SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
CRIMINOLOGY
อาชญาวิทยาคืออะไร
WHAT
IS
?
สารบัญ
1.ที่มาและความสําคัญ
2.จุดประสงค์
3.ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับอาชญาวิทยา
4.อาชญาวิทยาคือ
อะไร
5.อาชญาวิทยาเรียนอะไร
10.แนวทางอาชีพทาง
อาชญาวิทยา
16.แหล่งอ้างอิง
15.ผู้จัดทํา
14.วิดีโอที่เกี่ยวข้อง
13.สถาบันที่เปิดสอน
อาชญาวิทยา
12.การเตรียมตัว
สําหรับผู้สนใจ
11.คุณสมบัติผู้ประกอบ
อาชีพ
6.วัตถุประสงค์และขอบเขต
ของการศึกษาอาชญาวิทยา
7.ประโยชน์ของการศึกษา
วิชาอาชญาวิทยา
8.การพัฒนาทฤษฎีทาง
ด้านอาชญาวิทยา
9.ตัวอย่างการใช้ทฤษฎี
อาชญาวิทยาเพื่อวิเคราะห์
สาเหตุของการกระทําความผิด
1.ที่มาและ ความสําคัญ
MENU
ที่มาและความสําคัญ
ในทุกช่วงยุคสมัยของโลกมีการก่ออาชญากรรมทุกช่วงเวลา และมี
อัตราการเติบโตสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในการก่อ อาชญากรรมแต่ละคดีมีความ
แตกต่างของสาเหตุ แรงจูงใจในการก่อเหตุ จึงทําให้มีการศึกษาเกี่ยวกับ
อาชญากรรม โดยเรียกวิชานี้ว่า Criminology หรือ อาชญาวิทยา โดย
การศึกษาเกี่ยวกับวิชานี้คือ ศึกษาเกี่ยวกับสาเหตุ แรงจูงใจ ปัจจัยในการทํา
ความผิด มีสมมติฐานว่าถ้าเข้าใจถึงสาเหตุที่เกิดขึ้น ก็จะสามารถตัดวงจร
รวมถึงควบคุมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้คนได้ โดยใช้ปัจจัยต่างๆที่
เรียนรู้จากการกระทําความผิด และให้ความสนใจไปยังผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของ
อาชญากรรม ใช้หลักจิตวิทยาศึกษาว่ามีแรงจูงใจอย่างไรทําไมผู้คนถึงขาดความ
ยับยั้งชั่งใจ รวมทั้งปัจจัยเรื่องการเมือง แนวคิดเรื่องชนชั้น การตีตราในสังคม
และในภายหลังมีกระบวนการยุติธรรมเกี่ยวข้องไปด้วย
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
MENU
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
ทางผู้จัดทําจึงมีความสนใจที่จะศึกษาว่าจะป้องกันการก่อ
อาชญากรรมในอนาคตอย่างไร และศึกษาว่าวิชาอาชญาวิทยาใช้หาสาเหตุ
แรงจูงใจ ปัจจัยในการก่อเหตุอาชญากรรมของทั้งในอดีตและปัจจุบันอย่างไร
และศึกษาว่าวิชาอาชญาวิทยาในอดีตมีการพัฒนานํามาใช้กับยุคปัจจุบันอย่างไร
บ้าง สาเหตุของการก่ออาชญากรรมในอดีตกับปัจจุบันต่างกันอย่างไร เพราะ
เมื่อเราสามารถเข้าถึงความคิดของอาชญากรแล้ว ก็จะสามารถนํามาหาแนวทาง
ในการป้องกันอาชญากรรมในอนาคตได้
MENU
สงค์2.จุดประ
MENU
จุดประสงค์
เพื่อศึกษาและทําความเข้าใจเกี่ยวกับอาชญาวิทยา
เพื่อนําหลักการของอาชญาวิทยา มาใช้หาแนวทาง
ป้องกันอาชญากรรมในอนาคต
เพื่อหาสาเหตุ แรงจูงใจของอาชญากร
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
MENU
3.ความรู้เบื้อ งต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยา
MENU
“ อาชญากรรมมิใช่สิ่งผิดปกติหากแต่เป็นปรากฏการณ์
ธ ร ร ม ช า ติ ที่ เกิ ด ขึ้ น กั บ ทุ ก สั ง ค ม โด ย รับ ท ร า บ ข่ า ว
อาชญากรรมอย่างสม�าเสมอผ่านทางสื่อสิ่งพิมพ์ทุกแขนง”
เป็นคํากล่าวของเดอร์ไคม์ (Durkheim) ที่สะท้อนความเป็น
จริงที่เกิดขึ้นในสังคมอีกด้านหนึ่งที่ทุกวันนี้มนุษย์เกิดความ
ชินชาและปะปนอยู่กับอาชญากรรมตลอดเวลา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยา
MENU
เดอร์คาม ยังกล่าวต่อไปอีกว่า ทุกวันนี้อาชญากรรมมีความ
เกี่ยวพันกับมนุษย์ ในแทบทุกระดับชั้นและมีปะปนอยู่ทุกสาขา
อาชีพ ขึ้นอยู่กับมนุษย์ในสังคมนั้นๆ ว่าจะนิยาม คําว่า
“อาชญากรรม” เอาไว้อย่างไร ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจําเป็น
อย่างยิ่งที่จะต้องทําการศึกษากระบวนการความรู้ที่เรียกว่า
อาชญาวิทยา (Criminology) เพื่อนําเอาความรู้ที่เกิดขึ้นไป
ปรับใช้และแก้ไขปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในสังคมนั้นให้
เกิดประสิทธิภาพต่อไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชญาวิทยา
MENU
4.อาชญา วิทยาคืออะไร
MENU
อาชญาวิทยา (Criminology) จึงหมายถึง วิชาที่ว่าด้วย
สาเหตุของอาชญากรรม การป้องกันอาชญากรรม และ
การปฏิบัติต่อผู้กกระทําความผิดอีกทั้งยังครอบคลุม
การศึกษาปฏิกิริยาของสังคม ที่ต่อต้านอาชญากรรมและ
อาชญากรด้วย
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
อาชญาวิทยาคืออะไร
อาชญาวิทยา เป็นคําสมาส ระหว่าง อาชญา + วิทยา
อาชญา หมายถึง อํานาจ โทษ วิทยา หมายถึง การศึกษา
MENU
Sutherland อธิบายความหมายของอาชญาวิทยาไว้
ในหนังสือ ชื่อ “Principle of Criminology” ว่าวิชา
อาชญาวิทยาเป็นวิชาที่ศึกษาถึงอาชญากรรมในฐานะ
ที่เป็นปรากฏการณ์ของสังคม ซึ่งศึกษาแนวทาง
บัญญัติของกฎหมาย ความประพฤติที่ ละเมิด
กฎหมาย และการดําเนินการของสังคมต่อผู้ละเมิด
กฎหมาย
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
MENU
Bonn ได้อธิบายว่า อาชญาวิทยา คือแขนงวิชาที่ใช้
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อบรรยายและอธิบาย
เรื่องสําคัญต่างๆ เช่น พฤติกรรมของอาชญากร,
ตัวอาชญากร, เหยื่ออาชญากร, สภาพสังคมที่ทําให้
เกิดอาชญากรรม รวมถึงระบบงานยุติธรรม ทั้งนี้
เหยื่ ออาชญากรรมเป็นปัจจัยหนึ่ งที่สําคัญที่
ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม”
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
MENU
Herman กล่าวว่า อาชญาวิทยา คือ การศึกษาถึง
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
ปัญหาอาชญากรรมและลักษณะของอาชญากรรม
การควบคุมและแก้ไขผู้กระทําความผิด
การสืบสวนอาชญากรรม
1
2
3
MENU
โดยสรุป อาชญาวิทยา คือ การศึกษาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในแง่ต่างๆ
โดยเป็นการศึกษาในประเด็น ดังนี้
What is Criminology อาชญาวิทยาคืออะไร
สาเหตุแห่งอาชญากรรม
ลักษณะและประเภทของอาชญากรรม
วิธีบําบัด แก้ไข และป้องกันอาชญากรรม รวมทั้งกระบวนการยุติธรรม
ที่ใช้กับอาชญากรรม เพื่อให้ทุกคนในสังคมอยู่ร่วมกันด้วยความเป็น
ปกติสุข
1
2
3
MENU
5.อาชญา วิทยาเรียนอะไร
MENU
วิชาอาชญาวิทยาเรียนอะไรบ้าง
วิชานี้เรียนอะไรบ้าง
โดยพื้นฐานแล้วเรียนทฤษฎีทางอาชญาวิทยาเป็นบูรณาการ
ตั้งแต่เรื่องเกี่ยวข้องกับสังคมวิทยา เรื่องสังคมไร้ระเบียบ
ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสังคมจนเกิดการปรับตัว
ไม่ได้ มีมิติในเรื่องของจิตวิทยาว่ามีแรงจูงใจอย่างไร ทําไม
คนเราถึงขาดความยับยั้งชั่งใจ มีเรื่องการเมือง แนวคิดเรื่อง
ชนชั้น รวมถึงเรื่องการตีตราในสังคม
MENU
วิชาอาชญาวิทยาเรียนอะไรบ้าง
เนื้อหาหลักสูตรที่เรียนก็จะครอบคลุมทั้งในเรื่อง
พฤติกรรมศาสตร์
(Behavioral sciences)
จิตวิทยา
(Psychology)
กฎหมาย
(Law)
มานุษยวิทยาสังคม
(Social anthropology)
MENU
วิชาอาชญาวิทยาเรียนอะไรบ้าง
ซึ่งในงานวิจัยของสาขาวิชาอาชญาวิทยานี้ ก็จะครอบคลุมในเรื่องของ การเกิด,
รูปแบบ, สาเหตุ, และผลกระทบที่ตามมาของคดีอาชญากรรม รวมไปถึงกฎระเบียบ
ทางสังคมและภาครัฐ และการปฏิกิริยาที่เกิดต่อคดีอาชญากรรมต่างๆด้วย
ตัวอย่างวิชาเรียน และ หัวข้อวิจัยอาชญาวิทยา
• ทฤษฎีอาชญาวิทยา ( Criminological theory )
MENU
วิชาอาชญาวิทยาเรียนอะไรบ้าง
• อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
( Cybercrime )
• จิตวิทยาพยาน
( Eyewitness psychology ) MENU
วิชาอาชญาวิทยาเรียนอะไรบ้าง
• การฆาตกรรม (Homicide) • ความยากจนและอาชญากรรมภายในเมือง
(Poverty and inner-city crime) MENU
6.วัตถุประ สงค์และขอบเขตของ
การศึกษา อาชญาวิทยา
MENU
วัตถุประสงค์และขอบเขตของการศึกษาอาชญาวิทยา
วัตถุประสงค์ของการศึกษาอาชญาวิทยา
อาชญาวิทยา เป็นวิทยาการส่วนหนึ่งของอาชญาศาสตร์
(Criminal Science) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ
สภาพและสาเหตุของอาชญากรรม เพื่อที่จะได้หาวิธีการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาอาชญากรรมดังกล่าวได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
และมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการ
บัญญัติหลักกฎหมายข้อบังคับต่างๆ ให้เหมาะสมต่อหลักวิชา
และสังคมปัจจุบัน
MENU
วัตถุประสงค์และขอบเขตของการศึกษาอาชญาวิทยา
ขอบเขตของวิชาอาชญาวิทยา
ในการประชุมเกี่ยวกับอาชญาวิทยาหลายครั้งที่ผ่านมามีข้อสรุปเพิ่มเติมว่า
การสอนวิชากฎหมายอาญาจะบรรลุผลสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อ ได้มีการสอน
อาชญาวิทยาควบคู่ไปด้วย ทั้งนี้ควรจัดการสอนให้สอดคล้องกับ
ขนบประเพณีและตามความสามารถในการจัดการศึกษาในประเทศของตน
และควรจัดเป็นวิชาบังคับสําหรับผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายหรือบุคคลซึ่ง
ทํางานเกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายและการรักษากฎหมาย
MENU
วัตถุประสงค์และขอบเขตของการศึกษาอาชญาวิทยา
ในส่วนของอาชญากรรม อาชญากรรม คือ พฤติกรรม
ที่มีลักษณะเป็นการละเมิดต่อกฎหมายของรัฐ และมี
การกําหนดบทลงโทษ ดังนั้นพฤติกรรมใดที่จะเป็น
อาชญากรรมก็จะต้องมีการบัญญัติเอาไว้เป็นกฎหมาย
ก่อน อันเป็นหลักการเดียวกันทั่วโลกอย่างไรก็ตามในแต่
ละประเทศก็อาจมีการกําหนดความผิดเอาไว้แตกต่างกัน
ตามสภาพความแตกต่างในด้านต่างๆ
ขอบเขตของวิชาอาชญาวิทยา
MENU
วัตถุประสงค์และขอบเขตของการศึกษาอาชญาวิทยา
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 2 บัญญัติว่า “บุคคลจักต้องรับโทษในทางอาญา
ต่อเมื่อได้กระทําการอันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทํานั้นบัญญัติเป็นความผิดและ
กําหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระทําความผิดนั้น ต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ใน
กฎหมาย ถ้าตามบทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติในภายหลัง การกระทําเช่นนั้น
ไม่เป็นความผิดต่อไปให้ผู้ที่ได้กระทําการนั้นพ้นจากการเป็นผู้กระทําความผิด และ
ถ้าได้มีคําพิพากษาถึงที่สุดให้ลงโทษแล้วก็ให้ถือว่าผู้นั้นไม่เคยต้องคําพิพากษาว่าได้
กระทําความผิดนั้น ถ้ารับโทษอยู่ก็ให้การลงโทษนั้นสิ้นสุดลง”
ขอบเขตของวิชาอาชญาวิทยา
สําหรับประเทศไทย
MENU
7.ประโย ชน์ของการศึกษา
วิชาอาช ญาวิทยา
MENU
ประโยชน์ของการศึกษาวิชาอาชญาวิทยา
1.ส่งเสริมให้เกิดการศึกษาค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับสภาพปัญหา
สภาพแวดล้อม สาเหตุของอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในสังคมโลก
2.ผู้ศึกษาสามารถนําเอาหลักการทางอาชญาวิทยาไปใช้เพื่อป้องกัน
และแก้ไขปัญหาอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได้
3.รัฐสามารถเอาหลักวิชา งานวิจัย บทความต่างๆ ไปปรับใช้
พัฒนาให้เหมาะสมกับสังคม เป็นต้น
MENU
8.การพัฒนาทฤษฎีทาง
ด้านอาชญาวิทยา
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
ระยะแรก ยุคความดีและความชั่วร้าย1
ในยุคนี้เชื่อว่าปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ ถือเป็นเรื่องของอํานาจลึกลับ
ไม่ว่าจะด้วยพระเจ้าหรือปีศาจ ในช่วงศตวรรษที่16ศาสนาจึงถือเป็นเครื่องยึดมั่น
จิตใจมนุษย์ในสังคม ทั้งนี้ในยุคแรกนั้น สามารถแบ่งแยกแนวความคิดเกี่ยวกับ
อาชญากรรมออกได้เป็น 3 แนวคิด ดังนี้
มีความเชื่อว่ากฎหมายเกิดจากความประสงค์ของพระเจ้าที่ต้องการให้มนุษย์อยู่
ด้วยกันอย่างสงบ สันติ แต่อาชญากรรมจะเป็นสิ่งที่ขัดคําสั่งหรือความประสงค์
ของพระผู้เป็นเจ้า
แนวคิดที่หนึ่ง
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
แนวคิดที่สอง
มีความคิดว่ามนุษย์มีสิ่งวิเศษมีความรู้สึกนึกคิดและมี
เหตุผล ตลอดจนมีความต้องการที่จะเป็นผู้สมบูรณ์แบบ
แต่มีข้อจํากัดด้านความอ่อนแอตามธรรมชาติหรือมีความ
ผิดปกติที่ติดตัวมาแต่กําเนิด อาชญากรรม จะเกิดขึ้นก็
ต่อเมื่อมนุษย์เลือกที่จะทําตามความอ่อนแอของตนเอง
หรือความต้องการที่อยู่เหนือเหตุผล
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
แนวคิดที่สาม
มีต้นกําเนิดมาจากหลักศาสนาที่มีความเจริญสูงสุด
ในช่วงยุคกลางเป็นช่วงที่เชื่อว่ามนุษย์เกิดมาโดยมี
บาปติดตัว และมีแนวโน้มที่จะกระทําผิดอยู่กับตัว ซึ่ง
หลักธรรมคําสั่งสอนของพระเจ้าเท่านั้นที่จะป้องกัน
ไม่ให้มนุษย์เลือกกระทําความผิด
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
ยุคที่สอง ยุคอาชญาวิทยาดั้งเดิม2
ต่อมา ในยุคศตวรรษที่ 18 หลายประเทศเริ่มมีการพัฒนา
องค์ความรู้เกี่ยวกับการเมืองการปกครองตลอดจนการ
ควบคุมประชาชนของรัฐซึ่งกระบวนการยุติธรรมก็ถือ
เป็นกิจกรรมหนึ่งของรัฐในการปกครองสังคม ยุคนี้เห็น
ว่าควรมีแนวทางที่สามารถยับยั้งผู้กระทําความผิด อย่าง
มีประสิทธิภาพและให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ถูกกล่าวหาว่า
กระทําความผิดด้วย
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
สํานักอาชญาวิทยาดั้งเดิมมีแนวความคิดที่สําคัญ 3ประการ คือ
ต้องมีสัญญาระหว่างรัฐกับประชาชน
ธรรมชาติของบุคคลมีอิสระ , มีเหตุผล , ถือประโยชน์เป็นสําคัญ
กระบวนการยุติธรรมต้องมีประสิทธิภาพเพื่อป้องกัน
อาชญากรรม กล่าวคือ รวดเร็ว แน่นอน รุนแรง
1
2
3
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
ยุคที่สาม ยุคอาชญาวิทยาแนววิทยาศาสตร์3
วงการวิชาการ โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์มีความเจริญเติบโตมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น
ดาราศาสตร์ (Astronomy), เคมีวิทยา (Chemistry), ชีววิทยา(Biology)เป็น
ต้นนํามาสู่การปฏิวัติแนวความคิดภายใต้พื้นฐานความเชื่อที่ว่าปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาติต้องมีเหตุผลและสามารถหาคําตอบได้โดยการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
โดยอาศัยหลักการมองและทําความเข้าใจอย่างมีเหตุผล ทั้งนี้ จะต้องมีการ
ตั้งสมมติฐาน การกําหนดตัวแปรในการศึกษา และเก็บข้อมูลต่างๆที่ได้นํามา
วิเคราะห์ต่อไป เพื่อให้ได้ทฤษฎี ทั้งนี้สามารถแบ่งกลุ่มทฤษฎีเชิงวิทยาศาสตร์ ได้
เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มทฤษฎีทางชีววิทยาและกลุ่มทฤษฎีทางจิตวิทยา
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
ยุคที่สี่ ยุคอาชญาวิทยาเชิงสังคมศาสตร์4
ถัดมาในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ได้เริ่มมีการพัฒนาการศึกษาเกี่ยวกับสังคมศาสตร์
มากขึ้น เนื่องจากกระแสโลกได้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
นับตั้งแต่การเพิ่มจํานวนของประชากร การเปลี่ยนแปลงระบบการผลิตและ
โครงสร้างพื้นฐานของสังคมตามระบบเศรษฐกิจและการขยายตัวของเมืองและ
ชุมชน ทั้งนี้ ยุคที่สี่ ได้เริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการ เมื่อมีการจัดตั้งคณะสังคมศาสตร์
ขึ้นเป็นครั้งแรกที่ Chicago University และ Columbia University ในราวปี
ค.ศ.1900 และมหาวิทยาลัยมีส่วนสําคัญในการพัฒนาหลักทฤษฎีอาชญาวิทยา
เช่น ทฤษฎีสังคมไร้ระเบียบ, ทฤษฎีกดดัน, ทฤษฎีวัฒนธรรมรอง, ทฤษฎีการ
เรียนรู้ เป็นต้น MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
ยุคที่ห้า ยุคอาชญาวิทยาแนวขัดแย้ง5
ในช่วงที่แนวคิดด้านสังคมศาสตร์ ได้มีอิทธิพล
ต่อวงการอาชญาวิทยาเป็นอย่างมาก ได้เกิด
ความวุ่นวายขึ้นในด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
การเมือง และในช่วงปี ค.ศ.1960 ได้เกิด
สงครามโลกขึ้น
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
ยุคที่ห้า ยุคอาชญาวิทยาแนวขัดแย้ง5
นั ก อ า ช ญ า วิ ท ย า ห ล า ย ท่ า น จึ ง ไ ด้ พั ฒ น า
แนวความคิดขึ้นมาใหม่ โดยเชื่อว่า ความแตกต่าง
ขององค์ประกอบต่างๆในสังคม เป็นบ่อเกิดสําคัญ
ของพฤติกรรมอาชญากรจนนํามาสู่ความขัดแย้ง
ในสังคมและเกิดอาชญากรรมขึ้นในที่สุด
MENU
การพัฒนาทฤษฎีทางด้านอาชญาวิทยา
ยุคที่หก ยุคอาชญาวิทยาปัจจุบัน6
ในยุคปัจจุบัน ไม่ได้มีการพัฒนาแนวความคิดใดๆ
ขึ้นมาใหม่จนเป็นที่แตกต่าง เพียงแต่มีการ
ปรับปรุงแนวคิดอาชญาวิทยาที่ได้รับการยอมรับ
แล้วมาผสมผสาน(Integrated Theory)กันเพื่อ
อธิบายสาเหตุของพฤติกรรมอาชญากรรมให้
ถูกต้องและแม่นยํามากที่สุด
MENU
9.ตัวอย่าง การใช้ทฤษฎีอาชญาวิทยาเพื่อ
วิเคราะห์สา เหตุของการกระทําความผิด
MENU
ตัวอย่าง การใช้ทฤษฎีอาชญาวิทยาเพื่อ
วิเคราะห์สาเหตุของการกระทําความผิด
ตัวอย่างการศึกษาหาปัจจัยความผูกพันธ์ทางสังคมและการคบหาสมาคมที่แตกต่าง
ที่มีผลต่อการกระทําความผิดทางเพศของเด็กและเยาวชนชาย
MENU
ตัวอย่าง การใช้ทฤษฎีอาชญาวิทยาเพื่อ
วิเคราะห์สาเหตุของการกระทําความผิด
MENU
10.แนวทางอาชีพทาง
อาชญา วิทยา
MENU
แนวทางอาชีพทางอาชญาวิทยา
ผู้เรียนทางด้าน อาชญาวิทยา (Criminology) จะสามารถ
เป็น นักอาชญาวิทยา (Criminologist) หรือ ผู้ทําหน้าที่
เกี่ยวกับการกระทําผิดทางอาญาของคนในสังคม คือ เป็น
ผู้ที่หาสาเหตุของการกระทําความผิดนั้นว่ามาจากสาเหตุ
อะไร มีกระบวนการขั้นตอนในการกระทําความผิดนั้น
อย่างไร มีหน้าที่หาทางป้องกันแก้ไขไม่ให้เกิดการกระทําผิด
นั้นซ�าอีก หรือช่วยปรับปรุงดูแลผู้ที่กระทําผิดให้กลับมา
เป็นคนดีของสังคม และผู้ที่เรียนในด้านนี้ยังสามารถ
ปฏิบัติหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมต่างๆ เช่น
MENU
แนวทางอาชีพทางอาชญาวิทยา
ตํารวจ
(Police)
ใช้ใน การ วิเคร าะห์หาต้ น เหตุ ของก ารก่ อ
อาชญากรรมสืบสวน สอบสวนวิธีการกระทําผิด
ของคนร้าย อันนําไปสู่การสืบสวน จับกุมผู้กระทํา
ผิดมาลงโทษซึ่งเป็นอาชีพที่ค่อนข้างเสี่ยงในการ
ปฏิบัติงาน
ในส่วนของตํารวจ
MENU
แนวทางอาชีพทางอาชญาวิทยา
อัยการ
(Attorney)
สําหรับอัยการและศาลจะใช้ความรู้ด้านนี้ในการ
วินิจฉัยถึงเจตนาและสาเหตุแห่งการกระทําผิดว่า
เกิดจากความตั้งใจ จงใจกระทําผิด หรือการ
ประมาท เลินเล่อ ถูกบังคับข่มขืนใจให้กระทําผิด
หรือเหตุอื่นๆ อันนําไปสู่การพิพากษาลงโทษหนัก
เบาตามเจตนากระทําความผิดที่แท้จริง
ในส่วนของอัยการและศาล
MENU
แนวทางอาชีพทางอาชญาวิทยา
กรมราชทัณฑ์
(Department of Corrections)
ใช้ใน การ วิเคร าะห์หาต้ น เหตุ ของก ารก่ อ
อาชญากรรมสืบสวน สอบสวนวิธีการกระทําผิด
ของคนร้าย อันนําไปสู่การสืบสวน จับกุมผู้กระทํา
ผิดมาลงโทษซึ่งเป็นอาชีพที่ค่อนข้างเสี่ยงในการ
ปฏิบัติงาน
ในส่วนของกรมราชทัณฑ์
MENU
แนวทางอาชีพทางอาชญาวิทยา
นักจิตวิทยา
(Psychologist)
อาจารย์ผู้สอนวิชาอาชญาวิทยา
(Criminology instructor)
นักวิจัย
(Researcher)
MENU
11.คุณส มบัติผู้ประกอบอาชีพ
MENU
คุณสมบัติผู้ประกอบอาชีพ
ผู้สนใจประกอบอาชีพนักอาชญาวิทยาควรมีคุณสมบัติดังนี้
สําเร็จการศึกษาปริญญาโทในคณะที่ เปิดสอนสาขาวิชาดังกล่าว
มีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเหตุการณ์ปัจจุบันในด้านการเมือง เศรษฐกิจ
และสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย
มีความสามารถในการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาและสรุปเหตุผล
มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษา และถ่ายทอดอย่างเหมาะสม
มีความสนใจในพฤติกรรมของมนุษย์ MENU
12.การเตรียมตัวสําหรับผู้สนใจ
MENU
การเตรียมตัวสําหรับผู้สนใจ
เนื่องจากในระดับปริญญาตรียังไม่มีการเปิดสอน ดังนั้นผู้สําเร็จการศึกษา
ระดับปริญญาตรี หรือผู้ที่กําลังทํางานเกี่ยวข้องกับงานกระบวนการยุติธรรม
ต้องการนําความรู้ด้านอาชญาวิทยาซึ่งนักสังคมวิทยามองว่าเป็นวิชาสาขาหนึ่ง
ของสังคมวิทยาไปปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ในหน้าที่ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นและสามารถ
เข้ารับการศึกษาต่อได้ในการศึกษาระดับปริญญาโทของภาควิชาสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ สาขาอาชญาวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล คณะรัฐศาสตร์
สาขาวิชาสังคมวิทยา (อาชญาวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะสังคม
สงเคราะห์ศาสตร์ หลักสูตรปริญญาโทสาขาการบริหารงานยุติธรรม
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยสาขารัฐศาสตร์ หมวดบริหารงาน
ยุติธรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะรัฐประศาสนศาสตร์สาขา
วิชาเอกบริหารงานยุติธรรมสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)
MENU
13.สถาบั นที่เปิดสอนอาชญาวิทยา
MENU
การเตรียมตัวสําหรับผู้สนใจ
ส่วนใหญ่จะเปิดสอนในต่างประเทศ ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท
ขึ้นไป ในประเทศไทยเรานั้นก็มี สาชาวิชาอาชญาวิทยา เปิดสอนเหมือนกัน แต่มี
เพียงไม่กี่สถาบันที่เปิดสอนและเป็นเฉพาะในระดับปริญญาโทเท่านั้น (ปริญญาตรี
ยังไม่มีโดยตรง) สถาบันที่เปิดสอนอาญาวิทยา เช่น
• University of Maryland-College Park
MENU
แนวทางอาชีพทางอาชญาวิทยา
• Florida State University • Michigan State University
MENU
แนวทางอาชีพทางอาชญาวิทยา
• University of Pennsylvania • University of Southampton
MENU
14.วิดีโอที่เกี่ยวข้อง
MENU
วิดิโอที่เกี่ยวข้อง
Credit :https://www.youtube.com/watch?v=k-mBzXkKwxE
MENU
วิดิโอที่เกี่ยวข้อง
Credit : https://www.youtube.com/watch?v=RIs883hZ468 MENU
วิดิโอที่เกี่ยวข้อง
Credit : https://www.youtube.com/watch?v=-tvL1dvWcFk MENU
15.ผู้จั ดทํา
MENU
คณะผู้จัดทํา
นางสาวธนพร ดงประหลาด
ม.6/5 เลขที่11
นางสาวบัวคํา ลุงคํา
ม.6/5 เลขที่10 MENU
16.แห ล่งอ้างอิง
MENU
● https://thematter.co/social/understanding-the-criminal-minds/41183
● https://teen.mthai.com/education/55713.html
● http://law.stou.ac.th/
● http://www.djop.go.th/download/upload_download/0-8-93.pdf
● http://www.elfhs.ssru.ac.th/boonwat_sa/pluginfile.php/21/block_ht
ml/content/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%8D%E0
%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8
%B2%20%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8
%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%202.pdf
แหล่งอ้างอิง
MENU

More Related Content

What's hot

สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีvipawee613_14
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลoraneehussem
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีHahah Cake
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์Sarid Tojaroon
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า chonlataz
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีkkrunuch
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 

What's hot (20)

สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุลบทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 13 สารชีวโมเลกุล
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
รวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดีรวมบทความสารคดี
รวมบทความสารคดี
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์กลุ่มจิตวิเคราะห์
กลุ่มจิตวิเคราะห์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า จริยศาสตร์ คุณค่า
จริยศาสตร์ คุณค่า
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 

More from Thanapohn

2562 final-project 605-10_11
2562 final-project  605-10_112562 final-project  605-10_11
2562 final-project 605-10_11Thanapohn
 
2562 final-project 605-10_11
2562 final-project  605-10_112562 final-project  605-10_11
2562 final-project 605-10_11Thanapohn
 
Computer Project(2020)
Computer Project(2020)Computer Project(2020)
Computer Project(2020)Thanapohn
 
2562 final-project 605-11
2562 final-project  605-112562 final-project  605-11
2562 final-project 605-11Thanapohn
 

More from Thanapohn (6)

Sle pdf01
Sle pdf01Sle pdf01
Sle pdf01
 
sle-pdf
sle-pdfsle-pdf
sle-pdf
 
2562 final-project 605-10_11
2562 final-project  605-10_112562 final-project  605-10_11
2562 final-project 605-10_11
 
2562 final-project 605-10_11
2562 final-project  605-10_112562 final-project  605-10_11
2562 final-project 605-10_11
 
Computer Project(2020)
Computer Project(2020)Computer Project(2020)
Computer Project(2020)
 
2562 final-project 605-11
2562 final-project  605-112562 final-project  605-11
2562 final-project 605-11
 

Criminology 605 10_11