SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
๑
ความเป็นมาของศรีลังกา
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                               ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
2




                                                                                                                       3
                                                  เหิรฟ้ามาไกล จากกรุงเทพ ฯ สู่กรุงโคลัมโบ
                                               	      วันนี้ตื่นนอนแต่เช้าทำาภารกิจส่วนตัวแล้วก็เตรียมจัดกระเป๋า
                                               สิ่งของต่าง	 ๆ	 ที่จะติดตัวไปในการจาริกบุญสู่ประเทศศรีลังกา	 รู้สึกมี
                                               ความภาคภูมิใจ	เพราะว่าได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้า	ผู้จัดรายการถวาย
                                               พระเดชพระคุณหลวงพ่อ	 พระเทพกิตติโสภณ	 ประธานสมัชชาสงฆ์
                                               ไทยในสหรัฐอเมริกา	 และนำาญาติโยมจากมหานครนิวยอร์ค	 เดลแวร์	
                                               นิวเจอร์ซี่	และแมรี่แลนด์	พร้อมทั้งญาติโยมจากประเทศไทยด้วย	รวม
                                               ทั้งพระสงฆ์	และฆราวาส	๓๕	รูป/ชีวิต	
                                               	      ในตอนเช้าของวันนี้ได้โทรศัพท์นัดเวลาประมาณ	 	 ๔	 โมงเย็น
                                               พร้อมกันทีทาอากาศยานสุวรรณภูม	แต่พอประมาณเทียงวัน	ท่านพระ
                                                            ่ ่                    ิ                ่
                                               ธัมมานันทะ	(Ven.	Dhammanadha)	พระจากประเทศศรีลงกามาศึกษา
                                                                                                      ั
                                               พระพุทธศาสนาในประเทศไทย	ช่วยทำาหน้าที่ติดต่อประสานงานเรื่อง
                                               ตัวเครืองบิน	ได้รบโทรศัพท์จากผูจดการศรีลงกาแอร์ไลน์	บอกว่าเครือง
                                                  ๋ ่            ั             ้ั        ั                       ่
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                              ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
    ดีเลย์	๒	ชั่วโมง	เพราะสภาพอากาศที่นครปักกิ่ง	มีหิมะตกหนักเครื่อง
4




                                                                                                                                                            5
    บินจะมาถึงกรุงเทพฯ	ช้ากว่าปกติ	
    	       จะทำาอย่างไรดี	จะโทรศัพท์บอกลูกทัวร์อกทีกไม่ทนบางท่านเดิน
                                                    ี ็ ั
    ทางมาจากต่างจังหวัด	บางท่านต้องออกจากบ้านแต่เช้า	ก็เลยต้องมา
    รอที่สนามบินตั้งแต่	 ๔	โมงเย็นตามกำาหนดเดิม	แต่ก็ไม่เป็นไร	มองใน
    แง่ดีทำาใจให้เป็นบุญกุศล	ก็คือคณะเราจะได้มีเวลาที่จะเช็คอินได้อย่าง
    สบาย	ๆ	ไม่ต้องรีบร้อน
    	       เวลาประมาณ	๖	โมงเย็นเมื่อทุกคนมาพร้อมกันอย่างเรียบร้อย
    ได้แจกกำาหนดการเดินทาง		หนังสือสวดมนต์	เพื่อใช้ตลอดเส้นทางใน
    การนมัสการสถานที่สำาคัญในเมืองต่าง	 ๆ	 และป้ายติดกระเป๋าคนละ
    ป้าย	เพื่ออำานวยความสะดวกในการเช็คอิน-เช็คเอาท์	เสร็จแล้วได้เข้า
    เช็คอินทีเคาน์เตอร์ศรีลงกาแอร์ไลน์	โดยการชังน้าหนักรวมทังพระพุทธ
              ่             ั                     ่ ำ           ้
    รูป	๒	องค์	 และกระเป๋าจำานวน	๓๖	ชิ้น	ทุกอย่างเรียบร้อย	แล้วเจ้า
    หน้าที่สายการบินได้แจกคูปองสำาหรับรับประทานอาหารเย็น	 เพราะ
    ว่าเครื่องบินดีเลย์ประมาณ	๔	ชั่วโมง	ให้ญาติโยมไปเลือกรับประทาน             	        พอเครื่องบินปรับระดับเพดานบินเข้าที่แล้วแอร์โฮสเตทได้นำา
    อาหารตามอัธยาศัยในเวลารอก่อนขึ้นเครื่องบิน	 หลังจากผ่านพิธีการ             อาหารและเครื่องดื่มมาบริการ	ซึ่งของพระคุณเจ้านั้นมีเนยใส	เนยเข้น	
    ตรวจคนเข้าเมืองขาออกแล้ว	คณะได้ไปรอขึนเครืองบินทีประตูทางออ
                                                ้ ่          ่                 น้ำาผึ้ง	น้ำาส้ม	และน้ำาชากาแฟ	เลือกฉันได้ตามอัธยาศัย	ส่วนญาติโยม
    กบี	๔	(B4)	                                                                ก็มอาหารศรีลงกาเสิรฟ	กลินโชยมา	ไม่ตางจากอาหารอินเดียสักเท่าไร	
                                                                                   ี             ั      ์ ่               ่                             	
    	       ตอนนี้หลายคนบ่นกันอึดเลย	 เพราะต้องเดินไกลเป็นกิโลเมตร             พอเครื่องบินบินข้ามมหาสมุทรอินเดียมีความรู้สึกว่าเหมือนนอนเปล	
    พอเดินไปถึงหน้าประตูขึ้นเครื่องบิน	 เจ้าหน้าที่ก็ยังไม่เปิดให้เข้าไปนั่ง   เพราะเครื่องจะตกหลุมอากาศบ่อย	เลยเป็นเครื่องกล่อมให้หลับอย่าง
    รอ	บอกว่ายังไม่ถึงเวลาต้องให้เที่ยวบินอื่นเขาใช้ไปก่อน	ต้องนั่งรอบน        ดี	ในสถานการณ์เช่นนี้หลับเท่านั้นที่พอจะทำาได้
    พื้นตามทางเดิน		อนิจจา..น่าสงสารตัวเองและคณะซึ่งล้วนแล้วแต่มีผู้           	        มารู้สึกตัวอีกครั้งหนึ่งเมื่อพนักงานเตือนให้รัดเข็มขัดเพราะ
    สูงวัยเป็นส่วนใหญ่	 แต่ก็ต้องทำาใจ	 ถือว่าเป็นการฝึกความอดทนก่อน           เครืองจะร่อนลงสูสนามบินนานาชาติ	โคลัมโบ	กัตตุนายเก		อีกประมาณ	
                                                                                     ่             ่
    จะไปบำาเพ็ญบุญ                                                             ๒๐	นาที	ตืนจากภวังค์ตงสติเตรียมแตะแผ่นดินแห่งกรุงลงกาในตำานาน	
                                                                                             ่           ั้
    	       เวลา	๒๒.๕๕	น.เครืองบินของสายการบินศรีลงกาแอร์ไลน์	เทียว
                               ่                        ั               ่      แต่นี่ไม่ใช่เรื่องในตำานาน	แต่เป็นเรื่องจริงที่กำาลังเผชิญอยู่เฉพาะหน้า	
    บินที่	UL	899	ออกเดินทางจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมุ่งหน้าสู่กรุง
    โคลัมโบ	ประเทศศรีลังกา
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                          ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
                                                                             เคาน์เตอร์เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง	 นี่คือสิ่งบ่งบอกถึงสัญลักษณ์ใน
6




                                                                                                                                                      7
                                                                             ทางพระพุทธศาสนา	และความเป็นชาวพุทธของศรีลังกา	ก็ยังปรากฏ
                                                                             ให้เห็นในรูปแบบของการแต่งกายสีขาว	 และที่หน้าแท่นพระพุทธรูป
                                                                             องค์นี้ก็ยังมีดอกไม้สดสีขาวส่งกลิ่นหอมฟุ้งเมื่อเดินเข้าใกล้	 แสดงว่ามี
                                                                             การนำาดอกไม้มาบูชาพระเป็นประจำา	 พวกเราชาวพุทธด้วยกันที่เดิน
                                                                             ทางมาถึงเห็นแล้วก็อดยกมือไหว้ไม่ได้	 ต่างคนก็ได้น้อมไหว้นมัสการ
                                                                             ด้วยความเคารพนบน้อม	และรู้สึกอบอุ่นใจในการต้อนรับของเจ้าของ
                                                                             ประเทศเช่นนี้
                                                                             	       ผ่านพิธีตรวจค้นเข้าเมืองแล้วก็ออกมารับกระเป๋าและสัมภาระ
                                                                             ต่างๆ	ที่นำาไปมีพระพุทธรูป	๒	องค์	ซึ่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายศุลกากรทำาท่าจะ
                                                                             เก็บภาษี	แต่ดวยความใจบุญของนักธุรกิจศรีลงกาทีเดินทางมาเทียวบิน
                                                                                            ้                             ั ่                ่
                                                                             เดียวกันกับพวกเราได้ออกค่าใช้จายให้	ซึงก็ไม่มากมายอะไรนักแต่มาก
                                                                                                                ่      ่
                                                                             ด้วยน้ำาใจ	เป็นเงินศรีลังกา	๑,๗๐๐	รูปี	ขออนุโมทนาในบุญกุศลแด่นัก
             สัมผัสดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา                                    ธุรกิจท่านนั้นมา	ณ	ที่นี้ด้วย	เมื่อพ้นเขตตรวจกระเป๋าของฝ่ายศุลกากร	
                                                                             แล้วทุกคนต่างก็เตรียมแลกเงิน	 เพื่อที่จะเอาไว้ใช้จ่ายและทำาบุญใน
    	        เครืองบินได้รอนลงแตะรันเวย์ของสนามบิน	โคลัมโบ	กัตตุนายเก	
                 ่        ่                                              	   ระหว่างการเดินทาง	อัตราวันนี้	 ๑	เหรียญดอลล่าร์	 เท่ากับ	๑๑๐	รูปี	
    สนามบินพาณิชย์แห่งเดียวของศรีลงกาตามเวลาท้องถินประมาณ	ตี	๑	
                                        ั               ่                    ทุกคนต่างยิมย่องผ่องใสพกเงินรูปกนเต็มกระเป๋าพร้อมทีจะเดินทางใน
                                                                                          ้                       ีั                  ่
    กับ	๒๕	นาที	เดินทางถึงท่าอากาศยานกรุงโคลัมโบ	ใช้เวลา	๓	ชั่วโมง           วันพรุ่งนี้
    กับ	๒๕	นาที	 สนามบินแห่งนี้ไม่ใหญ่โตเหมือนที่อื่นที่เคยไปสัมผัสมา
    ตัวอาคารที่ทำาการสนามบินก็กระทัดรัดเหมาะสมกับสภาพเกาะ	 และ
    พื้นที่ใช้สอยก็กำาลังพอดี
    	        ก้าวแรกทีสมผัสแดนพุทธศาสนา	๒,๓๐๐	กว่าปี	คือความอบอุน
                      ่ ั                                             ่
    ใจที่ได้มาเมืองชาวพุทธ	 ไม่ใช่แต่เป็นเพียงประวัติศาสตร์	 หรือตำานาน
    ในหนังสือเท่านั้น	 แต่ยังคงความเป็นพุทธทุกกระเบียดนิ้ว	 เริ่มตั้งแต่
    ก้าวแรกที่เข้าสู่สนามบินผู้โดยสารขาเข้า	ก็จะมองเห็นพระพุทธรูปปาง
    สมาธิสีขาวประดิษฐานอยู่บนแท่นตั้งไว้กลางห้องโถงที่จะเข้าสู่สถานที่
    ตรวจคนเข้าเมือง	ซึ่งทุกคนจะต้องเดินผ่านตรงนั้นก่อนที่จะเข้าไปผ่าน
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                              ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
    	         เดินออกมาถึงด้านหน้าของอาคารรับผูโดยสารขาเข้า	คุณ	Sham	
                                                  ้
8




                                                                                                                                                              9
    ผูนาทัวร์ตวแทนจากบริษท	Yolyash,	มารับไปขึนรถบัสปรับอากาศขนาด	
      ้ ำ        ั            ั                     ้
    ๔๕	ที่นั่งซึ่งจอดรอรับอยู่แล้ว	เมื่อขนกระเป๋าขึ้นรถเรียบร้อย	สมาชิก
    นั่งบนรถพร้อมหน้า	 อาตมา	 (พระมหาถนัด	 อตฺถจารี)	 ในฐานะผู้นำา
    คณะจาริกแสวงบุญ	 ได้จับไมค์ทักทายผู้ร่วมเดินทางเป็นภาษาสิงหล
    ว่า	“อายุบวร	แปลว่า	สวัสดี”	กล่าวต้อนรับเข้าสู่ดินแดนแห่งพระพุทธ
    ศาสนา	๒,๓๐๐	ปี	เล่าถึงสาเหตุที่ทำาให้ได้จัดคณะมาจาริกแสวงบุญใน
    ครั้งนี้	 ด้วยต้นศรัทธา	คือ	คุณณรงค์ศักดิ์-คุณรัตนา	โชติกะเวชกุล	ได้
    เดินทางมาศรีลงกาเมือปีทแล้ว	ได้ไปกราบพระพุทธรูปใหญ่ทเมืองแคน
                     ั     ่ ี่                                ี่
    ดี	เกิดมีศรัทธาเลือมใสอยากจะเป็นเจ้าภาพถวายพระพุทธรูปแบบไทย
       ้               ่
    ไว้ภายในองค์พระประธานใหญ่นั้น	 จึงได้แจ้งความจำานงแก่เจ้าอาวาส                                                  มารู้จักศรีลังกากันก่อน
    จะนำาพระพุทธรูปมาถวาย	เพื่อจัดแสดงเป็นห้องพิพิธภัณฑ์	
    	         การเดินทางมาครั้งนี้ได้นิมนต์พระเดชพระคุณ	 พระเทพกิตติ       	        ก่ อ นอื่ น ก็ ข อเล่ า ประวั ติ ก ล่ า วนามตามตำานานสิ ง หลก่ อ นว่ า	
    โสภณ	ประธานสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา	วัดวชิรธรรมปทีป	นคร             “ศรีลังกา”	 หรือ	 Ceylon	 ในภาษาอังกฤษนั้นมีความเป็นมาอย่างไร	
    นิวยอร์ก	เป็นประธาน	และมีพระสงฆ์อีก	๗	รูป	มีฆราวาส	๒๗	คน	มา            หลายท่านตั้งคำาว่าถามว่า	 “ไปดูอะไรที่ศรีลังกาเมืองยักษ์ทศกัณฐ์ใน
    จากรัฐต่าง	ๆ	ในสหรัฐอเมริกา	และจากประเทศไทย                            เรื่องรามเกียรติ์นั้นหรือ	โอ้	 !	ก็น่าสนใจดีนะถ้ามีอะไรน่าชมเหมือนใน
                                                                           ตำานาน”	ก็นแสดงว่าโยมท่านนันติดตามเรืองราวในวรรณคดี	อย่างน้อย
                                                                                          ี่                      ้            ่
                                                                           ก็ยงรูวาศรีลงกาอยูในเรืองรามเกียรติ์	วรรณคดียอดฮิตของไทยทีเรารับ
                                                                                ั ้่ ั               ่ ่                                           ่
                                                                           มาจากอินเดีย	และศรีลงกาเองก็รบเอาวัฒนธรรมของอินเดียอีกต่อหนึง	
                                                                                                        ั            ั                                   ่
                                                                           เพราะเจ้าชายวิชย	ผูเป็นบรรพบุรษของชาวสิงหล	ก็มาจากอินเดียตอน
                                                                                                 ั ้                   ุ
                                                                           ใต้	(ประวัติในตอนนี้เอาไว้เล่าให้พิศดารตอนต่อไป)
                                                                           	        ตอนนี้ขอเล่าเรื่อง	 ชื่อศรีลังกาก่อน	 ถ้าว่าตามประวัติศาสตร์
                                                                           ประเทศต่าง	 ๆ	 ในโลก	 ประเทศศรีลังกาก็มีอายุเก่าแก่ประเทศหนึ่ง
                                                                           เหมือนกัน	ชือของประเทศก็มการเรียกขานกันตามยุคต่าง	ๆ	กัน	อย่าง
                                                                                             ่                  ี
                                                                           ผู้ที่เคยเรียนภาษาบาลีมาสายวัดหรือ	บรรดามหาเปรียญทั้งหลายก็จะ
                                                                           รู้จักในนาม	ตัมพปัณณิทวีป	บ้าง	ลังกาทวีป	บ้าง	หรือ	สิงหลทวีป	บ้าง	
                                                                           ซึ่งมีปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาภาคภาษาบาลี
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                                ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี

                                                                                             ศรีลังกาในหลากหลายแง่มุมมอง
10




                                                                                                                                                              11
                                                                                  	       มีผู้ให้คำานิยาม	 ประเทศศรีลังกา	 ไว้หลายความหมายทั้งในแง่
                                                                                  ของนักเดินทางท่องเที่ยว	นักประวัติศาสตร์	นักการศาสนา	และนักกวี
                                                                                  นิพนธ์	 ซึ่งได้มาพบเห็นเกิดความประทับใจในแง่มุมที่ตนเองชอบ	บ้าง
                                                                                  ก็ว่า	ศรีลังกา	คือ	“เกาะสวรรค์บนพื้นพิภพ”	เพราะมีความสวยงามใน
                                                                                  ลักษณะของภูมประเทศ	และภูมอากาศ	ตลอดถึงผูคนทีนารักเพราะถูก
                                                                                                     ิ              ิ                  ้ ่ ่
                                                                                  กล่อมเกลาด้วยธรรมะคำาสอนในทางพระพุทธศาสนาตลอดระยะเวลาที่
                                                                                  ยาวนาน
     	       ส่วนชาวยุโรป	และชาวเอเชียด้วยกันที่เรียนภาษาอังกฤษ	หรือ	             	       บ้างก็วา	“ศรีลงกา	คือ	ไข่มกแห่งคาบสมุทรอินเดีย”	เป็นดินแดน
                                                                                                   ่      ั           ุ
     อ่านตำาราของฝรั่ง(เศส)	ฝรั่ง(อังกฤษ)	ก็จะรู้จักในนาม	SEALAND	หรือ            แห่งหาดทรายสวย	 สายลมเย็น	 แสงแดดจ้าที่นักท่องเที่ยวแถบยุโรป	
     ชาวทะเล	“ชาวเล”	เหมือนที่เรียกชาวภาคใต้ของไทยเราซึ่งก็ถูกทีเดียว             อเมริกาหนีหนาวมาพักผ่อนอาบแสงอาทิตย์	สูดอากาศที่บริสุทธิ์	และ
     เพราะประเทศนี้เป็นเกาะล้อมรอบไปด้วยทะเล	 มหาสมุทร	 ซึ่งคำาว่า	               รับบริการแห่งความมีน้ำาใจของเจ้าของประเทศจนมีชื่อเสียงไปทั่วโลก
     ซีแลนด์นี้	เรียกกันไปเรียกกันมาก็เพี้ยนมาเป็น	ซีลอน	(Ceylon)                 	       บ้างก็ว่า	“ศรีลังกา	คือ	เมืองแห่งห้องเก็บมหาเจดีย์ที่มีเอกสาร
     	       ในคัมภีร์ทางประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา	 ที่เรียกว่า	 คัมภีร์          เป็นรูปแบบ	 เป็นพิพิธภัณฑ์ทางพระพุทธศาสนาที่คงหลักฐานปรากฏ
     ศาสนวงศ์	 มีประวัติตามคัมภีร์ว่าในสมัยพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์	               อยู่ทั่วประเทศ	 (พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่ใหญ่ที่สุดในโลก)	 หรือ	 จะเรียก
     ชือของลังกานีกไม่เหมือนกันอีก	เช่นในสมัยพระพุทธเจ้ากกุสนโธ	มีชอ
       ่              ้็                                             ั       ื่   ว่าเป็นตู้คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลกก็ว่าได้
     ว่า	“โอชทวีป”	ในสมัย	พระโกนาคมนะ	มีชื่อว่า	“วรทวีป”	และในสมัย	               	       และ	 ศรีลังกา	 เป็นเมืองแห่งรอยยิ้ม	 และความมีน้ำาใจของชาว
     พระกัสสปะพุทธเจ้า	มีชื่อว่า	“มัณฑทีปะ”	เป็นต้น	แต่ชาวกรีก	กับพวก             เกาะ	เป็นแดนสุขาวดี	บนพืนโลกทีประพรมไปด้วยสีเขียวสดแห่งต้นไม้	
                                                                                                               ้        ่
     โรมัน	เรียกเกาะลังกานีวา	“แท็ปโพเบรน”		(Taprobane)	ซึงเพียนมาจาก	
                               ้่                               ่ ้               และพืชพันธุ์ธัญญาหาร	 พร้อมทั้งกลิ่นหอมจรุงใจของเครื่องเทศ	 และ
     ตัมพปัณณิ	แปลว่า	“เกาะแห่งคนฝ่ามือแดง”	(ฝ่ามือแดงอย่างไรเอาไว้               แพรวพราวด้วยอัญมณีที่มีค่า	 จนมีเมืองชื่อว่า	 รัตนปุระ	 และมีนักกวี
     คุยกันในบทต่อไป)                                                             นิพนธ์ได้กล่าวถึงพื้นที่ของประเทศศรีลังกาเปรียบเหมือน	 หยดน้ำาตา
     	       ชื่อ	 ซีลอน	 ที่เรารู้จักอย่างเป็นทางการนี่ก็เรียกขานกันมาจน         ของสาวน้อย	(ซึ่งเปรียบเปรยประเทศอินเดียเป็นใบหน้าของหญิงสาว)	
     กระทั่งสิ้นสงครามโลกครั้งที่	 ๒	พอได้รับเอกราชก็ประกาศชื่อประเทศ             ซึ่งพื้นที่เกาะ	 หลุดออกไปจากผืนแผ่นดินใหญ่อนุทวีป	 คืออินเดียใน
     ใหม่	 ว่า	 “ศรีลังกา”	 ตั้งแต่ปี	 พ.ศ.	 ๒๕๑๕	 แต่เราก็เรียกว่า	 ลังกา	 มา    ปัจจุบัน	 ซึ่งก็ไม่เกินความจริงที่จะเรียกชื่ออย่างนั้น	 เพราะสวรรค์แห่ง
     ตลอดตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยแล้ว	 ที่เรารู้จักประเทศนี้	 เพราะเรารับเอา        ใหม่ของผู้ที่มีหัวใจรักธรรมชาติอยู่ที่นี่	และให้เกาะสวรรค์แห่งนี้เป็นสื่อ
     พระพุทธศาสนาลัทธิ	“ลังกาวงศ์”	จากประเทศศรีลังกานี้เอง                        แห่งความสวยงามตามธรรมชาติกับมนุษยโลกในพื้นพิภพนี้
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                          ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
     	       ในอดีตแม้จะมีผกล่าวถึงชาวพืนเมืองของลังกาว่าเป็นพวก	ยักษ์	
                            ู้           ้
12




                                                                                                                                                       13
     พวกนาค	และรากษส	เป็นคนป่าคนเถื่อน	ไม่มีวัฒนธรรม	แถมยังกิน
     เนื้อสด	 ๆ	 เป็นอาหาร	 มีบันทึกโบราณกล่าวถึงพวกคนป่าที่ชาวยุโรป
     เดินเรือมาถึงและได้พบเห็นวิถีชีวิตเขาเล่าว่า	มีเรือสินค้าไปอับปาง	ณ	
     เกาะลังกาถูกพวกรากษสจับไปกินเป็นอาหารบ้างก็มี
     	       แต่สภาพแห่งความเป็นจริงแล้ว	 ศรีลังกา	 ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด	
     และไม่ทำาให้ท่านที่เดินทางมาเยือนผิดหวัง	 มีแต่ความประทับใจ	 ตรึง
     ใจกลับไปทุกราย	เมื่อกลับไปแล้วก็ถวิลหาอยากกลับมาอีก	อย่างที่ไม่          อย่างเป็นทางการ	พร้อมด้วยแจ้งกำาหนดการ	และสถานที่ที่จะเดินทาง
     สามารถจะหาที่ไหนประทับใจเท่านี้อีกเลย                                    ไปในวันนีพร้อมแล้ว	รถบัสเคลือนออกจากสถานทีพก	(Dolphin	Resort)	
                                                                                            ้                   ่                  ่ ั
                                                                              ได้อาราธนาพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระเทพกิตติโสภณ	 นำาทำาวัตร
                            เลียบฝั่งนิคอมโบ                                  เช้านมัสการพระรัตนตรัย	เป็นปฐมกฤษ์	 ทุกคนได้นำาหนังสือสวดมนต์
     	       วันนี้ตื่นนอนแต่เช้ารับอรุณวันใหม่ที่ริมฝั่งมหาสมุทรอินเดีย      ขึ้นมาสวดกันอย่างพร้อมเพรียง	 ในการเดินทางจาริกบุญครั้งนี้ได้แจก
     ฝั่งตะวันตกมองลอดผ่านต้นมะพร้าวที่มีลำาต้นสูงชะลูดขึ้นอย่างเป็น          หนังสือทำาวัตรสวดมนต์ตั้งแต่ก่อนจะขึ้นเครื่องที่สุวรรณภูมิแล้ว	 ซึ่งจะ
     ระเบียบริมฝั่งทะเลเหมือนภาพเขียนวิวที่จิตรกรบรรจงลงสีสรรบนผืน            ต้องใช้ตลอดการเดินทางจาริกแสวงบุญในครั้งนี้	ทำาวัตรเสร็จหลวงพ่อ
     ผ้าใบ	แต่นี่มันเป็นภาพจริง	ๆ	มองเห็นคลื่นสีขาวซัดสาดเข้าหาฝั่งด้วย       ได้กล่าวให้โอวาทและปรารภทีได้เดินทางมาในครังนี้	จบแล้วข้าพเจ้าได้
                                                                                                              ่                ้
     แสงแดดอ่อนๆ	 ในตอนเช้าและมีลมทะเลพัดโชยมานำาเอากลิ่นหอม                  ทำาหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์อธิบายสถานที่ต่าง	ๆ	และชี้ชวนชมบ้านเมือง
     ของดอกลีลาวดีสขาวทีกำาลังผลิดอกบานสะพรังเต็มต้น	ทำาให้นกถึงวัด
                           ี      ่                     ่            ึ        ของศรีลังกา	โดยเฉพาะเขตชานเมืองโคลัมโบนี้	เรียกว่า	“นิคอมโบ”
     ที่บ้านเกิดในเมืองไทยสมัยเป็นเด็กเคยขึ้นไปปีนเล่น	ด้วยบรรยากาศที่        	        เมือท่องเทียวกึงแสวงบุญกันแบบนี้	ตามทางแห่งประวัตศาสตร์	
                                                                                          ่       ่ ่                                        ิ
     คล้ายคลึงกับประเทศไทยทั้งที่พักอาศัย	และนิสัยผู้คน	                      มีทั้งวัด	บ้านเวียงวัง	ภูเขา	ลำาเนาไพร	จนอยู่ในขั้นสมบูรณ์	 เราใช้สูตร
     	       ทุกคนตื่นนอนกันแต่เช้าตรู่ถึงแม้ว่าเมื่อคืนจะนอนดึกกันแต่        ให้รถวิ่งเป็นวงจรรอบเกาะ	 ขณะนี้หากเราจะมองดูตามแผนที่เป็นการ
     เพราะความตืนเต้นกับสถานทีเลยนอนไม่หลับกันกระมัง	ออกจากทีพก
                       ่              ่                                ่ ั    ประกอบ	จะเห็นว่ารถกำาลังนำาเราไปสูจดเริมต้น	ของการลงสูเกาะลังกา	
                                                                                                                   ุ่ ่                  ่
     เดินไปตามทางเดินที่ปูด้วยแผ่นอิฐขนาดใหญ่ตัดกับพื้นหญ้าสีเขียว            แดนสวรรค์บนพื้นพิภพ
     เหมือนพรมเนือดีทปลาดไว้เต็มพืนดิน	เมือเดินมาถึงห้องอาหารปรากฏ
                         ้ ี่ ู          ้        ่                           	        นิคอมโบ	 เป็นเมืองตากอากาศชายทะเล	 เขาจัดบริเวณที่มี
     ว่าลูกทัวร์ตกอาหารมานังรับประทานกันพร้อมหน้าแล้ว	บางท่านก็เสร็จ
                   ั                ่                                         ชายหาดสวย	 ๆ	 ไว้สำาหรับนักท่องเที่ยวชาวยุโยป	 อเมริกัน	 หนีหิมะ
     แล้วออกไปเดินถ่ายภาพเก็บไว้เป็นที่ระลึกเพื่อรอคณะเตรียมจะขึ้นรถ          มาชิมรสไอดิน	 กลิ่นแดดกันที่นี่	 ทั่วเมืองมีที่พักโรงแรมทันสมัยอยู่
     	       เมื่ อ ทุ ก คนขึ้ น บนรถพร้ อ มแล้ ว 	 โชเฟอร์ ห นวดงามสตาร์ ท   หลายแห่ง	รวมทังร้านรวงค้าขายจำาหน่ายสินค้าพืนเมือง	ประเภทภาพ
                                                                                                ้                                ้
     เครื่องยนต์เปิดแอร์เย็นฉ่ำา	 พร้อมส่งไมค์มาให้ข้าพเจ้าได้ทักทายคณะ       ชายทะเล	ผ้าบาติค	ซึ่งที่นี่เขาทำาเอง	ได้ออกแบบลวดลายเก๋	ๆ	ไม่แพ้
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                             ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
     ที่อื่น	สีสวยสด	มีเสน่ห์ลึก	ๆ	ชวนซื้อหา                                    ในขณะเดินทางแทบจะไม่เห็นเลยก็ว่าได้
14




                                                                                                                                                           15
     	        รถนำาเลียบฝังมหาสมุทร	ฝังตะวันตกของเกาะสวรรค์	ได้ชชวนชม
                           ่             ่                            ี้        	          ผ่านชุมนุม	ย่านการค้าของชาวเล	ดูเหมือนจะเป็นตลาดส่งปลา
     บ้านเรือน	ตามริมถนนมีอะไร	ที่ควรรู้	 ควรทราบ	พร้อมกับชักชวนให้             ทะเล	ที่มีชุมชนกันมากผู้คนที่ขวักไขว่คงจะมาจับจ่ายซื้อหาปลาสดกัน
     เราทุกคนมองไปทางฟากฝัง	ทีคลืนทะเลม้วนตัวเข้าหาหาดทรายทีขาว
                                    ่ ่ ่                                ่      ที่นี่	ซึ่งทำาเลตั้งอยู่ไม่ห่าง	มีเรือประมงจอดอยู่เรียงรายเป็นจำานวนมาก	
     สะอาด	ท่ามกลางแสงแดดระยับ	ยามสาย	ๆ	ช่างงามเสียนี่กระไร                     บางลำาก็ทอดสมอห่างฝั่งออกไปบ้าง
     	        เรากำาลังเข้าสู่เมืองนิคอมโบ	 ในอดีตครั้งเมื่อยุโรปเรืองอำานาจ	   	          ถนนตัดผ่านหมู่บ้านเล็ก	ๆ	ประดับประดากัน	แปลกหูแปลกตา	
     เคยเป็นเมืองท่าที่สำาคัญแห่งหนึ่งในเกาะลังกา	 ตั้งอยู่ทางเหนือของ          ห้อยทางมะพร้าวระโยงระยางเต็มไปหมด	 บ้านชายหาดเลียบชายฝั่ง
     โคลัมโบ	ประมาณ	๔๗	กม.	จากข้อเขียนของนายวาเลนทิน	ชาวดัชท์	                  แถบนี้มีทิวมะพร้าวร่มรื่น	ปกใบครึ้มงามดี	หาดทราย	โขดหิน	ทิวทัศน์	
     กล่าวไว้ว่า	 “อบเชยที่นี่	 นับว่าดีที่สุดในโลก”	 แต่ปัจจุบันต้นอบเชยนับ    อิมตา	งามตามธรรมชาติ	บางแห่งเป็นแหลมโค้งยืนออกไปในคาบสมุทร	
                                                                                   ่                                                   ่
     ว่าจะหาดูไม่ค่อยได้	คงมีแต่ดงมะพร้าว	ขึ้นรายเรียงเป็นทิวแถวซึ่งเป็น        มองเห็นทิวมะพร้าวหนาลิบ	ๆ	ใบลู่ไปมาเมื่อยามต้องสายลม	ตัดกับ
     สัญลักษณ์ประจำาเกาะลังกานี้ก็ว่าได้                                        ฟองคลื่นเป็นประกายระยิบระยับ	 เหมือนกับดูภาพยนตร์สารคดีชุด
     	        ใกล้ตัวเมืองเข้าไป	 จะมีโรงงานอุตสาหกรรม	 ให้เห็นประปราย	         การท่องเที่ยว	อะไรอย่างนั้น	เรียกว่ากำาลังเพลิดเพลิน	เจริญใจ	ความ
     รถพาลัดเลาะไปตามคลองส่งน้าจืดขนาดใหญ่	 ซึ่งเป็นผลงานของชาว
                                       ำ                                        รู้สึกเหมือนถูกเบลคอย่างแรง	 เมื่อผ่านที่ฝังศพมีสัญลักษณ์เป็นป่าไม้
     ดัชท์	ครั้งเมื่อมีอำานาจปกครองอยู่ที่นิคอมโบ	เมื่อปี	พ.ศ.๒๑๘๗	(ค.ศ.        กางเขนเต็มไปหมด
     ๑๖๔๔)	บางแห่งยังมีป้อมปราการปรากฏให้เห็นเป็นอนุสรณ์                        	          ถึงตรงนี้จะต้องปรับความรู้สึกกันอย่างมาก	 เหมือนกับดูการ
     	        ในขณะที่รถแล่น	 สลับกับเสียงแตรเป็นจังหวะ	 ๆ	 แต่ไม่ถึงกับ        ประกวด	นางงามจักรวาล	แล้วเปลี่ยนช่องมาชมขบวนเคลื่อนศพเข้าสู่
     หนวกหูเหมือนการเดินทางในประเทศอินเดียทีผเขียนคุนเคย	เพราะได้
                                                        ่ ู้    ้               เมรุ	ต้องจัดอารมณ์เข้าที่กันก่อน	ถ้าจะพูดว่าทำาให้เสียบรรยากาศของ
     นำาคณะจาริกไปพึ่งกลับมาได้	๒	วัน	ก็มาศรีลังกานี้		ขณะที่ล้อรถหมุน          ชายทะเล	ก็คงใกล้ความจริงสำาหรับผู้รักธรรมชาติทั้งหลาย
     ไปบนทางทีเรียวเล็กเหมือนถนนมิตรภาพทีขนไปทางภาคอีสานสมัยที่
                    ่                              ่ ึ้                         	          ความประทับใจของการเดินทางรอบเกาะมรกตลังกาทวีปทุกวัน
     เริมพัฒนากันใหม่	ๆ	แต่มปายสีแสดงอักษรตัวเขือง	ๆ	ว่าเป็นทางหลวง
        ่                         ี ้                     ่                     ตามรายการ	ได้เก็บหอมรอมริบเมล็ดพันธุ์แห่งความสุขเล็ก	ๆ	น้อย	ๆ	
     ที่เชื่อมต่อระหว่างเมืองสำาคัญ	และเป็นถนนสายเศรษฐกิจอีกต่างหาก	            จากภูเขา	 พื้นน้ำา	 เจดีย์	 ปฏิมากรรม	 แมกไม้	 เครื่องเทศเหล่านี้ซึมซับ
     ถ้าเราหยิบความรู้สึกในเชิงเปรียบเทียบกับชนบทในเมืองไทย	คำาตอบ              แนบแน่นอย่างสนิทสนมกับธรรมชาติยงขึน	ก็เมือได้สมผัสอย่างใกล้ชด	
                                                                                                                            ิ่ ้     ่     ั          ิ
     ก็คือถนนหลายสายในบ้านไร่ปลายดอยดีกว่าที่ศรีลังกาเยอะ                       ความไร้เดียงสาของสายลม	แสงแดด	ภูเขา	ความเขียวขจี	 ยังคงรักษา
     	        นั่นเป็นการเปรียบเทียบในสถานะที่ต่างกันทั้งเศรษฐกิจ	 และ          ความบริสุทธิ์ไว้อย่างสง่างาม
     จำานวนประชากร	แต่ถ้าเราจะมองให้เป็นธรรมกับประเทศเล็ก	ๆ	ที่น่า              	          “ธรรมชาติทดารงอยูอย่างประณีตและบรรจง	ปราศจากการแต่ง
                                                                                                         ี่ ำ     ่
     เอ็นดูเช่นนี้	 ถนนในศรีลังกานั้นนับว่าเหมาะสมดีแล้ว	ตามสภาพเกาะ            แต้ม	ปรุงสีสนจนทำาให้รสชาติแห่งชีวตดังเดิมเปลียนทิศทางไปอย่างน่า
                                                                                                ั                         ิ ้            ่
     ที่รถต้องวิ่งอยู่ในขอบเขตจำากัด	การที่รถจะเบียดเสียดกันบนท้องถนน           เสียดาย”
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                         ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
     	       พอรถวิงออกนอกตัวเมืองประมาณชัวโมงกว่า	ๆ	ก็มเสียงกระซิบ
                    ่                              ่           ี
16




                                                                                                                                                      17
     มาจากด้านหลังบอกว่าอยากจะไปเยี่ยมห้องน้ำาชาวศรีลังกาบ้าง	 บาง
     ท่านที่เคยไปอินเดียก็อยากจะเปรียบเทียบดูว่าจะต่างกันหรือเหมือน
     กันประการใด	 โชเฟอร์เราก็แสนจะใจดีพอส่งสัญญาณปับก็รู้ทันทีรีบ
     มองหาที่พักริมทาง	 ซึ่งไม่เหมือนเรสท์แอเรีย	 Rest	 Area	 ในอเมริกา
     หรอกนะ	รถเลียวเข้าไปจอดหน้าบ้านเก่าทรงยุโรปคงจะเป็นมรดกสมัย
                      ้
     อังกฤษปกครองทิงไว้เป็นอนุสรณ์ในยุคนีกปรับสภาพเป็นร้านอาหาร	มี
                        ้                       ้็
     ห้องน้ำาไว้บริการและมีที่นั่งดื่มน้ำาชาด้วย	พวกคณะเราลงไปต้องเข้าคิว
     เพราะมีหองน้ำาจำานวนจำากัด	และหลังจากนันก็มานังจิบน้าชา	ซีลอนที	
                ้                                    ้  ่    ำ
     (Ceylon	Tea)	ซึ่งเป็นชาลังกาถ้วยแรกที่ได้เติมเต็มให้การเดินทางครั้งนี้
     ครบสมบูรณ์

                                                                                                  ตามตำานานที่ขานไข
                                                                              	       พอขึ้นรถอีกครั้งสมาชิกบอกว่าอยากฟังเรื่องตำานานสิงหลบ้าง	
                                                                              ว่าเป็นมาอย่างไร	ก็เลยต้องอ้างคัมภีรมหาวงศ์	จุลวงศ์ของลังกาอีกครัง
                                                                                                                   ์                              ้
                                                                              หนึ่ง	ต้องนำามาเล่าให้ฟัง	ชาวสิงหลนั้นสืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าวิชัย	
                                                                              ผู้เป็นโอรสของพระเจ้าสีหนุ	ครองเมืองสิงหบุรี		กษัตริย์แห่งอาณาจักร
                                                                              เบงกอล	มีพระราชินีซึ่งเป็นเจ้าหญิงมาจากแคว้นกาลิงคะ	พระนามว่า	
                                                                              ยามาวดี	มีธิดาองค์เดียวนามว่า	สุปปาเทวี
                                                                              	       ต่อมาโหรประจำาราชสำานักทำานายว่า	บุตรีจะมีชวตไม่งดงาม	ตาม
                                                                                                                                   ีิ
                                                                              แบบขัตติยะประเพณี	พระราชบิดาจึงทรงปกป้องดูแลบุตรีอย่างดี	เพื่อ
                                                                              มิให้เป็นอย่างทีโหรทำานายไว้	วันหนึง	พระราชาเกิดทำาให้เจ้าหญิงขัดใจ	
                                                                                              ่                  ่
                                                                              จึงเสด็จหนีออกจากพระราชวังไปและขอเดินทางไปกับพวกพ่อค้า	 ซึ่ง
                                                                              กำาลังออกเดินทางไปแคว้นมคธ
                                                                              	       ในระหว่างการเดินทางถึงแคว้นสาละ	เผอิญมีสงโตขนาดใหญ่ตว
                                                                                                                                 ิ              ั
                                                                              หนึ่งมาทำาร้ายคนในกองเกวียนพ่อค้าล้มตายหมด	เหลือเพียงเจ้าหญิง
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                          ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
     เท่านัน	สิงโตจึงพาเจ้าหญิงไปสมสูอยูในถ้า	จนเกิดบุตรชาย-หญิงคูหนึง	
            ้                            ่ ่ ำ                         ่ ่    	       ตามคัมภีร์มหาวงศ์ยังได้กล่าวต่อไปอีกว่า 	 	 เมื่อพระเจ้าตา
18




                                                                                                                                                       19
     พี่ชื่อว่า	“สีหะพาหุ	ส่วนน้องชื่อว่า	“สีหะสีวลี”                         สวรรคตแล้ว	สีหะพาหุมีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชย์แทน	แต่ไม่ต้องการ	จึง
     	         ขณะที่พี่คนโตอายุ	 ๑๒	ขวบ	วันหนึ่งพ่อสิงโตไม่อยู่	 จึงแบกแม่   ได้มอบราชสมบัตให้พระมารดาและบิดาเลียงครองเมือง	ส่วนตนเองกับ
                                                                                                 ิ                      ้
     และน้องคนเล็กกลับไปอยูวงกับพระเจ้าตา	ฝ่ายสิงโตกลับมาไม่พบหน้า
                                 ่ั                                           น้องสาว	สีหะสีวลี	ได้พากันไปตั้งเมืองใหม่	ชื่อว่า	“เมืองสิงหบุรี”	แล้ว
     ลูกเมีย	จึงออกติดตามอาละวาดกัดกินผู้คน	เมื่อราษฎรเดือดร้อน	จึง           แต่งงานกันมีโอรสนามว่า	“เจ้าชายวิชัย”	กับ	“เจ้าชายสุมิตร”	
     พากันเข้าร้องทุกข์ต่อพระราชา                                             	       โดยนิสัยแล้วเจ้าชายวิชัยไม่ค่อยจะเรียบร้อยนัก	 มักจะสร้าง
     	         พระราชาแห่งแคว้นกาลิงคะ	จึงประกาศให้รางวัลอย่างงามแก่ผู้       ความเดือดร้อนแก่ประชาชนอยู่เนือง	 ๆ	 พระเจ้าสีหะพาหุเห็นทีจะ
     ทีจะปราบสิงโตตัวนัน	แต่ไม่มใครกล้า	นอกจากสีหะพาหุทเข้ารับอาสา	
       ่                   ้        ี                           ี่            เลี้ยงไม่ไหว	จึงจับโกนหัวครึ่งซีกแล้วนำาลงเรือเนรเทศออกทะเลไป	จน
     แม้ว่าฝ่ายมารดาจะทัดทานอย่างไรก็ไม่ฟัง	 คว้าธนูได้ก็มุ่งหน้าไปสู่ป่า     กระทั่งเรือล่องมาถึงเกาะลังกา
     สาละทันที                                                                	       ตามตำานานกล่าวว่า	วันที่พระเจ้าวิชัยกำาลังขึ้นฝั่งนั้น	พระพุทธ
     	         ฝ่ายพ่อสิงโตมองเห็นลูกเดินมาแต่ไกลก็ดใจรีบวิงเข้าไปหา	พอได้
                                                      ี    ่
     ระยะลูกชายก็ยิงธนูออกไปเสียบอกล้มลงขาดใจตาย	 พร้อมตัดหัว
     นำากลับไปเพื่อเป็นอนุสรณ์เผ่าพันธุ์ของสิงห์	 เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่ง
     บรรพบุรุษในธงชาติศรีลังกาจึงมีรูปสิงห์ปรากฏอยู่
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                      ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
     องค์กำาลังจะดับขันธปรินิพพานพอดี	 ได้ตรัสแก่เทวดาและมนุษย์ที่มา
20




                                                                                                                                 21
     เฝ้าว่า	“ดูกรท้าวสักกะ	!	ธรรมะของเราจักได้ประดิษฐานในเกาะลังกา	
     และวันนี้เจ้าชายองค์ใหญ่ของพระเจ้าสีหะพาหุ	 จะขึ้นฝั่งพร้อมด้วย
     บริวาร	๗๐๐	คน	จะครองราชย์ที่เกาะนี้	ขอจงปกป้องคุ้มครองเจ้าชาย
     ด้วยเถิด”
     	       เจ้าชายและบริวารอยู่ในทะเลมานาน	 พอได้ขึ้นฝั่งต่างก็ดีใจ	
     นั่งคุกเข่าก้มหน้าลงจูบแผ่นดิน	 แล้วชูมือขึ้นบูชาเทพกันใหญ่	 และ
     มองที่ฝ่ามือของตนเองเป็นสีแดง	 จึงได้ตั้งชื่อเกาะนี้ตามมงคลนามว่า	
     “ตัมพปัณณิทวีป”	แปลว่า	ดินแดนแห่งคนฝ่ามือแดง	และถ้าจะนับหน้า
     ประวัติศาสตร์ของศรีลังกา	ก็เริ่มเมื่อ	พ.ศ.	๑	นั้นเอง
     	       การเดินทางครั้งนี้ได้บันทึกสิ่งที่พบเห็นตามที่ต่าง	 ๆ	 ไว้ตลอด
     ตำานานต่าง	 ๆ	 ในคัมภีร์มหาวงศ์	 และจุลวงศ์	 โดยจะขอใช้เม็ดทราย
     ผสมหยดมรกต	 เรียงร้อยเป็นตัวอักษรพรรณาความสวยงามตามที่ได้
     พบเห็น	เพือฝากสมาชิกเพือนร่วมเดินทาง		พอทีจะมีเนือหาสาระ	เป็น
                  ่                    ่                    ่         ้
     ประโยชน์แก่ผู้อ่าน	เมื่อกลับบ้านแล้วจะได้ใช้ทบทวนการเดินทาง
     	       หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า 	 สารั ต ถะของการบั น ทึ ก ครั้ ง นี้ 	 คงเกิ ด
     ประโยชน์และมุมบันเทิงกับท่านผู้สนใจ	ในความเป็นศรีลังกา	ดินแดน
     แห่งพระพุทธศาสนา	 ดินแดนแห่งชนฝ่ามือแดง	 เท่าที่รู้เห็น	 ความ
     ประทับใจแห่งหยาดมรกตแห่งเอเชียนี้คงจะทำาให้ลืมศรีลังกาไม่ลงไป
     นานเท่านาน...อายุบวร




                                                                                                   ๒
                                                                                             ปฐมนครแห่งสิงหล
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                 ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี

                                                                   ๑. อนุราธปุระ
22




                                                                                                                           23
                                                						เมื่อคณะลูกทัวร์พร้อมกันบนรถเสร็จเรียบร้อย	จากการแวะทำา
                                                ภาระกิจส่วนตัวซึ่งจะเรียกว่าแวะเข้า	 Rest	 Area	 นอกเมืองโคลัมโบก็
                                                ว่าได้	ผู้ดูแลลูกทัวร์	คือคุณ	Sharm	ได้นับจำานวนพร้อมแล้วก็ออกเดิน
                                                ทางต่อกะว่าจะต้องให้ไปทันฉันเพลที่	Palm	Garden	Resort	ซึ่งจะเป็น
                                                ที่พำานักพักกายในคืนนี้ด้วย	
                                                	       ห่างจากโคลัมโบ	เมืองหลวงปัจจุบนของศรีลงกา	๒๐๗	กิโลเมตร	
                                                                                         ั          ั
                                                ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ	ก็จะถึงเมืองอนุราธปุระ	นครหลวงแห่ง
                                                แรกที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สมบูรณ์	และเป็นเมืองที่พระพุทธ
                                                ศาสนาเข้าไปตั้งมั่น	 สืบต่อจากอินเดียที่กำาลังเสื่อมลง	 และหมดไปใน
                                                ที่สุด
                                                	       ขอย้อนเรื่องเบื้องหลังการตั้งเมืองนี้พอเป็นสังเขป	 เมื่อครั้ง
                                                พระพุทธเจ้าเสด็จเกาะลังกาครั้งที่สามนั้น	 ตามคัมภีร์มหาวงศ์อ้างว่า	
                                                พระองค์เสด็จพร้อมด้วยพระสงฆ์สาวกทั้ง	 ๕๐๐	 องค์	 ทุกแห่งที่เสด็จ	
                                                ไป	ภายหลังได้มีผู้สร้างเจดีย์ไว้เคารพบูชาแทนพระพุทธองค์ในที่นั้น	ๆ	
                                                จนกระทั่ง	เมื่อปี	พ.ศ.	๑	เจ้าชายวิชัยเสด็จขึ้นฝั่งเกาะลังกา	และปราบ
                                                ชาวพื้นเมืองครองราชย์ที่เมืองตัมพปัณณิ	ต่อมาโปรดให้อำามาตย์แยก
                                                ย้ายไปสร้างเมืองอยู่กันต่างหากปุโรหิตคนหนึ่งชื่อว่า	 อุปติสสะ	 สร้าง
                                                อุปติสสคาม	และ	อำามาตย์ชอ	อนุราธคาม	ได้สร้างเมืองให้เจริญรุงเรือง	
                                                                              ื่                                  ่
                                                ขึนตามลำาดับ	โดยมีระบบเทศบาล	การโยธา	พร้อมสาธารณูปการ	และ
                                                  ้
                                                ยกขึ้นเป็นเมืองหลวงนามว่า	 อนุราธปุรธานี	 เมื่อปี	 พ.ศ.	 ๑๐๕	 ก่อน	
                                                ค.ศ.	๔๓๘	ปี
                                                	       มหานครอนุราธปุระ	ที่เคยเป็นเมืองหลวง	มีประวัติศาสตร์และ
                                                โบราณคดีที่น่ารู้	 ปัจจุบันนี้ได้กลายเป็นเมืองร้าง	 มีเนื้อที่กว้างใหญ่	
                                                มีซากปราสาท	 ราชวัง	 พระวิหารองค์พระเจดีย์	 อายุกว่า	 ๒,๐๐๐	 ปี
                                                มากมาย	เพราะความทีเคยเป็นเมืองหลวงอยูนานเกือบพันปี	มีกษัตริย์
                                                                          ่                   ่
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                                     ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
     ปกครองติดต่อกันถึง	๑,๐๐๐	กว่าองค์	 ข้าพเจ้าได้เดินทางมาเยี่ยมชม
24




                                                                                                                                                                   25
     โบราณสถานครังแรกเมือปี	พ.ศ.	๒๕๔๓	มีความประทับใจมาก	ทีได้เห็น
                        ้          ่                                              ่
     สถานที่สำาคัญในทางพระพุทธศาสนาที่พระมหากษัตริย์และประชาชน
     ผู้มีศรัทธาได้สรรค์สร้างเอาไว้ยิ่งใหญ่นับได้ว่าในขอบขัณฑสีมาเมือง
     อนุราธปุระนี้	 เป็นพิพิธภัณฑ์มหาเจดีย์ของโลก	เพราะมีพระเจดีย์องค์
     ใหญ่ๆ	มากมาย	ซึ่งหาดูไม่ได้เลยในนานาอารยะประเทศ
     	        เมื่อรถวิ่งเข้าสู่เขตเมืองหลวงเก่า	 สิ่งที่ให้ผู้ที่พบเห็นประทับใจ
     และลืมไม่ลงคือ	ป่าไม้และทะเลสาบ	ซึงบ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ที่
                                                     ่
     เอื้ออำานวยกันทำาให้เกาะลังกาเป็นสีเขียว	และมีฝนตกชุกตลอดปี	และ
     เป็นเรื่องธรรมดามากที่แดดจ้าอยู่ดี	ๆ	ก็มีฝนตกลงมา	ชาวพื้นเมืองจะ
     ไม่กระตือรือร้นกับการหนีฝนหรือหาทีหลบด้วยกลัวเปียก	ต่างก็กางร่ม
                                                       ่
     เดินกันเฉยเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
     	        ทีเป็นเช่นนีกเพราะศรีลงกาอยูในเขตอิทธิพลของมรสุม	มีฝนตก
                ่          ้็             ั        ่                                      หมู่บ้านเหมือนในชนบทบ้านเราตลอดเส้นทางจะสังเกตเห็นว่า	 ผ่าน
     บ่อยๆ	เป็นที่รู้กันว่าเมื่อจะออกจากบ้าน	สิ่งที่ควรนำาติดตัว	นอกจาก                   คลองส่งน้ำาขนาดเล็กและขนาดยักษ์มาก	 ได้ชี้ชวนชมแก่สมาชิกที่อยู่
     กระเป๋าสตางค์ค่ารถเมล์แล้ว	 ร่มก็เป็นบริขารสำาคัญที่ขาดไม่ได้	 ยิ่งใน                ในรถ	และได้เตือนสติผู้ที่ชอบเข้าฌานสมาธิ	 ถ้าไม่จำาเป็นก็อย่าพึ่งพับ
     เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน	มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พดเอาน้ำาฝน             ั            คอติดพนักเก้าอีเสียก่อน	เพราะสองข้างทางทิวทัศน์สวยงามเหลือเกิน	
                                                                                                            ้
     มา	เดือนที่แห้งแทบไม่มีเลย                                                           ตลอดถึงความเป็นอยูชาวชนบทของศรีลงกาน่าศึกษาอยูไม่นอย	เดียว
                                                                                                                 ่                   ั           ่ ้        ๋
     	        ลมมรสุมพัดมาหลายทิศทาง	จึงเป็นผลให้ประเทศนี้เขียวชะอุ่ม                     จะขาดทุนเพราะมัวแต่นอนหลับ
     ทังปี	การทำานา	จึงไม่มฤดูแน่นอน	ทีใดมีนาเพียงพอก็ลงมือทำานากันได้	
        ้                        ี               ่       ้ำ                               	       ดังที่กล่าวแล้วว่า	 ศรีลังกาอยู่ในเขตมรสุมมีฝนตกชุก	 มีแม่น้ำา
     เท่าที่ผ่านมาอาจแปลกใจ	คือ	เมืองหนึ่งกำาลังไถนา	อีกเมืองหนึ่งกำาลัง                  หลายสายแต่เป็นสายสั้น	 ๆ	 และมีทะเลสาบที่ขุดขึ้นจากน้ำามือของ
     เกี่ยวข้าว	 และอีกเมืองหนึ่งข้าวกำาลังแตกกอ	 เขียวเป็นพืดเต็มท้องนา	                 มนุษย์	 ประโยชน์ก็คือใช้ในการเกษตร	 และการคมนาคมขนส่งทางน้า	         ำ
     บางแห่งน้ำาท่าสมบูรณ์	ทำานาได้	๓	ครั้ง                                               แต่น้ำายังมีเพียงพอแก่ความต้องการของราษฎร	 ที่ใช้ในการทำานาอยู่
     	        ประเทศนี้ จึ ง อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ยป่ า ไม้ 	 พื ช พั น ธุ์ ธั ญ ญาหาร	   นั่นเอง	
     สมั ย ก่ อ นเคยส่ ง ข้ า วเป็ น สิ น ค้ า ออก	 จนได้ ฉ ายาว่ า 	 “ฉางข้ า วแห่ ง
     ตะวันออกไกล”	 ปัจจุบันนี้ต้องซื้อข้าวต่างประเทศ	 ไทยเราก็ส่งข้าวมา
     ขายที่นี่ด้วยเหมือนกัน
     	        ระหว่างที่รถวิ่งผ่านหมู่บ้านเล็กเมืองน้อย	 ส่วนใหญ่จะเป็น
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา                                                                                           ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี
     	        นับตั้งแต่สมัยโบราณมาแล้ว	 พระราชาที่ทรงทำานุบ้านเมืองให้                         ว่า	Vadha	Ela	แปลว่าคลองขนาดยักษ์	 มีระบบท่อส่งไปตามที่ต่าง	ๆ	
26




                                                                                                                                                                          27
     ราษฎรอยูเย็นเป็นสุข	จะมีนโยบายสำาคัญประการหนึง	คือโปรดให้สร้าง
                  ่                                                     ่                       เมื่อ	๒,๐๐๐	กว่าปีมาแล้วร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองและใช้เทคโนโลยี
     อ่างเก็บน้ำาไว้ตามสถานที่ต่าง	 ๆ	 เพื่อให้ราษฎรอาศัยน้ำาทำานา	 และ                         เกี่ยวกับการชลประทานนั้นยังปรากฏให้เห็นอยู่อย่างชัดเจน
     ทำาการเกษตรต่าง	ๆได้	ถ้ามีนาก็คอมีทกสิงทุกอย่าง	เหมือนทีจารึกบน
                                           ้ำ ื ุ ่                                  ่          	        ขอขยายความเพิ่มอีกนิดหน่อย	 คำาว่า	 Veva	 แปลว่าบึง	 อ่าง
     หลักศิลาของพระเจ้ารามคำาแหงทีวา	“ในน้ามีปลา	ในนามีขาว”	บ่งบอก
                                                 ่่         ำ                  ้                เก็บน้ำา	แท้งค์น้ำา	หรือจะแปลว่าทะเลสาบก็ตามใจ	แต่ว่าเป็นทะเลสาบ	
     ถึงความอุดมสมบูรณ์ชาวประชาหน้าใส	มีความสุขกาย	สบายใจ	จึงได้                                น้อยๆ	ผู้ชำานาญภาษาบาลีที่มาด้วยกันกระซิบบอกว่า	เวว่า	น่าจะมา
     ชื่อว่าเมือง	“สุโขทัย”                                                                     จากบาลีว่า	วาปี	 เช่น	ติสสวาปี	 บึงชื่อว่า	ติสสะ	ก็ฝากให้ท่านผู้อ่านที่
     	        ตามคติความเชื่อนี้ข้าพเจ้าได้พบอีกประเทศหนึ่ง	 คือ	 กัมพูชา	                      สนใจใคร่รู้นำาไปค้นคว้าต่อก็แล้วกัน
     สมัยอาณาจักรขอมทีพระมหากษัตริยทรงเอาพระทัยใส่เรืองการเกษตร	
                                ่                    ์                       ่                  	        มองผ่านหน้าต่างรถชมเมืองไปเพลิน	 ๆ	 รถได้เลี้ยวเข้าสู่สถาน
     และสังให้ประชาชนขุดอ่างเก็บน้า	หรือทะเลสาบ	เมือกษัตริยองค์ใดขึน
            ่                                  ำ                      ่            ์        ้   ทีพกในวันนีคอ	Palm	Garden	Resort	เป็นสถานทีใหญ่โตสวยงาม	เป็น
                                                                                                  ่ ั          ้ ื                               ่
     มาครองราชย์จะต้องแสดงพระบารมีด้วยการขุดบาราย	 (อ่างเก็บน้ำา)	                              ที่น่าสังเกตว่าการจัดรูปแบบของโรงแรม	 รวมไปถึงสิ่งแวดล้อม	 คล้าย
     และสร้างปราสาทรวมไปถึงค่ายคูกำาแพงเมืองต่างๆ                                               สำานักปฏิบัติธรรมในเมืองไทยมาก	 รถจอดเทียบที่ตึกด้านหน้าสำาหรับ	
     	        ส่วนพระราชาของชาวสิงหล	ก็แสดงพระบารมีดวยการสร้างพระ         ้                     Reception	 พนักงานของโรงแรมออกมาต้อนรับด้วยใบหน้ายิ้มแย้ม
     เจดีย์ใหญ่	 (มหาสถูป)	 เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและแสดงออกถึง                            แจ่มใส	มีนาเย็น	ๆ	มาเสิรฟด้วยไมตรีจต	ทำาให้การเดินทางหายเหนือย
                                                                                                            ้ำ             ์           ิ                            ่
     พระราชศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา	และนำาพาทวยราษฎร์ขดทะเลสาบ	                     ุ              ไปเลย	มีแต่ความสดชื่นเข้ามาแทน	มีโยมที่เป็นห่วงเรื่องฉันภัตตาหาร
     เพื่อกักเก็บน้ำาไว้ใช้ในการเกษตร	 และอุปโภค	 บริโภค	 ซึ่งมีหลักฐาน                         เพลของพระคุณเจ้าเข้ามากระซิบข้าพเจ้าให้ประกาศบอกคณะไปทีหอง        ่ ้
     ปรากฏชัดทั้งสองประเทศ
     	        ศรีลังกาเป็นประเทศเล็ก	 ๆ	 แต่มีอ่างเก็บน้ำามากมาย	 ทั้งยัง
     มี ค ลองส่ ง น้ำ า ไปยั ง ทุ่ ง นาอี ก ด้ ว ย	 นั บ ว่ า มี ค วามก้ า วหน้ า ทางด้ า น
     ชลประทานมาก	เรื่องนี้น่าสรรเสริญถึงความเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ของผู้นำา
     ประเทศ	โดยเฉพาะในสมัยปกครองด้วยระบอบพระมหากษัตริยทมาก                             ์ ี่
     ด้วยพระอำานาจและพระบารมี	พร้อมทีจะส่งมอบความสุขแก่ประชาชน
                                                       ่
     ทุกรูปแบบ
     	        น้ำาเป็นปัจจัยสำาคัญ	 เมื่อสร้างนครอนุราธปุระ	ได้สร้างอ่างเก็บ
     น้ำา	KALA	VEVA	ยาวถึง	๕๔	ไมล์	เนื้อที่กว้างใหญ่ถึง	๖,๐๐๐	เอเคอร์	
     สร้างเขื่อนยาว	๕.๕	ไมล์	สูง	๕๐	ฟุต
     	        ต่อมาสร้างเขื่อนชื่อ	Balali	Veva	มีคลองส่งน้ำาเข้าในเมืองเรียก
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)
Sri lanka2011book(Part 1)

More Related Content

More from หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง

กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกากำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกาหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕
สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕
สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
กำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณ
กำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณกำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณ
กำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 

More from หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง (20)

นิมนต์ร่วมพิธีมงคลเฉลิมพระเกียรติ
นิมนต์ร่วมพิธีมงคลเฉลิมพระเกียรตินิมนต์ร่วมพิธีมงคลเฉลิมพระเกียรติ
นิมนต์ร่วมพิธีมงคลเฉลิมพระเกียรติ
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกากำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
กำหนดการสอบธรรมศึกษาสนามหลวงในสหรัฐอเมริกา
 
สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕
สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕
สทส.๐๐๕ ๒๕๕๕(ประชุมสมัยสามัญประจำปี ๒๕๕๕
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
รายงานการประชุมกรรมการอำนวยการสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
รายงานการประชุมสมัยวิสามัญครั้งที่ ๒๐
 
กำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณ
กำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณกำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณ
กำหนดการสวดพระอภิธรรมศพ พระเทพกิตติโสภณ
 
ที่ สทส.024 2554(ประชุมวิสามัญ๕๔)
ที่ สทส.024 2554(ประชุมวิสามัญ๕๔)ที่ สทส.024 2554(ประชุมวิสามัญ๕๔)
ที่ สทส.024 2554(ประชุมวิสามัญ๕๔)
 
จดหมายแจ้งข่าวจัดงานวันมหารำลึก
จดหมายแจ้งข่าวจัดงานวันมหารำลึกจดหมายแจ้งข่าวจัดงานวันมหารำลึก
จดหมายแจ้งข่าวจัดงานวันมหารำลึก
 
บริจาคสวดพระอภิธรรมพระเทพโพธิวิเทศ
บริจาคสวดพระอภิธรรมพระเทพโพธิวิเทศบริจาคสวดพระอภิธรรมพระเทพโพธิวิเทศ
บริจาคสวดพระอภิธรรมพระเทพโพธิวิเทศ
 
การประชุมที่เคปทาวน์1999
การประชุมที่เคปทาวน์1999การประชุมที่เคปทาวน์1999
การประชุมที่เคปทาวน์1999
 
อินเดียแดนมหัศจรรย์
อินเดียแดนมหัศจรรย์อินเดียแดนมหัศจรรย์
อินเดียแดนมหัศจรรย์
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
คำแสดงตนเป็นพุทธมามกะ(วัดพุทธานุสรณ์)
คำแสดงตนเป็นพุทธมามกะ(วัดพุทธานุสรณ์)คำแสดงตนเป็นพุทธมามกะ(วัดพุทธานุสรณ์)
คำแสดงตนเป็นพุทธมามกะ(วัดพุทธานุสรณ์)
 
ประกาศกรมการศาสนา
ประกาศกรมการศาสนาประกาศกรมการศาสนา
ประกาศกรมการศาสนา
 
My life as a simple monk
My life as a simple monkMy life as a simple monk
My life as a simple monk
 
ระเบียบปฏิบัติของปริวาสิกภิกษุ
ระเบียบปฏิบัติของปริวาสิกภิกษุระเบียบปฏิบัติของปริวาสิกภิกษุ
ระเบียบปฏิบัติของปริวาสิกภิกษุ
 
Donation_2011
Donation_2011Donation_2011
Donation_2011
 

Sri lanka2011book(Part 1)

  • 2. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี 2 3 เหิรฟ้ามาไกล จากกรุงเทพ ฯ สู่กรุงโคลัมโบ วันนี้ตื่นนอนแต่เช้าทำาภารกิจส่วนตัวแล้วก็เตรียมจัดกระเป๋า สิ่งของต่าง ๆ ที่จะติดตัวไปในการจาริกบุญสู่ประเทศศรีลังกา รู้สึกมี ความภาคภูมิใจ เพราะว่าได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้า ผู้จัดรายการถวาย พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระเทพกิตติโสภณ ประธานสมัชชาสงฆ์ ไทยในสหรัฐอเมริกา และนำาญาติโยมจากมหานครนิวยอร์ค เดลแวร์ นิวเจอร์ซี่ และแมรี่แลนด์ พร้อมทั้งญาติโยมจากประเทศไทยด้วย รวม ทั้งพระสงฆ์ และฆราวาส ๓๕ รูป/ชีวิต ในตอนเช้าของวันนี้ได้โทรศัพท์นัดเวลาประมาณ ๔ โมงเย็น พร้อมกันทีทาอากาศยานสุวรรณภูม แต่พอประมาณเทียงวัน ท่านพระ ่ ่ ิ ่ ธัมมานันทะ (Ven. Dhammanadha) พระจากประเทศศรีลงกามาศึกษา ั พระพุทธศาสนาในประเทศไทย ช่วยทำาหน้าที่ติดต่อประสานงานเรื่อง ตัวเครืองบิน ได้รบโทรศัพท์จากผูจดการศรีลงกาแอร์ไลน์ บอกว่าเครือง ๋ ่ ั ้ั ั ่
  • 3. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ดีเลย์ ๒ ชั่วโมง เพราะสภาพอากาศที่นครปักกิ่ง มีหิมะตกหนักเครื่อง 4 5 บินจะมาถึงกรุงเทพฯ ช้ากว่าปกติ จะทำาอย่างไรดี จะโทรศัพท์บอกลูกทัวร์อกทีกไม่ทนบางท่านเดิน ี ็ ั ทางมาจากต่างจังหวัด บางท่านต้องออกจากบ้านแต่เช้า ก็เลยต้องมา รอที่สนามบินตั้งแต่ ๔ โมงเย็นตามกำาหนดเดิม แต่ก็ไม่เป็นไร มองใน แง่ดีทำาใจให้เป็นบุญกุศล ก็คือคณะเราจะได้มีเวลาที่จะเช็คอินได้อย่าง สบาย ๆ ไม่ต้องรีบร้อน เวลาประมาณ ๖ โมงเย็นเมื่อทุกคนมาพร้อมกันอย่างเรียบร้อย ได้แจกกำาหนดการเดินทาง หนังสือสวดมนต์ เพื่อใช้ตลอดเส้นทางใน การนมัสการสถานที่สำาคัญในเมืองต่าง ๆ และป้ายติดกระเป๋าคนละ ป้าย เพื่ออำานวยความสะดวกในการเช็คอิน-เช็คเอาท์ เสร็จแล้วได้เข้า เช็คอินทีเคาน์เตอร์ศรีลงกาแอร์ไลน์ โดยการชังน้าหนักรวมทังพระพุทธ ่ ั ่ ำ ้ รูป ๒ องค์ และกระเป๋าจำานวน ๓๖ ชิ้น ทุกอย่างเรียบร้อย แล้วเจ้า หน้าที่สายการบินได้แจกคูปองสำาหรับรับประทานอาหารเย็น เพราะ ว่าเครื่องบินดีเลย์ประมาณ ๔ ชั่วโมง ให้ญาติโยมไปเลือกรับประทาน พอเครื่องบินปรับระดับเพดานบินเข้าที่แล้วแอร์โฮสเตทได้นำา อาหารตามอัธยาศัยในเวลารอก่อนขึ้นเครื่องบิน หลังจากผ่านพิธีการ อาหารและเครื่องดื่มมาบริการ ซึ่งของพระคุณเจ้านั้นมีเนยใส เนยเข้น ตรวจคนเข้าเมืองขาออกแล้ว คณะได้ไปรอขึนเครืองบินทีประตูทางออ ้ ่ ่ น้ำาผึ้ง น้ำาส้ม และน้ำาชากาแฟ เลือกฉันได้ตามอัธยาศัย ส่วนญาติโยม กบี ๔ (B4) ก็มอาหารศรีลงกาเสิรฟ กลินโชยมา ไม่ตางจากอาหารอินเดียสักเท่าไร ี ั ์ ่ ่ ตอนนี้หลายคนบ่นกันอึดเลย เพราะต้องเดินไกลเป็นกิโลเมตร พอเครื่องบินบินข้ามมหาสมุทรอินเดียมีความรู้สึกว่าเหมือนนอนเปล พอเดินไปถึงหน้าประตูขึ้นเครื่องบิน เจ้าหน้าที่ก็ยังไม่เปิดให้เข้าไปนั่ง เพราะเครื่องจะตกหลุมอากาศบ่อย เลยเป็นเครื่องกล่อมให้หลับอย่าง รอ บอกว่ายังไม่ถึงเวลาต้องให้เที่ยวบินอื่นเขาใช้ไปก่อน ต้องนั่งรอบน ดี ในสถานการณ์เช่นนี้หลับเท่านั้นที่พอจะทำาได้ พื้นตามทางเดิน อนิจจา..น่าสงสารตัวเองและคณะซึ่งล้วนแล้วแต่มีผู้ มารู้สึกตัวอีกครั้งหนึ่งเมื่อพนักงานเตือนให้รัดเข็มขัดเพราะ สูงวัยเป็นส่วนใหญ่ แต่ก็ต้องทำาใจ ถือว่าเป็นการฝึกความอดทนก่อน เครืองจะร่อนลงสูสนามบินนานาชาติ โคลัมโบ กัตตุนายเก อีกประมาณ ่ ่ จะไปบำาเพ็ญบุญ ๒๐ นาที ตืนจากภวังค์ตงสติเตรียมแตะแผ่นดินแห่งกรุงลงกาในตำานาน ่ ั้ เวลา ๒๒.๕๕ น.เครืองบินของสายการบินศรีลงกาแอร์ไลน์ เทียว ่ ั ่ แต่นี่ไม่ใช่เรื่องในตำานาน แต่เป็นเรื่องจริงที่กำาลังเผชิญอยู่เฉพาะหน้า บินที่ UL 899 ออกเดินทางจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิมุ่งหน้าสู่กรุง โคลัมโบ ประเทศศรีลังกา
  • 4. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี เคาน์เตอร์เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมือง นี่คือสิ่งบ่งบอกถึงสัญลักษณ์ใน 6 7 ทางพระพุทธศาสนา และความเป็นชาวพุทธของศรีลังกา ก็ยังปรากฏ ให้เห็นในรูปแบบของการแต่งกายสีขาว และที่หน้าแท่นพระพุทธรูป องค์นี้ก็ยังมีดอกไม้สดสีขาวส่งกลิ่นหอมฟุ้งเมื่อเดินเข้าใกล้ แสดงว่ามี การนำาดอกไม้มาบูชาพระเป็นประจำา พวกเราชาวพุทธด้วยกันที่เดิน ทางมาถึงเห็นแล้วก็อดยกมือไหว้ไม่ได้ ต่างคนก็ได้น้อมไหว้นมัสการ ด้วยความเคารพนบน้อม และรู้สึกอบอุ่นใจในการต้อนรับของเจ้าของ ประเทศเช่นนี้ ผ่านพิธีตรวจค้นเข้าเมืองแล้วก็ออกมารับกระเป๋าและสัมภาระ ต่างๆ ที่นำาไปมีพระพุทธรูป ๒ องค์ ซึ่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายศุลกากรทำาท่าจะ เก็บภาษี แต่ดวยความใจบุญของนักธุรกิจศรีลงกาทีเดินทางมาเทียวบิน ้ ั ่ ่ เดียวกันกับพวกเราได้ออกค่าใช้จายให้ ซึงก็ไม่มากมายอะไรนักแต่มาก ่ ่ ด้วยน้ำาใจ เป็นเงินศรีลังกา ๑,๗๐๐ รูปี ขออนุโมทนาในบุญกุศลแด่นัก สัมผัสดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา ธุรกิจท่านนั้นมา ณ ที่นี้ด้วย เมื่อพ้นเขตตรวจกระเป๋าของฝ่ายศุลกากร แล้วทุกคนต่างก็เตรียมแลกเงิน เพื่อที่จะเอาไว้ใช้จ่ายและทำาบุญใน เครืองบินได้รอนลงแตะรันเวย์ของสนามบิน โคลัมโบ กัตตุนายเก ่ ่ ระหว่างการเดินทาง อัตราวันนี้ ๑ เหรียญดอลล่าร์ เท่ากับ ๑๑๐ รูปี สนามบินพาณิชย์แห่งเดียวของศรีลงกาตามเวลาท้องถินประมาณ ตี ๑ ั ่ ทุกคนต่างยิมย่องผ่องใสพกเงินรูปกนเต็มกระเป๋าพร้อมทีจะเดินทางใน ้ ีั ่ กับ ๒๕ นาที เดินทางถึงท่าอากาศยานกรุงโคลัมโบ ใช้เวลา ๓ ชั่วโมง วันพรุ่งนี้ กับ ๒๕ นาที สนามบินแห่งนี้ไม่ใหญ่โตเหมือนที่อื่นที่เคยไปสัมผัสมา ตัวอาคารที่ทำาการสนามบินก็กระทัดรัดเหมาะสมกับสภาพเกาะ และ พื้นที่ใช้สอยก็กำาลังพอดี ก้าวแรกทีสมผัสแดนพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ กว่าปี คือความอบอุน ่ ั ่ ใจที่ได้มาเมืองชาวพุทธ ไม่ใช่แต่เป็นเพียงประวัติศาสตร์ หรือตำานาน ในหนังสือเท่านั้น แต่ยังคงความเป็นพุทธทุกกระเบียดนิ้ว เริ่มตั้งแต่ ก้าวแรกที่เข้าสู่สนามบินผู้โดยสารขาเข้า ก็จะมองเห็นพระพุทธรูปปาง สมาธิสีขาวประดิษฐานอยู่บนแท่นตั้งไว้กลางห้องโถงที่จะเข้าสู่สถานที่ ตรวจคนเข้าเมือง ซึ่งทุกคนจะต้องเดินผ่านตรงนั้นก่อนที่จะเข้าไปผ่าน
  • 5. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี เดินออกมาถึงด้านหน้าของอาคารรับผูโดยสารขาเข้า คุณ Sham ้ 8 9 ผูนาทัวร์ตวแทนจากบริษท Yolyash, มารับไปขึนรถบัสปรับอากาศขนาด ้ ำ ั ั ้ ๔๕ ที่นั่งซึ่งจอดรอรับอยู่แล้ว เมื่อขนกระเป๋าขึ้นรถเรียบร้อย สมาชิก นั่งบนรถพร้อมหน้า อาตมา (พระมหาถนัด อตฺถจารี) ในฐานะผู้นำา คณะจาริกแสวงบุญ ได้จับไมค์ทักทายผู้ร่วมเดินทางเป็นภาษาสิงหล ว่า “อายุบวร แปลว่า สวัสดี” กล่าวต้อนรับเข้าสู่ดินแดนแห่งพระพุทธ ศาสนา ๒,๓๐๐ ปี เล่าถึงสาเหตุที่ทำาให้ได้จัดคณะมาจาริกแสวงบุญใน ครั้งนี้ ด้วยต้นศรัทธา คือ คุณณรงค์ศักดิ์-คุณรัตนา โชติกะเวชกุล ได้ เดินทางมาศรีลงกาเมือปีทแล้ว ได้ไปกราบพระพุทธรูปใหญ่ทเมืองแคน ั ่ ี่ ี่ ดี เกิดมีศรัทธาเลือมใสอยากจะเป็นเจ้าภาพถวายพระพุทธรูปแบบไทย ้ ่ ไว้ภายในองค์พระประธานใหญ่นั้น จึงได้แจ้งความจำานงแก่เจ้าอาวาส มารู้จักศรีลังกากันก่อน จะนำาพระพุทธรูปมาถวาย เพื่อจัดแสดงเป็นห้องพิพิธภัณฑ์ การเดินทางมาครั้งนี้ได้นิมนต์พระเดชพระคุณ พระเทพกิตติ ก่ อ นอื่ น ก็ ข อเล่ า ประวั ติ ก ล่ า วนามตามตำานานสิ ง หลก่ อ นว่ า โสภณ ประธานสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา วัดวชิรธรรมปทีป นคร “ศรีลังกา” หรือ Ceylon ในภาษาอังกฤษนั้นมีความเป็นมาอย่างไร นิวยอร์ก เป็นประธาน และมีพระสงฆ์อีก ๗ รูป มีฆราวาส ๒๗ คน มา หลายท่านตั้งคำาว่าถามว่า “ไปดูอะไรที่ศรีลังกาเมืองยักษ์ทศกัณฐ์ใน จากรัฐต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกา และจากประเทศไทย เรื่องรามเกียรติ์นั้นหรือ โอ้ ! ก็น่าสนใจดีนะถ้ามีอะไรน่าชมเหมือนใน ตำานาน” ก็นแสดงว่าโยมท่านนันติดตามเรืองราวในวรรณคดี อย่างน้อย ี่ ้ ่ ก็ยงรูวาศรีลงกาอยูในเรืองรามเกียรติ์ วรรณคดียอดฮิตของไทยทีเรารับ ั ้่ ั ่ ่ ่ มาจากอินเดีย และศรีลงกาเองก็รบเอาวัฒนธรรมของอินเดียอีกต่อหนึง ั ั ่ เพราะเจ้าชายวิชย ผูเป็นบรรพบุรษของชาวสิงหล ก็มาจากอินเดียตอน ั ้ ุ ใต้ (ประวัติในตอนนี้เอาไว้เล่าให้พิศดารตอนต่อไป) ตอนนี้ขอเล่าเรื่อง ชื่อศรีลังกาก่อน ถ้าว่าตามประวัติศาสตร์ ประเทศต่าง ๆ ในโลก ประเทศศรีลังกาก็มีอายุเก่าแก่ประเทศหนึ่ง เหมือนกัน ชือของประเทศก็มการเรียกขานกันตามยุคต่าง ๆ กัน อย่าง ่ ี ผู้ที่เคยเรียนภาษาบาลีมาสายวัดหรือ บรรดามหาเปรียญทั้งหลายก็จะ รู้จักในนาม ตัมพปัณณิทวีป บ้าง ลังกาทวีป บ้าง หรือ สิงหลทวีป บ้าง ซึ่งมีปรากฏในคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาภาคภาษาบาลี
  • 6. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ศรีลังกาในหลากหลายแง่มุมมอง 10 11 มีผู้ให้คำานิยาม ประเทศศรีลังกา ไว้หลายความหมายทั้งในแง่ ของนักเดินทางท่องเที่ยว นักประวัติศาสตร์ นักการศาสนา และนักกวี นิพนธ์ ซึ่งได้มาพบเห็นเกิดความประทับใจในแง่มุมที่ตนเองชอบ บ้าง ก็ว่า ศรีลังกา คือ “เกาะสวรรค์บนพื้นพิภพ” เพราะมีความสวยงามใน ลักษณะของภูมประเทศ และภูมอากาศ ตลอดถึงผูคนทีนารักเพราะถูก ิ ิ ้ ่ ่ กล่อมเกลาด้วยธรรมะคำาสอนในทางพระพุทธศาสนาตลอดระยะเวลาที่ ยาวนาน ส่วนชาวยุโรป และชาวเอเชียด้วยกันที่เรียนภาษาอังกฤษ หรือ บ้างก็วา “ศรีลงกา คือ ไข่มกแห่งคาบสมุทรอินเดีย” เป็นดินแดน ่ ั ุ อ่านตำาราของฝรั่ง(เศส) ฝรั่ง(อังกฤษ) ก็จะรู้จักในนาม SEALAND หรือ แห่งหาดทรายสวย สายลมเย็น แสงแดดจ้าที่นักท่องเที่ยวแถบยุโรป ชาวทะเล “ชาวเล” เหมือนที่เรียกชาวภาคใต้ของไทยเราซึ่งก็ถูกทีเดียว อเมริกาหนีหนาวมาพักผ่อนอาบแสงอาทิตย์ สูดอากาศที่บริสุทธิ์ และ เพราะประเทศนี้เป็นเกาะล้อมรอบไปด้วยทะเล มหาสมุทร ซึ่งคำาว่า รับบริการแห่งความมีน้ำาใจของเจ้าของประเทศจนมีชื่อเสียงไปทั่วโลก ซีแลนด์นี้ เรียกกันไปเรียกกันมาก็เพี้ยนมาเป็น ซีลอน (Ceylon) บ้างก็ว่า “ศรีลังกา คือ เมืองแห่งห้องเก็บมหาเจดีย์ที่มีเอกสาร ในคัมภีร์ทางประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า คัมภีร์ เป็นรูปแบบ เป็นพิพิธภัณฑ์ทางพระพุทธศาสนาที่คงหลักฐานปรากฏ ศาสนวงศ์ มีประวัติตามคัมภีร์ว่าในสมัยพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ อยู่ทั่วประเทศ (พิพิธภัณฑ์กลางแจ้งที่ใหญ่ที่สุดในโลก) หรือ จะเรียก ชือของลังกานีกไม่เหมือนกันอีก เช่นในสมัยพระพุทธเจ้ากกุสนโธ มีชอ ่ ้็ ั ื่ ว่าเป็นตู้คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลกก็ว่าได้ ว่า “โอชทวีป” ในสมัย พระโกนาคมนะ มีชื่อว่า “วรทวีป” และในสมัย และ ศรีลังกา เป็นเมืองแห่งรอยยิ้ม และความมีน้ำาใจของชาว พระกัสสปะพุทธเจ้า มีชื่อว่า “มัณฑทีปะ” เป็นต้น แต่ชาวกรีก กับพวก เกาะ เป็นแดนสุขาวดี บนพืนโลกทีประพรมไปด้วยสีเขียวสดแห่งต้นไม้ ้ ่ โรมัน เรียกเกาะลังกานีวา “แท็ปโพเบรน” (Taprobane) ซึงเพียนมาจาก ้่ ่ ้ และพืชพันธุ์ธัญญาหาร พร้อมทั้งกลิ่นหอมจรุงใจของเครื่องเทศ และ ตัมพปัณณิ แปลว่า “เกาะแห่งคนฝ่ามือแดง” (ฝ่ามือแดงอย่างไรเอาไว้ แพรวพราวด้วยอัญมณีที่มีค่า จนมีเมืองชื่อว่า รัตนปุระ และมีนักกวี คุยกันในบทต่อไป) นิพนธ์ได้กล่าวถึงพื้นที่ของประเทศศรีลังกาเปรียบเหมือน หยดน้ำาตา ชื่อ ซีลอน ที่เรารู้จักอย่างเป็นทางการนี่ก็เรียกขานกันมาจน ของสาวน้อย (ซึ่งเปรียบเปรยประเทศอินเดียเป็นใบหน้าของหญิงสาว) กระทั่งสิ้นสงครามโลกครั้งที่ ๒ พอได้รับเอกราชก็ประกาศชื่อประเทศ ซึ่งพื้นที่เกาะ หลุดออกไปจากผืนแผ่นดินใหญ่อนุทวีป คืออินเดียใน ใหม่ ว่า “ศรีลังกา” ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๕ แต่เราก็เรียกว่า ลังกา มา ปัจจุบัน ซึ่งก็ไม่เกินความจริงที่จะเรียกชื่ออย่างนั้น เพราะสวรรค์แห่ง ตลอดตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยแล้ว ที่เรารู้จักประเทศนี้ เพราะเรารับเอา ใหม่ของผู้ที่มีหัวใจรักธรรมชาติอยู่ที่นี่ และให้เกาะสวรรค์แห่งนี้เป็นสื่อ พระพุทธศาสนาลัทธิ “ลังกาวงศ์” จากประเทศศรีลังกานี้เอง แห่งความสวยงามตามธรรมชาติกับมนุษยโลกในพื้นพิภพนี้
  • 7. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ในอดีตแม้จะมีผกล่าวถึงชาวพืนเมืองของลังกาว่าเป็นพวก ยักษ์ ู้ ้ 12 13 พวกนาค และรากษส เป็นคนป่าคนเถื่อน ไม่มีวัฒนธรรม แถมยังกิน เนื้อสด ๆ เป็นอาหาร มีบันทึกโบราณกล่าวถึงพวกคนป่าที่ชาวยุโรป เดินเรือมาถึงและได้พบเห็นวิถีชีวิตเขาเล่าว่า มีเรือสินค้าไปอับปาง ณ เกาะลังกาถูกพวกรากษสจับไปกินเป็นอาหารบ้างก็มี แต่สภาพแห่งความเป็นจริงแล้ว ศรีลังกา ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด และไม่ทำาให้ท่านที่เดินทางมาเยือนผิดหวัง มีแต่ความประทับใจ ตรึง ใจกลับไปทุกราย เมื่อกลับไปแล้วก็ถวิลหาอยากกลับมาอีก อย่างที่ไม่ อย่างเป็นทางการ พร้อมด้วยแจ้งกำาหนดการ และสถานที่ที่จะเดินทาง สามารถจะหาที่ไหนประทับใจเท่านี้อีกเลย ไปในวันนีพร้อมแล้ว รถบัสเคลือนออกจากสถานทีพก (Dolphin Resort) ้ ่ ่ ั ได้อาราธนาพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระเทพกิตติโสภณ นำาทำาวัตร เลียบฝั่งนิคอมโบ เช้านมัสการพระรัตนตรัย เป็นปฐมกฤษ์ ทุกคนได้นำาหนังสือสวดมนต์ วันนี้ตื่นนอนแต่เช้ารับอรุณวันใหม่ที่ริมฝั่งมหาสมุทรอินเดีย ขึ้นมาสวดกันอย่างพร้อมเพรียง ในการเดินทางจาริกบุญครั้งนี้ได้แจก ฝั่งตะวันตกมองลอดผ่านต้นมะพร้าวที่มีลำาต้นสูงชะลูดขึ้นอย่างเป็น หนังสือทำาวัตรสวดมนต์ตั้งแต่ก่อนจะขึ้นเครื่องที่สุวรรณภูมิแล้ว ซึ่งจะ ระเบียบริมฝั่งทะเลเหมือนภาพเขียนวิวที่จิตรกรบรรจงลงสีสรรบนผืน ต้องใช้ตลอดการเดินทางจาริกแสวงบุญในครั้งนี้ ทำาวัตรเสร็จหลวงพ่อ ผ้าใบ แต่นี่มันเป็นภาพจริง ๆ มองเห็นคลื่นสีขาวซัดสาดเข้าหาฝั่งด้วย ได้กล่าวให้โอวาทและปรารภทีได้เดินทางมาในครังนี้ จบแล้วข้าพเจ้าได้ ่ ้ แสงแดดอ่อนๆ ในตอนเช้าและมีลมทะเลพัดโชยมานำาเอากลิ่นหอม ทำาหน้าที่เป็นมัคคุเทศก์อธิบายสถานที่ต่าง ๆ และชี้ชวนชมบ้านเมือง ของดอกลีลาวดีสขาวทีกำาลังผลิดอกบานสะพรังเต็มต้น ทำาให้นกถึงวัด ี ่ ่ ึ ของศรีลังกา โดยเฉพาะเขตชานเมืองโคลัมโบนี้ เรียกว่า “นิคอมโบ” ที่บ้านเกิดในเมืองไทยสมัยเป็นเด็กเคยขึ้นไปปีนเล่น ด้วยบรรยากาศที่ เมือท่องเทียวกึงแสวงบุญกันแบบนี้ ตามทางแห่งประวัตศาสตร์ ่ ่ ่ ิ คล้ายคลึงกับประเทศไทยทั้งที่พักอาศัย และนิสัยผู้คน มีทั้งวัด บ้านเวียงวัง ภูเขา ลำาเนาไพร จนอยู่ในขั้นสมบูรณ์ เราใช้สูตร ทุกคนตื่นนอนกันแต่เช้าตรู่ถึงแม้ว่าเมื่อคืนจะนอนดึกกันแต่ ให้รถวิ่งเป็นวงจรรอบเกาะ ขณะนี้หากเราจะมองดูตามแผนที่เป็นการ เพราะความตืนเต้นกับสถานทีเลยนอนไม่หลับกันกระมัง ออกจากทีพก ่ ่ ่ ั ประกอบ จะเห็นว่ารถกำาลังนำาเราไปสูจดเริมต้น ของการลงสูเกาะลังกา ุ่ ่ ่ เดินไปตามทางเดินที่ปูด้วยแผ่นอิฐขนาดใหญ่ตัดกับพื้นหญ้าสีเขียว แดนสวรรค์บนพื้นพิภพ เหมือนพรมเนือดีทปลาดไว้เต็มพืนดิน เมือเดินมาถึงห้องอาหารปรากฏ ้ ี่ ู ้ ่ นิคอมโบ เป็นเมืองตากอากาศชายทะเล เขาจัดบริเวณที่มี ว่าลูกทัวร์ตกอาหารมานังรับประทานกันพร้อมหน้าแล้ว บางท่านก็เสร็จ ั ่ ชายหาดสวย ๆ ไว้สำาหรับนักท่องเที่ยวชาวยุโยป อเมริกัน หนีหิมะ แล้วออกไปเดินถ่ายภาพเก็บไว้เป็นที่ระลึกเพื่อรอคณะเตรียมจะขึ้นรถ มาชิมรสไอดิน กลิ่นแดดกันที่นี่ ทั่วเมืองมีที่พักโรงแรมทันสมัยอยู่ เมื่ อ ทุ ก คนขึ้ น บนรถพร้ อ มแล้ ว โชเฟอร์ ห นวดงามสตาร์ ท หลายแห่ง รวมทังร้านรวงค้าขายจำาหน่ายสินค้าพืนเมือง ประเภทภาพ ้ ้ เครื่องยนต์เปิดแอร์เย็นฉ่ำา พร้อมส่งไมค์มาให้ข้าพเจ้าได้ทักทายคณะ ชายทะเล ผ้าบาติค ซึ่งที่นี่เขาทำาเอง ได้ออกแบบลวดลายเก๋ ๆ ไม่แพ้
  • 8. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ที่อื่น สีสวยสด มีเสน่ห์ลึก ๆ ชวนซื้อหา ในขณะเดินทางแทบจะไม่เห็นเลยก็ว่าได้ 14 15 รถนำาเลียบฝังมหาสมุทร ฝังตะวันตกของเกาะสวรรค์ ได้ชชวนชม ่ ่ ี้ ผ่านชุมนุม ย่านการค้าของชาวเล ดูเหมือนจะเป็นตลาดส่งปลา บ้านเรือน ตามริมถนนมีอะไร ที่ควรรู้ ควรทราบ พร้อมกับชักชวนให้ ทะเล ที่มีชุมชนกันมากผู้คนที่ขวักไขว่คงจะมาจับจ่ายซื้อหาปลาสดกัน เราทุกคนมองไปทางฟากฝัง ทีคลืนทะเลม้วนตัวเข้าหาหาดทรายทีขาว ่ ่ ่ ่ ที่นี่ ซึ่งทำาเลตั้งอยู่ไม่ห่าง มีเรือประมงจอดอยู่เรียงรายเป็นจำานวนมาก สะอาด ท่ามกลางแสงแดดระยับ ยามสาย ๆ ช่างงามเสียนี่กระไร บางลำาก็ทอดสมอห่างฝั่งออกไปบ้าง เรากำาลังเข้าสู่เมืองนิคอมโบ ในอดีตครั้งเมื่อยุโรปเรืองอำานาจ ถนนตัดผ่านหมู่บ้านเล็ก ๆ ประดับประดากัน แปลกหูแปลกตา เคยเป็นเมืองท่าที่สำาคัญแห่งหนึ่งในเกาะลังกา ตั้งอยู่ทางเหนือของ ห้อยทางมะพร้าวระโยงระยางเต็มไปหมด บ้านชายหาดเลียบชายฝั่ง โคลัมโบ ประมาณ ๔๗ กม. จากข้อเขียนของนายวาเลนทิน ชาวดัชท์ แถบนี้มีทิวมะพร้าวร่มรื่น ปกใบครึ้มงามดี หาดทราย โขดหิน ทิวทัศน์ กล่าวไว้ว่า “อบเชยที่นี่ นับว่าดีที่สุดในโลก” แต่ปัจจุบันต้นอบเชยนับ อิมตา งามตามธรรมชาติ บางแห่งเป็นแหลมโค้งยืนออกไปในคาบสมุทร ่ ่ ว่าจะหาดูไม่ค่อยได้ คงมีแต่ดงมะพร้าว ขึ้นรายเรียงเป็นทิวแถวซึ่งเป็น มองเห็นทิวมะพร้าวหนาลิบ ๆ ใบลู่ไปมาเมื่อยามต้องสายลม ตัดกับ สัญลักษณ์ประจำาเกาะลังกานี้ก็ว่าได้ ฟองคลื่นเป็นประกายระยิบระยับ เหมือนกับดูภาพยนตร์สารคดีชุด ใกล้ตัวเมืองเข้าไป จะมีโรงงานอุตสาหกรรม ให้เห็นประปราย การท่องเที่ยว อะไรอย่างนั้น เรียกว่ากำาลังเพลิดเพลิน เจริญใจ ความ รถพาลัดเลาะไปตามคลองส่งน้าจืดขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นผลงานของชาว ำ รู้สึกเหมือนถูกเบลคอย่างแรง เมื่อผ่านที่ฝังศพมีสัญลักษณ์เป็นป่าไม้ ดัชท์ ครั้งเมื่อมีอำานาจปกครองอยู่ที่นิคอมโบ เมื่อปี พ.ศ.๒๑๘๗ (ค.ศ. กางเขนเต็มไปหมด ๑๖๔๔) บางแห่งยังมีป้อมปราการปรากฏให้เห็นเป็นอนุสรณ์ ถึงตรงนี้จะต้องปรับความรู้สึกกันอย่างมาก เหมือนกับดูการ ในขณะที่รถแล่น สลับกับเสียงแตรเป็นจังหวะ ๆ แต่ไม่ถึงกับ ประกวด นางงามจักรวาล แล้วเปลี่ยนช่องมาชมขบวนเคลื่อนศพเข้าสู่ หนวกหูเหมือนการเดินทางในประเทศอินเดียทีผเขียนคุนเคย เพราะได้ ่ ู้ ้ เมรุ ต้องจัดอารมณ์เข้าที่กันก่อน ถ้าจะพูดว่าทำาให้เสียบรรยากาศของ นำาคณะจาริกไปพึ่งกลับมาได้ ๒ วัน ก็มาศรีลังกานี้ ขณะที่ล้อรถหมุน ชายทะเล ก็คงใกล้ความจริงสำาหรับผู้รักธรรมชาติทั้งหลาย ไปบนทางทีเรียวเล็กเหมือนถนนมิตรภาพทีขนไปทางภาคอีสานสมัยที่ ่ ่ ึ้ ความประทับใจของการเดินทางรอบเกาะมรกตลังกาทวีปทุกวัน เริมพัฒนากันใหม่ ๆ แต่มปายสีแสดงอักษรตัวเขือง ๆ ว่าเป็นทางหลวง ่ ี ้ ่ ตามรายการ ได้เก็บหอมรอมริบเมล็ดพันธุ์แห่งความสุขเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่เชื่อมต่อระหว่างเมืองสำาคัญ และเป็นถนนสายเศรษฐกิจอีกต่างหาก จากภูเขา พื้นน้ำา เจดีย์ ปฏิมากรรม แมกไม้ เครื่องเทศเหล่านี้ซึมซับ ถ้าเราหยิบความรู้สึกในเชิงเปรียบเทียบกับชนบทในเมืองไทย คำาตอบ แนบแน่นอย่างสนิทสนมกับธรรมชาติยงขึน ก็เมือได้สมผัสอย่างใกล้ชด ิ่ ้ ่ ั ิ ก็คือถนนหลายสายในบ้านไร่ปลายดอยดีกว่าที่ศรีลังกาเยอะ ความไร้เดียงสาของสายลม แสงแดด ภูเขา ความเขียวขจี ยังคงรักษา นั่นเป็นการเปรียบเทียบในสถานะที่ต่างกันทั้งเศรษฐกิจ และ ความบริสุทธิ์ไว้อย่างสง่างาม จำานวนประชากร แต่ถ้าเราจะมองให้เป็นธรรมกับประเทศเล็ก ๆ ที่น่า “ธรรมชาติทดารงอยูอย่างประณีตและบรรจง ปราศจากการแต่ง ี่ ำ ่ เอ็นดูเช่นนี้ ถนนในศรีลังกานั้นนับว่าเหมาะสมดีแล้ว ตามสภาพเกาะ แต้ม ปรุงสีสนจนทำาให้รสชาติแห่งชีวตดังเดิมเปลียนทิศทางไปอย่างน่า ั ิ ้ ่ ที่รถต้องวิ่งอยู่ในขอบเขตจำากัด การที่รถจะเบียดเสียดกันบนท้องถนน เสียดาย”
  • 9. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี พอรถวิงออกนอกตัวเมืองประมาณชัวโมงกว่า ๆ ก็มเสียงกระซิบ ่ ่ ี 16 17 มาจากด้านหลังบอกว่าอยากจะไปเยี่ยมห้องน้ำาชาวศรีลังกาบ้าง บาง ท่านที่เคยไปอินเดียก็อยากจะเปรียบเทียบดูว่าจะต่างกันหรือเหมือน กันประการใด โชเฟอร์เราก็แสนจะใจดีพอส่งสัญญาณปับก็รู้ทันทีรีบ มองหาที่พักริมทาง ซึ่งไม่เหมือนเรสท์แอเรีย Rest Area ในอเมริกา หรอกนะ รถเลียวเข้าไปจอดหน้าบ้านเก่าทรงยุโรปคงจะเป็นมรดกสมัย ้ อังกฤษปกครองทิงไว้เป็นอนุสรณ์ในยุคนีกปรับสภาพเป็นร้านอาหาร มี ้ ้็ ห้องน้ำาไว้บริการและมีที่นั่งดื่มน้ำาชาด้วย พวกคณะเราลงไปต้องเข้าคิว เพราะมีหองน้ำาจำานวนจำากัด และหลังจากนันก็มานังจิบน้าชา ซีลอนที ้ ้ ่ ำ (Ceylon Tea) ซึ่งเป็นชาลังกาถ้วยแรกที่ได้เติมเต็มให้การเดินทางครั้งนี้ ครบสมบูรณ์ ตามตำานานที่ขานไข พอขึ้นรถอีกครั้งสมาชิกบอกว่าอยากฟังเรื่องตำานานสิงหลบ้าง ว่าเป็นมาอย่างไร ก็เลยต้องอ้างคัมภีรมหาวงศ์ จุลวงศ์ของลังกาอีกครัง ์ ้ หนึ่ง ต้องนำามาเล่าให้ฟัง ชาวสิงหลนั้นสืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าวิชัย ผู้เป็นโอรสของพระเจ้าสีหนุ ครองเมืองสิงหบุรี กษัตริย์แห่งอาณาจักร เบงกอล มีพระราชินีซึ่งเป็นเจ้าหญิงมาจากแคว้นกาลิงคะ พระนามว่า ยามาวดี มีธิดาองค์เดียวนามว่า สุปปาเทวี ต่อมาโหรประจำาราชสำานักทำานายว่า บุตรีจะมีชวตไม่งดงาม ตาม ีิ แบบขัตติยะประเพณี พระราชบิดาจึงทรงปกป้องดูแลบุตรีอย่างดี เพื่อ มิให้เป็นอย่างทีโหรทำานายไว้ วันหนึง พระราชาเกิดทำาให้เจ้าหญิงขัดใจ ่ ่ จึงเสด็จหนีออกจากพระราชวังไปและขอเดินทางไปกับพวกพ่อค้า ซึ่ง กำาลังออกเดินทางไปแคว้นมคธ ในระหว่างการเดินทางถึงแคว้นสาละ เผอิญมีสงโตขนาดใหญ่ตว ิ ั หนึ่งมาทำาร้ายคนในกองเกวียนพ่อค้าล้มตายหมด เหลือเพียงเจ้าหญิง
  • 10. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี เท่านัน สิงโตจึงพาเจ้าหญิงไปสมสูอยูในถ้า จนเกิดบุตรชาย-หญิงคูหนึง ้ ่ ่ ำ ่ ่ ตามคัมภีร์มหาวงศ์ยังได้กล่าวต่อไปอีกว่า เมื่อพระเจ้าตา 18 19 พี่ชื่อว่า “สีหะพาหุ ส่วนน้องชื่อว่า “สีหะสีวลี” สวรรคตแล้ว สีหะพาหุมีสิทธิ์ที่จะขึ้นครองราชย์แทน แต่ไม่ต้องการ จึง ขณะที่พี่คนโตอายุ ๑๒ ขวบ วันหนึ่งพ่อสิงโตไม่อยู่ จึงแบกแม่ ได้มอบราชสมบัตให้พระมารดาและบิดาเลียงครองเมือง ส่วนตนเองกับ ิ ้ และน้องคนเล็กกลับไปอยูวงกับพระเจ้าตา ฝ่ายสิงโตกลับมาไม่พบหน้า ่ั น้องสาว สีหะสีวลี ได้พากันไปตั้งเมืองใหม่ ชื่อว่า “เมืองสิงหบุรี” แล้ว ลูกเมีย จึงออกติดตามอาละวาดกัดกินผู้คน เมื่อราษฎรเดือดร้อน จึง แต่งงานกันมีโอรสนามว่า “เจ้าชายวิชัย” กับ “เจ้าชายสุมิตร” พากันเข้าร้องทุกข์ต่อพระราชา โดยนิสัยแล้วเจ้าชายวิชัยไม่ค่อยจะเรียบร้อยนัก มักจะสร้าง พระราชาแห่งแคว้นกาลิงคะ จึงประกาศให้รางวัลอย่างงามแก่ผู้ ความเดือดร้อนแก่ประชาชนอยู่เนือง ๆ พระเจ้าสีหะพาหุเห็นทีจะ ทีจะปราบสิงโตตัวนัน แต่ไม่มใครกล้า นอกจากสีหะพาหุทเข้ารับอาสา ่ ้ ี ี่ เลี้ยงไม่ไหว จึงจับโกนหัวครึ่งซีกแล้วนำาลงเรือเนรเทศออกทะเลไป จน แม้ว่าฝ่ายมารดาจะทัดทานอย่างไรก็ไม่ฟัง คว้าธนูได้ก็มุ่งหน้าไปสู่ป่า กระทั่งเรือล่องมาถึงเกาะลังกา สาละทันที ตามตำานานกล่าวว่า วันที่พระเจ้าวิชัยกำาลังขึ้นฝั่งนั้น พระพุทธ ฝ่ายพ่อสิงโตมองเห็นลูกเดินมาแต่ไกลก็ดใจรีบวิงเข้าไปหา พอได้ ี ่ ระยะลูกชายก็ยิงธนูออกไปเสียบอกล้มลงขาดใจตาย พร้อมตัดหัว นำากลับไปเพื่อเป็นอนุสรณ์เผ่าพันธุ์ของสิงห์ เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่ง บรรพบุรุษในธงชาติศรีลังกาจึงมีรูปสิงห์ปรากฏอยู่
  • 11. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี องค์กำาลังจะดับขันธปรินิพพานพอดี ได้ตรัสแก่เทวดาและมนุษย์ที่มา 20 21 เฝ้าว่า “ดูกรท้าวสักกะ ! ธรรมะของเราจักได้ประดิษฐานในเกาะลังกา และวันนี้เจ้าชายองค์ใหญ่ของพระเจ้าสีหะพาหุ จะขึ้นฝั่งพร้อมด้วย บริวาร ๗๐๐ คน จะครองราชย์ที่เกาะนี้ ขอจงปกป้องคุ้มครองเจ้าชาย ด้วยเถิด” เจ้าชายและบริวารอยู่ในทะเลมานาน พอได้ขึ้นฝั่งต่างก็ดีใจ นั่งคุกเข่าก้มหน้าลงจูบแผ่นดิน แล้วชูมือขึ้นบูชาเทพกันใหญ่ และ มองที่ฝ่ามือของตนเองเป็นสีแดง จึงได้ตั้งชื่อเกาะนี้ตามมงคลนามว่า “ตัมพปัณณิทวีป” แปลว่า ดินแดนแห่งคนฝ่ามือแดง และถ้าจะนับหน้า ประวัติศาสตร์ของศรีลังกา ก็เริ่มเมื่อ พ.ศ. ๑ นั้นเอง การเดินทางครั้งนี้ได้บันทึกสิ่งที่พบเห็นตามที่ต่าง ๆ ไว้ตลอด ตำานานต่าง ๆ ในคัมภีร์มหาวงศ์ และจุลวงศ์ โดยจะขอใช้เม็ดทราย ผสมหยดมรกต เรียงร้อยเป็นตัวอักษรพรรณาความสวยงามตามที่ได้ พบเห็น เพือฝากสมาชิกเพือนร่วมเดินทาง พอทีจะมีเนือหาสาระ เป็น ่ ่ ่ ้ ประโยชน์แก่ผู้อ่าน เมื่อกลับบ้านแล้วจะได้ใช้ทบทวนการเดินทาง หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า สารั ต ถะของการบั น ทึ ก ครั้ ง นี้ คงเกิ ด ประโยชน์และมุมบันเทิงกับท่านผู้สนใจ ในความเป็นศรีลังกา ดินแดน แห่งพระพุทธศาสนา ดินแดนแห่งชนฝ่ามือแดง เท่าที่รู้เห็น ความ ประทับใจแห่งหยาดมรกตแห่งเอเชียนี้คงจะทำาให้ลืมศรีลังกาไม่ลงไป นานเท่านาน...อายุบวร ๒ ปฐมนครแห่งสิงหล
  • 12. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ๑. อนุราธปุระ 22 23 เมื่อคณะลูกทัวร์พร้อมกันบนรถเสร็จเรียบร้อย จากการแวะทำา ภาระกิจส่วนตัวซึ่งจะเรียกว่าแวะเข้า Rest Area นอกเมืองโคลัมโบก็ ว่าได้ ผู้ดูแลลูกทัวร์ คือคุณ Sharm ได้นับจำานวนพร้อมแล้วก็ออกเดิน ทางต่อกะว่าจะต้องให้ไปทันฉันเพลที่ Palm Garden Resort ซึ่งจะเป็น ที่พำานักพักกายในคืนนี้ด้วย ห่างจากโคลัมโบ เมืองหลวงปัจจุบนของศรีลงกา ๒๐๗ กิโลเมตร ั ั ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ก็จะถึงเมืองอนุราธปุระ นครหลวงแห่ง แรกที่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สมบูรณ์ และเป็นเมืองที่พระพุทธ ศาสนาเข้าไปตั้งมั่น สืบต่อจากอินเดียที่กำาลังเสื่อมลง และหมดไปใน ที่สุด ขอย้อนเรื่องเบื้องหลังการตั้งเมืองนี้พอเป็นสังเขป เมื่อครั้ง พระพุทธเจ้าเสด็จเกาะลังกาครั้งที่สามนั้น ตามคัมภีร์มหาวงศ์อ้างว่า พระองค์เสด็จพร้อมด้วยพระสงฆ์สาวกทั้ง ๕๐๐ องค์ ทุกแห่งที่เสด็จ ไป ภายหลังได้มีผู้สร้างเจดีย์ไว้เคารพบูชาแทนพระพุทธองค์ในที่นั้น ๆ จนกระทั่ง เมื่อปี พ.ศ. ๑ เจ้าชายวิชัยเสด็จขึ้นฝั่งเกาะลังกา และปราบ ชาวพื้นเมืองครองราชย์ที่เมืองตัมพปัณณิ ต่อมาโปรดให้อำามาตย์แยก ย้ายไปสร้างเมืองอยู่กันต่างหากปุโรหิตคนหนึ่งชื่อว่า อุปติสสะ สร้าง อุปติสสคาม และ อำามาตย์ชอ อนุราธคาม ได้สร้างเมืองให้เจริญรุงเรือง ื่ ่ ขึนตามลำาดับ โดยมีระบบเทศบาล การโยธา พร้อมสาธารณูปการ และ ้ ยกขึ้นเป็นเมืองหลวงนามว่า อนุราธปุรธานี เมื่อปี พ.ศ. ๑๐๕ ก่อน ค.ศ. ๔๓๘ ปี มหานครอนุราธปุระ ที่เคยเป็นเมืองหลวง มีประวัติศาสตร์และ โบราณคดีที่น่ารู้ ปัจจุบันนี้ได้กลายเป็นเมืองร้าง มีเนื้อที่กว้างใหญ่ มีซากปราสาท ราชวัง พระวิหารองค์พระเจดีย์ อายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี มากมาย เพราะความทีเคยเป็นเมืองหลวงอยูนานเกือบพันปี มีกษัตริย์ ่ ่
  • 13. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี ปกครองติดต่อกันถึง ๑,๐๐๐ กว่าองค์ ข้าพเจ้าได้เดินทางมาเยี่ยมชม 24 25 โบราณสถานครังแรกเมือปี พ.ศ. ๒๕๔๓ มีความประทับใจมาก ทีได้เห็น ้ ่ ่ สถานที่สำาคัญในทางพระพุทธศาสนาที่พระมหากษัตริย์และประชาชน ผู้มีศรัทธาได้สรรค์สร้างเอาไว้ยิ่งใหญ่นับได้ว่าในขอบขัณฑสีมาเมือง อนุราธปุระนี้ เป็นพิพิธภัณฑ์มหาเจดีย์ของโลก เพราะมีพระเจดีย์องค์ ใหญ่ๆ มากมาย ซึ่งหาดูไม่ได้เลยในนานาอารยะประเทศ เมื่อรถวิ่งเข้าสู่เขตเมืองหลวงเก่า สิ่งที่ให้ผู้ที่พบเห็นประทับใจ และลืมไม่ลงคือ ป่าไม้และทะเลสาบ ซึงบ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ที่ ่ เอื้ออำานวยกันทำาให้เกาะลังกาเป็นสีเขียว และมีฝนตกชุกตลอดปี และ เป็นเรื่องธรรมดามากที่แดดจ้าอยู่ดี ๆ ก็มีฝนตกลงมา ชาวพื้นเมืองจะ ไม่กระตือรือร้นกับการหนีฝนหรือหาทีหลบด้วยกลัวเปียก ต่างก็กางร่ม ่ เดินกันเฉยเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทีเป็นเช่นนีกเพราะศรีลงกาอยูในเขตอิทธิพลของมรสุม มีฝนตก ่ ้็ ั ่ หมู่บ้านเหมือนในชนบทบ้านเราตลอดเส้นทางจะสังเกตเห็นว่า ผ่าน บ่อยๆ เป็นที่รู้กันว่าเมื่อจะออกจากบ้าน สิ่งที่ควรนำาติดตัว นอกจาก คลองส่งน้ำาขนาดเล็กและขนาดยักษ์มาก ได้ชี้ชวนชมแก่สมาชิกที่อยู่ กระเป๋าสตางค์ค่ารถเมล์แล้ว ร่มก็เป็นบริขารสำาคัญที่ขาดไม่ได้ ยิ่งใน ในรถ และได้เตือนสติผู้ที่ชอบเข้าฌานสมาธิ ถ้าไม่จำาเป็นก็อย่าพึ่งพับ เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พดเอาน้ำาฝน ั คอติดพนักเก้าอีเสียก่อน เพราะสองข้างทางทิวทัศน์สวยงามเหลือเกิน ้ มา เดือนที่แห้งแทบไม่มีเลย ตลอดถึงความเป็นอยูชาวชนบทของศรีลงกาน่าศึกษาอยูไม่นอย เดียว ่ ั ่ ้ ๋ ลมมรสุมพัดมาหลายทิศทาง จึงเป็นผลให้ประเทศนี้เขียวชะอุ่ม จะขาดทุนเพราะมัวแต่นอนหลับ ทังปี การทำานา จึงไม่มฤดูแน่นอน ทีใดมีนาเพียงพอก็ลงมือทำานากันได้ ้ ี ่ ้ำ ดังที่กล่าวแล้วว่า ศรีลังกาอยู่ในเขตมรสุมมีฝนตกชุก มีแม่น้ำา เท่าที่ผ่านมาอาจแปลกใจ คือ เมืองหนึ่งกำาลังไถนา อีกเมืองหนึ่งกำาลัง หลายสายแต่เป็นสายสั้น ๆ และมีทะเลสาบที่ขุดขึ้นจากน้ำามือของ เกี่ยวข้าว และอีกเมืองหนึ่งข้าวกำาลังแตกกอ เขียวเป็นพืดเต็มท้องนา มนุษย์ ประโยชน์ก็คือใช้ในการเกษตร และการคมนาคมขนส่งทางน้า ำ บางแห่งน้ำาท่าสมบูรณ์ ทำานาได้ ๓ ครั้ง แต่น้ำายังมีเพียงพอแก่ความต้องการของราษฎร ที่ใช้ในการทำานาอยู่ ประเทศนี้ จึ ง อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ ว ยป่ า ไม้ พื ช พั น ธุ์ ธั ญ ญาหาร นั่นเอง สมั ย ก่ อ นเคยส่ ง ข้ า วเป็ น สิ น ค้ า ออก จนได้ ฉ ายาว่ า “ฉางข้ า วแห่ ง ตะวันออกไกล” ปัจจุบันนี้ต้องซื้อข้าวต่างประเทศ ไทยเราก็ส่งข้าวมา ขายที่นี่ด้วยเหมือนกัน ระหว่างที่รถวิ่งผ่านหมู่บ้านเล็กเมืองน้อย ส่วนใหญ่จะเป็น
  • 14. ท่องแดนพระพุทธศาสนา ๒,๓๐๐ ปี ที่ศรีลังกา ดร.พระมหาถนัด อตฺถจารี นับตั้งแต่สมัยโบราณมาแล้ว พระราชาที่ทรงทำานุบ้านเมืองให้ ว่า Vadha Ela แปลว่าคลองขนาดยักษ์ มีระบบท่อส่งไปตามที่ต่าง ๆ 26 27 ราษฎรอยูเย็นเป็นสุข จะมีนโยบายสำาคัญประการหนึง คือโปรดให้สร้าง ่ ่ เมื่อ ๒,๐๐๐ กว่าปีมาแล้วร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองและใช้เทคโนโลยี อ่างเก็บน้ำาไว้ตามสถานที่ต่าง ๆ เพื่อให้ราษฎรอาศัยน้ำาทำานา และ เกี่ยวกับการชลประทานนั้นยังปรากฏให้เห็นอยู่อย่างชัดเจน ทำาการเกษตรต่าง ๆได้ ถ้ามีนาก็คอมีทกสิงทุกอย่าง เหมือนทีจารึกบน ้ำ ื ุ ่ ่ ขอขยายความเพิ่มอีกนิดหน่อย คำาว่า Veva แปลว่าบึง อ่าง หลักศิลาของพระเจ้ารามคำาแหงทีวา “ในน้ามีปลา ในนามีขาว” บ่งบอก ่่ ำ ้ เก็บน้ำา แท้งค์น้ำา หรือจะแปลว่าทะเลสาบก็ตามใจ แต่ว่าเป็นทะเลสาบ ถึงความอุดมสมบูรณ์ชาวประชาหน้าใส มีความสุขกาย สบายใจ จึงได้ น้อยๆ ผู้ชำานาญภาษาบาลีที่มาด้วยกันกระซิบบอกว่า เวว่า น่าจะมา ชื่อว่าเมือง “สุโขทัย” จากบาลีว่า วาปี เช่น ติสสวาปี บึงชื่อว่า ติสสะ ก็ฝากให้ท่านผู้อ่านที่ ตามคติความเชื่อนี้ข้าพเจ้าได้พบอีกประเทศหนึ่ง คือ กัมพูชา สนใจใคร่รู้นำาไปค้นคว้าต่อก็แล้วกัน สมัยอาณาจักรขอมทีพระมหากษัตริยทรงเอาพระทัยใส่เรืองการเกษตร ่ ์ ่ มองผ่านหน้าต่างรถชมเมืองไปเพลิน ๆ รถได้เลี้ยวเข้าสู่สถาน และสังให้ประชาชนขุดอ่างเก็บน้า หรือทะเลสาบ เมือกษัตริยองค์ใดขึน ่ ำ ่ ์ ้ ทีพกในวันนีคอ Palm Garden Resort เป็นสถานทีใหญ่โตสวยงาม เป็น ่ ั ้ ื ่ มาครองราชย์จะต้องแสดงพระบารมีด้วยการขุดบาราย (อ่างเก็บน้ำา) ที่น่าสังเกตว่าการจัดรูปแบบของโรงแรม รวมไปถึงสิ่งแวดล้อม คล้าย และสร้างปราสาทรวมไปถึงค่ายคูกำาแพงเมืองต่างๆ สำานักปฏิบัติธรรมในเมืองไทยมาก รถจอดเทียบที่ตึกด้านหน้าสำาหรับ ส่วนพระราชาของชาวสิงหล ก็แสดงพระบารมีดวยการสร้างพระ ้ Reception พนักงานของโรงแรมออกมาต้อนรับด้วยใบหน้ายิ้มแย้ม เจดีย์ใหญ่ (มหาสถูป) เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและแสดงออกถึง แจ่มใส มีนาเย็น ๆ มาเสิรฟด้วยไมตรีจต ทำาให้การเดินทางหายเหนือย ้ำ ์ ิ ่ พระราชศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา และนำาพาทวยราษฎร์ขดทะเลสาบ ุ ไปเลย มีแต่ความสดชื่นเข้ามาแทน มีโยมที่เป็นห่วงเรื่องฉันภัตตาหาร เพื่อกักเก็บน้ำาไว้ใช้ในการเกษตร และอุปโภค บริโภค ซึ่งมีหลักฐาน เพลของพระคุณเจ้าเข้ามากระซิบข้าพเจ้าให้ประกาศบอกคณะไปทีหอง ่ ้ ปรากฏชัดทั้งสองประเทศ ศรีลังกาเป็นประเทศเล็ก ๆ แต่มีอ่างเก็บน้ำามากมาย ทั้งยัง มี ค ลองส่ ง น้ำ า ไปยั ง ทุ่ ง นาอี ก ด้ ว ย นั บ ว่ า มี ค วามก้ า วหน้ า ทางด้ า น ชลประทานมาก เรื่องนี้น่าสรรเสริญถึงความเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ของผู้นำา ประเทศ โดยเฉพาะในสมัยปกครองด้วยระบอบพระมหากษัตริยทมาก ์ ี่ ด้วยพระอำานาจและพระบารมี พร้อมทีจะส่งมอบความสุขแก่ประชาชน ่ ทุกรูปแบบ น้ำาเป็นปัจจัยสำาคัญ เมื่อสร้างนครอนุราธปุระ ได้สร้างอ่างเก็บ น้ำา KALA VEVA ยาวถึง ๕๔ ไมล์ เนื้อที่กว้างใหญ่ถึง ๖,๐๐๐ เอเคอร์ สร้างเขื่อนยาว ๕.๕ ไมล์ สูง ๕๐ ฟุต ต่อมาสร้างเขื่อนชื่อ Balali Veva มีคลองส่งน้ำาเข้าในเมืองเรียก