจริญรุ่งเรืองมาจนถึงวันนี้นั้น
เพราะใต้ฝ่ าละอองธุลีพระบาทพระองค์เดียวได้ทานุบารุงในทางอันประเสริฐมาแลจะได้เป็นแบบอย่างของรัชกาลข้างหน้า
สืบไป”
นี่คือคาท้ายของคากราบบังคมทูลของคณะเจ้านายและขุนนางให้พระมหากษัตริย์ทรงทาการปฏิวัติประชาธิปไตย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชหัตถเลขาตอบว่า
พระองค์ท่านทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะทาการปฏิวัติประชาธิปไตยอยู่แล้วดังข้อความตอนหนึ่งว่า
“... แต่เราของแจ้งความแก่ท่านทั้งปวงให้ทราบพร้อมกันด้วยว่าความที่น่ากลัวอันตรายอย่างใดซึ่งได้กล่าวมานั้น
ไม่เป็นการที่จะแลเห็นได้ขึ้นใหม่ของเราเลยแต่เป็นการได้คิดเห็นอยู่แล้วทั้งสิ้น
แลการที่ควรจะทะนุบารุงให้เจริญอย่างไรเล่าเรามีความปรารถนาแรงกล้าที่จะจัดการนั้นให้สาเร็จตลอดไปได้
ไม่ต้องมีความห่วงระแวงอย่างหนึ่งอย่างใดว่าเราจะเป็นผู้ขัดขวางให้การซึ่งจะเสียอานาจซึ่งเรียกว่าแอบโซลูต
เป็นต้นนั้นเลย เพราะเราได้เคยทดลองรู้มาแล้วตั้งแต่เวลาเป็นตุ๊กตาซึ่งไม่มีอานาจอันใดเลยทีเดียวนอกจากชื่อ
จนถึงเวลาที่มีอานาจขึ้นมาโดยลาดับจนเต็มบริบูรณ์ในบัดนี้ในเวลาที่มีอานาจน้อยปานนั้นได้
ความยากลาบากอย่างไรแลในเวลาที่มีอานาจมากเพียงนี้ได้รับความลาบากอย่างไรเรารู้ดีจาได้ดีเพราะที่จาได้อยู่อย่างนี้
เหตุไรเล่าเราจึงไม่มีความปรารถนาอานาจปานกลางซึ่งจะเป็นความสุขแก่ตัวเรา
และจะเป็นการมั่นคงถาวรของพระราชอาณาจักรด้วยนั้นเพราะเหตุฉะนี้เราขอให้ท่านทั้งปวงเข้าใจว่า
เราไม่เป็นพระเจ้าแผ่นดินซึ่งจะต้องบีบคั้นให้หันลงมาทางกลางเหมือนอย่างพระเจ้าแผ่นดินในยุโรปซึ่งมีมาในพงศาวดาร
และเพราะความเห็นความรู้ซึ่งเราได้เป็นเจ้าแผ่นดินมาถึงสิบแปดปี
ได้พบได้เห็นและได้เคยทุกข์ร้อนในการหนักการแรงการเผ็ดการร้อนของบ้านเมืองซึ่งมีอานาจจะมากดขี่ประการใด
ทั้งได้ยินข่าวคราวจาเมืองอื่นๆซึ่งมีเนือง ๆมิได้ขาด
แลการซึ่งเราได้ขวนขวายตะเกียกตะกายอยู่ในการที่จะเปลี่ยนแปลงมาแต่ก่อนจนมีเหตุบ่อย ๆ
เป็นพยานของเราที่จะยกขึ้นได้ว่า
เราไม่ได้เป็นประเจ้าแผ่นดินซึ่งเหมือนอย่างคางคกอยู่ในกะลาครอบที่จะทรมานให้สิ้นทิฐิ
ถือว่าตัวนั้นโตด้วยอย่างหนึ่งอย่างใดเลย”
นี่คือความพยายามเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ซึ่งเวลานั้นเรียกว่าแอบโซลูตโมนากี (Absolute
Monarchy) เป็นระบอบปริมิตาญาสิทธิราชย์ซึ่งเวลานั้นเรียกว่าลิมิเต็ดโมนากี (LimitedMonarchy)
ซึ่งก็คือความพยายามที่จะทาการปฏิวัติประชาธิปไตยโดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและเจ้านายขุนนางผู้
ใหญ่ และถ้าความพยายามนั้นเป็นผลสาเร็จ
ก็จะเป็นไปเพื่อความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสาคัญประการหนึ่ง
...การปฏิวัติประชาธิปไตยสมัยรัชกาลที่7 ซึ่งประสบความสาเร็จอยู่ในระยะเวลาสั้นๆ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีส่วนสาคัญที่สุดอยู่ส่วนหนึ่ง
และถ้าไม่ได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากพระองค์ท่านแล้วการปฏิวัติครั้งนั้นอาจล้มเหลวโดยสิ้นเชิงก็เป็นได้
พระราชบันทึกฉบับหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวถึงรัฐบาลและสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ
พ.ศ.2475 มีข้อความ ตอนต้นว่า
“ ก่อนอื่นหมด ข้าพเจ้าขอชี้แจงเสียโดยชัดเจนว่าเมื่อพระยาพหลฯและคณะผู้ก่อการฯ
ร้องขอให้ข้าพเจ้าอยู่ครองราชย์สมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญนั้น
ข้าพเจ้ายินดีรับรองก็เพราะเข้าใจและเชื่อมั่นว่าคณะผู้ก่อการฯต้องการจะสถาปนาการปกครองแบบ“ประชาธิปไตย”
หรือDemocraticGovernment ตามแบบอย่างของประเทศอังกฤษและประเทศอื่น
ซึ่งมีพระมหากษัตริย์ปกครองภายใต้อานาจอันจากัดโดยรัฐธรรมนูญ”
จะเห็นได้ว่าพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวที่จะทาการปฏิวัติประชาธิปไตยนั้น
ในด้านประมุขแห่งรัฐแล้วก็เพื่อรักษาระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ(ConstitutionalMonarchy)
ตามแบบอังกฤษและประเทศอื่นที่มีการปกครองระบอบนั้น
แต่การที่ทรงขัดแย้งกับคณะราษฎรก็ไม่ได้ขัดแย้งกันในปัญหาพระมหากษัตริย์สมเด็จพระปกเกล้าฯ
กับคณะราษฎรมีความเห็นตรงกันในปัญหานี้ข้อขัดแย้งอยู่ที่ว่าสมเด็จพระปกเกล้าฯ
ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทาให้อานาจอธิปไตยเป็นของปวงชน
ถ้าอานาจอธิปไตยซึ่งคณะราษฎรยึดกุมไว้นั้นนาไปใช้ให้เป็นไปตามความต้องการของปวงชนแล้ว
พระองค์ท่านก็จะทรงเห็นชอบด้วยดังพระราชหัตถเลขาตอนหนึ่งว่า
“ข้าพเจ้าได้พูดไว้นานแล้วว่าข้าพเจ้าจะยอมสละอานาจของข้าพเจ้าให้แก่ราษฎรทั้งปวง
แต่ไม่สมัครที่จะสละอานาจให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งหรือคณะใดคณะหนึ่ง
เว้นแต่ว่าเป็นความประสงค์ของประชาชนอันแท้จริงเช่นนั้น”
อย่างไรก็ดีความล้มเหลวของการปฏิวัติประชาธิปไตยครั้งนั้นและความขัดแย้งระหว่างสมเด็จพระปกเกล้าฯ
กับคณะราษฎรในปัญหาอานาจอธิปไตยก็มิได้กระทบกระเทือนความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ประการใดเพียงแ
ต่สมเด็จพระปกเกล้าฯทรงสละราชสมบัติ
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบสันตติวงศ์ต่อไป
สถาบันพระมหากษัตริย์มีความมั่นคงดังเดิม
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า
การปฏิวัติประชาธิปไตยซึ่งดาเนินการโดยพระมหากษัตริย์และเจ้านายและขุนนางผู้ใหญ่นั้นเป็นไปเพื่อความมั่นคงของสถ
าบันพระมหากษัตริย์
ในตอนก่อนเราชี้ให้เห็นว่า
ความไม่มั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์เริ่มมีขึ้นเมื่อมหาอานาจเจ้าอาณานิคมคุกคามเอกราชของประเทศไทยอย่างรุน
แรงในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่5 ครั้งนั้นถ้ามหาอานาจยึดประเทศไทยได้
ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ก็จะสูญสิ้นหรือลดลงอย่างมากดังตัวอย่างในประเทศเพื่อนบ้าน
แต่ด้วยพระราชปรีชาญาณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ประเทศไทยก็ผ่านพ้นอันตรายจากมหาอานาจไปได้ สถาบันพระมหากษัตริย์ดารงความมั่นคงต่อไป และเราได้ชี้ว่า
ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ได้รับความกระทบกระเทือนอยู่บ้างในช่วงของการปฏิวัติประชาธิปไตย
แต่จะกระทบกระเทือนอย่างไรนั้น
จะต้องดูสภาพความเป็นจริงของกระบวนการปฏิวัติประชาธิปไตยอย่างรอบด้านและละเอียดถี่ถ้วน
จึงจะมองเห็นและเข้าใจอย่างถูกต้องได้
แต่เราจาเป็นต้องขอย้าไว้ในที่นี้ด้วยว่าเมื่อพูดถึงการปฏิวัติประชาธิปไตยเราหมายถึงจินตภาพ(Concept)
ของศัพท์วิชาการ(Technical term) ของคานี้ในวิชารัฐศาสตร์
อันได้แก่การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเผด็จการรูปใดรูปหนึ่งเป็นระบอบประชาธิปไตย
การปกครองระบอบเผด็จการนั้นมีหลายรูปเช่นระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ระบอบเผด็จการทหาร
ระบอบเผด็จการฟาสซิสต์ระบอบเผด็จการรัฐสภาเป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงระบอบเผด็จการเหล่านี้เป็นระบอบประชาธิปไตยคือการปฏิวัติประชาธิปไตย(Democratic
Revolution) ซึ่งในศัพท์วิชาการในวิชารัฐศาสตร์
เราหมายถึงจินตภาพนี้เท่านั้นโดยไม่เกี่ยวกับจินตภาพอื่นของปฏิวัติประชาธิปไตยซึ่งมีผู้ให้ความหมายไปต่างๆ
นานาตามที่นึกคิดเอาเองเช่นหมายถึงรัฐประหารหมายถึงการยึดอานาจหมายถึงวิธีการรุนแรง
กระทั่งหมายถึงทาลายสถาบันพระมหากษัตริย์และหมายถึงสายโซเวียตเป็นต้น
เหล่านี้เป็นจินตภาพปฏิวัติประชาธิปไตยที่หลายคนกาหนดขึ้นเองตามอาเภอใจ
ซึ่งนอกจากจะไม่เอื้อเฟื้อแก่ศัพท์วิชาการแล้วยังน่าขายหน้าแก่ชาวต่างประเทศและแก่ผู้รู้ในบ้านเราเองอีกด้วย
บางคนไปไกลถึงกับกล่าวว่าคาว่า “การปฏิวัติประชาธิปไตย”นั้นไม่มีคนบางคนตั้งขึ้นมาเอง
ก็ประธานาธิบดีมากอสเขียนหนังสือเล่มใหญ่เล่มหนึ่งให้ชื่อว่าThe DemocraticRevolutionisthe Philippines
(การปฏิวัติประชาธิปไตยในฟิลิปปินส์)ท่านผู้นี้ตั้งคานี้ขึ้นมาเองหรือ?
ฉะนั้นเมื่อพูดถึงคาว่าการปฏิวัติประชาธิปไตยเราขอให้พูดในฐานะเป็นศัพท์วิชาการ(Technical term)
ของวิชารัฐศาสตร์เพื่อจะได้เกิดประโยชน์แก่การพิจารณาปัญหาของชาติบ้านเมืองแม้คาอื่นๆที่เป็น Technical term
เราก็ขอให้พิจารณาด้วยทัศนคติเช่นนี้ปัญหาของชาติบ้านเมืองเป็นปัญหาใหญ่ ๆ
ถ้าแม้แต่การใช้ถ้อยคาก็ไม่เอื้อต่อหลักวิชาการเสียแล้วจะพิจารณาปัญหาของชาติบ้านเมืองกันได้อย่างไร
ในตอนก่อนเราได้กล่าวถึงการปฏิวัติประชาธิปไตยซึ่งกระทาโดยพระมหากษัตริย์เจ้านายและขุนนางผู้ใหญ่ว่า
นอกจากจะไม่
กระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์แล้วยังเป็นการส่งเสริมความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริ
ย์อีกด้วยถ้าการปฏิวัติประชาธิปไตยในสมัยรัชกาลที่5ประสบความสาเร็จหรือสมเด็จพระปกเกล้าฯ
ทรงทาการปฏิวัติประชาธิปไตยสาเร็จตามที่ทรงตั้งปณิธานไว้แล้วสถาบันพระมหากษัตริย์ของประเทศไทยจะมั่นคงที่สุด
ชาวไทยจะไม่ต้องมากังวลห่วงใยต่อความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์กันอยู่ในเวลานี้เลย
ต่อไปนี้มาดูการปฏิวัติประชาธิปไตยซึ่งกระทาโดยข้าราชการระดับล่างและพ่อค้าประชาชน
ครั้งแรกคือการปฏิวัติประชาธิปไตยซึ่งนาโดยคณะรศ.130มี ร.อ.ขุนทวนหาญพิทักษ์(หมอเหล็ง ศรีจันทร์)เป็นหัวหน้า
ผู้นาคนสาคัญๆของคณะเช่น ร.ต.เนตรพูนวิวัฒน์ร.ต.จรูญ ษตะเมตร.ต.หม่อมราชวงศ์ แซ่ รัชนิกรนาย อุทัย
เทพหัสดินนายเซี้ยงสุวงศ์นายบุญเอก ตันสถิตฯลฯคณะ ร.ศ.130 เป็นคนหนุ่ม อายุถัวเฉลี่ย20ปี หัวหน้าคือ
ร.อ.ขุนทวยหาญพิทักษ์อายุ28 ปี ร.ต.เหรียญศรีจันทร์ อายุเพียง18 ปี
นายทหารของคณะร.ศ.130 เกือบจะทุกคนเป็นมหาดเล็กในกรมหลวงพิษณุโลก
นอกนั้นเป็นมหาดเล็กในกรมหลวงนครสวรรค์กรมหลวงราชบุรี กรมหลวงนครชัยศรี บางคนเป็นเชื้อพระวงศ์
บางคนเป็นข้าหลวงเดิมหรือมหาดเล็กในรัชกาลที่6และกรมหลวงพิษณุโลกทรงระแคะระคายอยู่แล้ว
ถึงการเคลื่อนไหวของคณะนี้เพราะเป็นข่าวที่ไม่เป็นความลับอีกต่อไป
แต่พระองค์ทรงถือว่าเป็นเรื่องของคนหนุ่มหัวก้าวหน้าและพระองค์ท่านก็ทรงมีพระทัยใฝ่ทางก้าวหน้าอยู่เหมือนกัน
ความมุ่งหมายของคณะร.ศ.130 คือ
ยกเลิกระบอบพระมหากษัตริย์สมบูรณาญาสิทธิราชย์และเปลี่ยนแปลงเป็นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญซึ่งค
รั้งนั้นหมายถึงระบอบประชาธิปไตย
คณะร.ศ.130 ไม่มีความมุ่งหมายที่ยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย์
สิ่งที่คาดคิดอยู่บ้างก็คือถ้าหากมีความจาเป็นอย่างที่สุดก็เปลี่ยนแปลงเพียงองค์พระประมุขเท่านั้น
มิใช่เปลี่ยนแปลงสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันประธานาธิบดีแต่คณะร.ศ.130
ก็ไม่เชื่อว่าต้องถึงกับเปลี่ยนแปลงองค์พระประมุขดังบันทึกของร.ต.เหรียญและร.ต.เนตร ผู้นาคนสาคัญของคณะ
ร.ศ.130 กล่าวไว้ว่า
“ ไม่เชื่อว่าจะต้องเปลี่ยนองค์พระประมุขของชาติ
เพราะคณะมีเหตุผลอย่างสมบูรณ์ที่ทาให้ถวายความเชื่อในพระเกียรติยศแห่งองค์พระประมุขว่า
พระองค์ทรงสืบสายโลหิตมาแต่ตระกูลขัตติยะและทรงศึกษามาจากสานักที่ทรงเกียรติอันสูงส่งณประเทศอังกฤษ
ซึ่งเป็นมารดาแห่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย..หากคณะจักมีความจาเป็นที่สุดที่จะเดินหน้าจนถึงกับจะต้องเปลี่ยน
องค์พระประมุขแห่งชาติแล้วไซร้...เช่นที่เคยมีการปรึกษาหารือกันภายในของแต่ละกลุ่มสมาชิกไว้ดังนี้
ฝ่ ายทหารบกจะทูลเชิญทูลกระหม่อมจักรพงศ์ฝ่ ายทหารเรือจะทูลเชิญทูลกระหม่อมบริพัตร
และฝ่ ายกฎหมายกับพลเรือนจะทูลเชิญในกรมหลวงราชบุรี ”
และวิธีการของการปฏิวัติประชาธิปไตยครั้งนั้นคณะร.ศ.130 ได้กาหนดไว้ว่าจะปฏิบัติการโดยสงบ
มิให้มีการต่อสู้กันด้วยกาลังโดยคณะปฏิวัติจะเข้าเฝ้ าทูลเกล้าฯถวายหนังสือแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในวันถือน้าพระพิพัฒน์สัตยา 1เมษายน2455 ดังบันทึกของ ร.ต.เนตร และ ร.ต.เหรียญ
กล่าวไว้ว่า
“ ยังเหลือเวลาประมาณ50
วันเท่านั้นก็จะถึงวาระสาคัญของคณะปฏิวัติที่จะเบิกโรงดาเนินการทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายหนังสืออันเป็นประวัติศาส
ตร์ของชาติไทยแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระประมุขแห่งชาติด้วยคารวะอย่างสูง
โดยหัวหน้าคณะปฏิวัติณภายในอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามท่ามกลางพระบรมวงศานุวงศ์
และมวลอามาตย์ข้าราชบริพารชั้นผู้ใหญ่ในพระราชพิธีศรีสัจจปานกาลคือถือน้าพระพิพัฒน์สัตยาในต้นเดือนเมษายน
ร.ศ.130 (พ.ศ.2455) อันเป็นวันขึ้นปีใหม่ของไทยสมัยนั้นโดยมีกาลังทหารทุกเหล่าในพระนครพร้อมด้วยอาวุธ
ซึ่งปกติทุกปีมาเคยตั้งแถวเป็นเกียรติยศรับเสด็จพระราชดาเนินณสนามหญ้าหลังวัดพระแก้วโดยพร้อมสรรพ
และเฉพาะปีนี้ก็พร้อมที่จะฟังคาสั่งของคณะปฏิวัติอยู่รอบด้านอีกด้วยเพราะทหารทุกคนณ
ที่นั้นเป็นทหารของคณะปฏิวัติแล้วเกือบสิ้นเชิง........
แม้แต่ทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์และทหารราบที่11 รักษาพระองค์
ที่ถือปืนสวมดาบปลายปืนยามรักษาพระองค์อยู่หน้าประตูโบสถ์ก็คือทหารคณะปฏิวัตินั่นเองตามแผนของคณะฯ
จักไม่มีการต่อสู้กันเลยจากทหารที่ถืออาวุธในพระนคร
เพราะหน่วยกาลังที่จะช่วงใช้เพื่อรบราฆ่าฟันกันเองจะมีขึ้นไม่ได้เป็นอันขาด
แม้นายทัพนายกองชั้นสูงคนใดจะออกคาสั่งก็หาเป็นผลประการใดไม่ ค่าที่หน่วย กาลังอันแท้จริงของกองกาลังนั้น
ได้ตกอยู่ในกามือของพรรคปฏิวัติดังกล่าวนับแต่ชั้นพลทหารและนายสิบขึ้นไปจนถึงนายทหารผู้บังคับบัญชา
โดยตรงคือชั้นประจากองโดยคณะปฏิวัติจาต้องจัดหน่วยกล้าตายออกคุมจุดสาคัญๆ
ในพระนครพร้อมกันเมื่อได้ยินเสียงกระหึ่มของปืนใหญ่อาณัติสัญญาณลั่นขึ้นในพระนครสองสามแห่งและพร้อมกันนั้นต้อ
งใช้กาลังเข้าขอร้องเชิงบังคับให้นายทหารชั้นผู้ใหญ่บางคนที่เห็นสมควร
และชี้ตัวไว้แล้วมาดาเนินการร่วมด้วยกับคณะในบางตาแหน่งโดยขอให้พิจารณาตัดสินใจทันทีเพื่อความเจริญของชาติไท
ยในสมัยอารยนิยม ”
เมื่อตรวจสอบเจตนาและพฤติกรรมของคณะร.ศ.130 โดยละเอียดแล้วจะไม่พบเลยว่าคณะร.ศ.130
มีความมุ่งหมายจะยกเลิกสถาบันพระมหากษัตริย์
และนาเอาสถาบันประธานาธิบดีหรือสถาบันอื่นมาเป็นประมุขของประเทศแทนตรงกันข้าม
จะพบแต่การเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
ทั้งต้องการจะเชิดชูองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้สูงส่งยิ่งขึ้นด้วย
โดยปรารถนาที่จะให้พระองค์ท่านทรงร่วมมือกับคณะโดยดารงฐานะพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ซึ่งเวลานั้นเรียกว่า“ลิมิเต็ดมอนากี”ดังคาให้การของร.อ.ขุนทวยหาญฯหัวหน้าคณะต่อศาลทหารว่า
“ เพียงแต่มีการหารือกันเพื่อทาหนังสือทูลเกล้าฯถวายในอันจะขอพระมหากรุณาธิคุณให้องค์พระมหากษัตริย์
ทรงปรับปรุงการปกครองให้สอดคล้องกับกาลสมัยโดยเปลี่ยนการปกครองเป็นลิมิเต็ดมอนากี นอกจากนั้น
สมาชิกของคณะร.ศ.130 บางคนเข้าร่วมการปฏิวัติประชาธิปไตย
ด้วยความหวังที่จะดารงไว้ซึ่งความเป็นพระประมุขของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ
ด้วยเห็นว่าการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะเป็นภัยแก่พระองค์ท่านในจานวนนั้นมีอยู่คนหนึ่งชื่อร.ท.แม้น
สังขวิจิตรผู้บังคับกองร้อยมหาดเล็กรักษาพระองค์ซึ่งสมเด็จพระมงกุฎเกล้าทรงโปรดปรานมากและร.ท.แม้น
ก็ถวายความจงรักภักดีต่อพระองค์เสมอด้วยบิดาบังเกิดเกล้าร.ต.เนตรบันทึกไว้ว่า “ การร่วมปฏิวัติของเขา
ก็คือความหวังที่จะดารงไว้ซึ่งความเป็นประมุขของพระองค์ในภาวะอนาธิปไตยโดยเห็นว่า
การปกครองแบบราชาธิปไตยนี้จะเป็นยาพิษแก่ราชบัลลังก์อย่างแน่แท้ ”
เมื่อทอดพระเนตรเห็นร.ท.แม้น อยู่ในรายชื่อของคณะร.ศ.130 ไม่ทรงเชื่อว่าร.ท.แม้น จะร่วมด้วย
และรับสั่งกับทูลกระหม่อมจักรพงษ์ว่า “ ถ้าไอ้แม้นไปกับพวกเขาด้วยก็ต้องเฆี่ยนหลังมันเสีย ”
รับสั่งนี้ไปเข้าหูร.ท.แม้น ในคุก เข้าจึงเขียนจดหมายซุกซ่อนไปในอาหารที่รับประทานเหลือถึงบิดาของเขา
ขอให้วิ่งเต้นด้วยวิธีต่างๆรวมทั้งวิธีไสยศาสตร์เพื่อไม่ให้เขาถูกเฆี่ยนหลังเพราะถือว่า
การถูกเฆี่ยนหลังเป็นการเสื่อมด้วยเกียรติของชายชาตินักรบตลอดทั้งวงศ์ตระกูลด้วย
แม้แต่จะลงพระราชอาญาประหารชีวิตก็ไม่ว่าจดหมายนี้ผู้คุมจับได้ และส่งขึ้นไปตามลาดับจนถึงในหลวง
เพียงไม่กี่วันต่อมาเมื่อพระองค์เสด็จโดยรถยนต์พระที่นั่งไปตามถนนราชดาเนินทอดพระเนตรเห็นร.ต.ฟู
ซึ่งอยู่ใต้บังคับบัญชาของ ร.ท.แม้น จึงรับสั่งให้หยุดรถพระที่นั่งและกวักพระหัตถ์ให้ ร.ต.ฟูเข้าเฝ้ าฯณ
กลางถนนนั้นรับสั่งว่า“ เอ็งไปบอกเจ้าแม้นมันว่าข้าเลิกเฆี่ยนหลังแล้วมันจะได้สบายใจ”
ชาวคณะร.ศ.130 ทุกคนยืนยันว่าข่าวที่ว่าคณะร.ศ.130 จะปลงพระชนม์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เป็นข่าวกุเมื่อ ร.ท.จรูญ ณบางช้าง ผู้นาคนหนึ่งของคณะได้ทราบข่าวนี้คิดว่าเป็นเรื่องจริง
จึงเขียนจดหมายถึงพรรคพวกที่อยู่นอกคุกแช่งด่าพวกนั้นอย่างรุนแรงและเรียกร้องให้สมนาคุณบุคคลต่างๆ
อันประกอบด้วยK ( หมายถึงพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว)“ เจ้าพ่อนโปเลียน ” (
หมายถึงเจ้าฟ้ ากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ)และ “ วังบูรพาผู้เฒ่า ”(
หมายถึงสมเด็จเจ้าฟ้ ากรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช) ตอนหนึ่งมีข้อความว่า“
เราผู้เป็นมนุษย์จึงควรบูชาคุณของท่านทั้งสามนี้ไว้เหนือเกล้าฯของเราทุกเวลาตลอดชีพของเรา ”
(กองจดหมายเหตุแห่งชาติ)
นอกจากข่าวกุซึ่งกาลังแพร่สะพัดอย่างครึกโครมแล้วยังมีพยานเท็จจาก “ ผู้หักหลัง ” คือร.อ.ยุทธ คงอยู่
หรือหลวงสินาดโยธารักษ์ซึ่งให้การว่าพวกร.ศ.130 จะปลงพระชนม์ในหลวงและจะเปลี่ยนการปกครองเป็นรีปับลิค(
บุคคลผู้นี้ต่อมาได้เป็นพ.อ.พระยากาแพงรามถูกจับในคดีกบฏบวรเดชและผูกคอตายในคุกบางขวาง )
เมื่อคณะร.ศ.130 ถูกจับได้ใหม่ ๆ มีข่าวเป็นที่เชื่อถือได้ว่าศาลทหารจะตัดสินลงโทษเพียง3ปี 5 ปี
และว่าในหลวงจะไม่ทรงเอาโทษแต่ครั้นมีข่าวกุและพยานเท็จดังกล่าว
จึงตัดสินโทษสถานหนักแต่ถ้าดูจากเหตุผลข้อเท็จจริงในคาพิพากษาแล้วก็ยังต้องถือว่าเป็นการลงโทษสถานเบา
ดังคาพิพากษาตอนหนึ่งว่า
“ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯให้นายทหารบกนายทหารเรือรวม7 นาย
เป็นกรรมการพิจารณาทาคาปรึกษาโทษขึ้นกราบบังคมทูลพระกรุณามีใจความที่วินิจฉัยตามที่ได้พิจารณาได้ความว่า
ผู้ที่ร่วมคิดในสมาคมนี้มีความเห็นจะเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นรีปับลิคบ้างเป็นลิมิเต็ดมอนากีบ้าง
ส่วนที่จะจัดการอย่างไรจึงจะเปลี่ยนแปลงการปกครองได้นั้น
ปรากฏชัดในที่ประชุมถึงการกระทาประทุษร้ายต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวด้วย
แม้บางคนจะไม่มีเจตนาโดยตรงที่จะประทุษร้ายต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็ดี
แต่ก็ได้สมรู้เป็นใจกันและช่วยกันปกปิดความเพราะฉะนั้นตามลักษณะความผิดนี้กระทาผิดต่อกฎหมายลักษณะอาญา
มาตรา97 ตอนที่ 2 มีโทษประหารชีวิตด้วยกันทุกคนไปบางคนกระทาผิดมากไม่สมควรลดโทษเลย
แต่บางคนกระทาความผิดน้อยบ้างได้ให้การสารภาพให้เป็นประโยชน์ในการพิจารณาบ้าง
และมีเหตุผลอื่นสมควรจะลดหย่อนความผิดบ้างอันเป็นเหตุให้ควรลดโทษฐานปราณีตามกฎหมายลักษณะอาญามาตรา
37 และมาตรา59 จึงกาหนดโทษเป็น5 ขั้น ดังนี้ขั้นที่ 1 ให้ลงโทษประหารชีวิต3คน ขั้นที่ 2
ลดโทษเพียงจาคุกตลอดชีวิต20 คนขั้นที่ 3 ลดโทษลงเพียงจาคุกมีกาหนด20ปี 32 คนขั้นที่ 4 ลดโทษลงเพียงจาคุก
มีกาหนด15 ปี 6 คนขั้นที่ 5 ลดโทษลงเพียงจาคุกมีกาหนด12 ปี 30 คน” (คัดจากคาพิพากษาคดีกบฏร.ศ.130)
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระบรมราชวินิจฉัยเด็ดขาดดังนี้
“ได้ตรวจคาพิพากษาซึ่งได้พิจารณาปรึกษาโทษในคดีผู้มีชื่อ91 คนก่อการกาเริบลงวันที่5 พฤษภาคมนั้น
ตลอดแล้วเห็นว่ากรรมการพิจารณาลงโทษพวกเหล่านั้นมีข้อสาคัญที่จะทาร้ายต่อตัวเรา
เราไม่ได้มีจิตพยาบาทคาดร้ายต่อพวกนี้เห็นควรที่จะลดหย่อนผ่อนโทษโดยฐานกรุณา
ซึ่งเป็นอานาจของพระเจ้าแผ่นดินที่จะยกโทษให้ได้ เพราะฉะนั้นบรรดาผู้ที่มีชื่อ3 คน
ซึ่งวางโทษไว้ในคาพิพากษาของกรรมการว่าเป็นโทษขั้นที่1ให้ประหารชีวิตนั้นให้จาคุกตลอดชีวิต”
และทรงให้ลดโทษจาคุกตลอดชีวิตเป็นจาคุก 20ปี และที่วางโทษ20 ปี 15 ปี และ 12 ปีนั้น
ให้รอการลงอาญาและจะเห็นได้ตามพระราชวินิจฉัยว่า
คาพิพากษาถือเอาการประทุษร้ายพระเจ้าแผ่นดินเป็นความผิดสาคัญ
มิใช่ถือเอาการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นความผิดสาคัญ
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าทรงมีพระราชประสงค์จะปลดปล่อยนักโทษคดีร.ศ.130 ตั้งแต่ติดคุกมาได้เพียง4-5ปี
แต่เจ้านายผู้ใหญ่บางพระองค์ทรงท้วงไว้จนถึงพ.ศ.2468 จึงได้ทรงปลดปล่อยทั้งหมด
ก่อนปลดปล่อยเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมคือเจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธรให้นักโทษทาทัณฑ์บนไว้ว่า “
เมื่อได้รับการปลดปล่อยแล้วนักโทษการเมืองจะไม่คิดร้ายใดๆต่อองค์พระประมุขของชาติเป็นอันขาด ”
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร
จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร

More Related Content

Similar to จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานีThongkum Virut
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารBoBiw Boom
 

Similar to จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร (9)

Phi yim
Phi yimPhi yim
Phi yim
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานี
 
มติชนสุดสัปดาห์ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2555
มติชนสุดสัปดาห์ วันที่  12 ตุลาคม พ.ศ. 2555มติชนสุดสัปดาห์ วันที่  12 ตุลาคม พ.ศ. 2555
มติชนสุดสัปดาห์ วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2555
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหารการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ Is2 รัฐประหาร
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

จะรักษาสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มั่นคงได้อย่างไร