SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
1
1. ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการจัดการรับ - ส่ง การจัดเก็บการสืบค้นข้อมูลเอกสาร
ภายในองค์กร รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการจดการงานด้าน
เอกสารให้มีความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้นและช่วยลด
ปัญหาด้านการสื่อสารการจัดเก็บ การสูญหายของเอกสาร การสืบค้น
ข้อมูลเอกสาร และลดการสิ้นเปลืองทรัพยากรกระดาษการนาระบบ
จัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาใช้จะช่วยลดความซับซ้อนขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานในระบบเดิมเปล่ียนมาเป็นรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ท่ีสามารถดาเนินการท่ีเกี่ยวข้องทั้งหมดในรูปแบบของเว็บแอพลิเคชั่น
ทั้งนั้นเพื่อความสะดวกในการเข้าใช้งานระบบ
การบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นการนาเทคโนโลยี
สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงานเพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานมี
ประสิทธิภาพเกิดความคล่องตัว สะดวก รวดเร็วมากขึ้นโดยการนาเอา
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเอกสาร ได้แก่ การจัดทา
การเก็บ รักษา การส่งข้อมูล การติดต่อสื่อสารภายในองค์กร ทั้งนี้ ยัง
เป็นการลดปริมาณการใช้ทรัพยากร กระดาษ ลดพื้นที่และสถานที่ใน
การจัดเก็บ ผู้ใช้งานสามารถสื่อสารผ่านทางจอคอมพิวเตอร์ทา ให้ได้
ข้อมูลที่รวดเร็วทันต่อความต้องการ ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น
ประหยัดค่าใช้จ่ายของ องค์กรในระยะยาว ลดเวลาและขั้นตอนในการ
ปฏิบัติงานส่งผลให้การปฏิบัติงานเกิด ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระบบ
จัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์สามารถที่จะรองรับเอกสารใน ปริมาณมาก
โดยจะช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการปฏิบัติงานซึ่งระบบถูกออกแบบมา
ให้ใกล้เคียง กับการจัดการเอกสารแบบเดิม ผู้ใช้งานจึงสามารถเรียนรู้
และทาความเข้าใจได้ง่าย การจัดเก็บ เอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
(เอกสารที่เกิดจากการสแกนและไฟล์ข้อมูลทุกประเภท) ทาให้การ
จัดการเอกสารเป็นระบบและเป็นระเบียบมากขึ้นเป็นไปตามมาตรฐาน
การจัดการเอกสาร สามารถเรียกใช้หรือสืบค้นข้อมูลที่ต้องการได้อย่าง
ฉับไว ช่วยป้องกัน ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับเอกสารในระหว่างการ
ใช้งาน รวมถึงความสามารถด้านการอนุญาตสิทธิ์ในการจัดการ เอกสาร
เช่น สิทธิ์การสืบค้นข้อมูล การแก้ไข การลบ การส่งข้อมูลไปยังระบบ
อื่นๆ สิทธิ์การอนุมัติเอกสาร เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญด้านความปลอดภัย
2
ในการจัดการเอกสารทาให้ สามารถตรวจสอบได้ว่ามีผู้ใช้งานรายใด
เข้าไปกระทาการใดๆ กับเอกสารที่มีอยู่ในระบบการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศสมัยใหม่มาใช้ในการบริหารจัดการเอกสารเป็นที่นิยมมาก
ขึ้นเน่ีองจากปัจจุบัน การรับส่งข้อมูลข่าวสารส่วนมากอยู่ในรูปแบบของ
ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่ง จะต้องมีวิธีการบริหารจัดการงานด้านเอกสารที่ดี
พอเป็นไปตามระบบและมาตรฐานในการ จัดการเอกสาร ทั้งนี้ระบบ
จะต้องอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานให้สามารถสืบค้นได้รวดเร็ว ใช้
งานง่ายไม่ซับซ้อน โดยการใช้งานผ่านระบบอินทราเน็ตภายในองค์กร
เพื่อบริหารจัดการข้อมูลเอกสาร
ยกตัวอย่าง ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส ์ Electronic Document
Management System
วิธีการและขั้นตอนการสร้าง
แสดงการเชื่อมโยงระบบงานและผู้รับผิดชอบ
3
แสดงโครงสร้างการติดต่อสื่อสารของระบบ EDMS
เน่ีองจากองค์กรมีการติดต่อสื่อสารกับหลายหน่วยงานดังนั้น
เอกสารรับในแต่ละส่วนจึงมีจานวนมาก เพื่อให้เกิดความสะดวกในการ
ปฏิบัติงานของบุคลากรจึงได้มี การพัฒนาระบบให้สามารถเรียกใช้งาน
และทางานผ่านทางเว็บบราวเซอร์โดยอาศัยรูปแบบสถาปัตยกรรมของ
ร ะ บ บ คื อ Two Tiers Architecture (Client-Servers Architecture)
มีส่วนประกอบดังน้ี
- Database Server ทาหน้าที่เก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบการจัดการ
เอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์จัดการข้อมูล เช่น การสร้าง , การจดเก็บ เป็นต้น และทา
หน้าที่นาข้อมูลที่ได้จากการคิวรี่ (Query) ส่งไปแสดงผล
- Client ทาหน้าที่ในส่วนของการแสดงผลลัพธ์การตรวจสอบ
ความถูกตองของข้อมูลก่อนทจะส่งไปประมวลผลการทางานเริ่มจาก
ผู้ใช้ป้อนข้อมูลผ่านหน้าจอที่เครื่อง Client โดยก่อนทเครื่อง Client จะ
นาส่งข้อมูลจะทาการตรวจสอบความถูก ต้องของข้อมูลก่อนแล้วทาการ
ประมวลผลโดยการส่งข้อมูลไปที่เครื่อง Database Server เมื่อ Database
Server ไดรับข้อมูลและคาสั่งแล้วก็จะจดการข้อมูลที่ได้ลงฐานข้อมูล
การเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง Client กบเครื่อง Database Server จะ
เชื่อมต่อกันภายในองค์กรหรือเรียกว่า Local Area Network (LAN) และ
การตรวจสอบการไหลของข้อมูลจะช่วยให้ระบบมีความปลอดภัยมาก
ยิ่งขึ้น
4
แสดงการเข้าใช้งานระบบผ่าน Web Browser
5
1.1 การใช้งานระบบ
1.1.1. หน้าจอหลักในการทางานภาพประกอบหน้าจอ การ
เขาใช้งานระบบเพื่อให้ กรอก username และ password เพื่อ LOGIN
เข้าสู่ระบบ (ตามสิทธิ์การใช้งาน ) ที่ผู้ดูแลระบบกาหนดให้
แสดงหน้าจอการเข้าสู่ระบบ
1.1.2. เมื่อเข้าสู่ระบบจะพบกับตัวเอกสารที่ใช้เก็บเอกสาร
ออนไลน์หรือคลิกท่ีเมนู เอกสารด้านซ้ายเพ้อเข้าสู่เอกสารที่ต้องการ
แสดงหน้าจอระบบเมื่อทาการ Login เข้าสู่ระบบ
6
1.1.3. แสดงรายการเอกสารที่ถูกเก็บไว้ในตู้เอกสารที่เลือก
เมื่อดับบัลคลิ้กจะปรากฎ รายละเอียดเอกสารได้แก่ ข้อความแรกเข้า
จดหมายงานจดการระบบเปลี่ยนรหัสผ่าน งานบริการส่วนกลาง เป็นต้น
แสดงหน้าจอรายการเอกสาร (จดหมาย)
1.1.4. แสดงรายละเอียดเอกสารประกอบด้วยข้อมูลเอกสาร
จากตัวอย่างเป็นข้อมูลในส่วนของจดหมายติดต่อระหว่างหน่วยงาน
ภายในองคกร์ซึ่งประกอบไปด้วย
- จดหมายเข้า : ระบุจานวนจดหมายเข้า
- สถานะของจดหมาย : สถานะส่งกาลังพิจารณา หรือดาเนินการ
เรียบร้อยแล้ว
- รายชื่อผู้รับจดหมาย
แสดงหน้าจอรายการเอกสาร (จดหมาย)
7
จากภาพเมื่อการคลิกเข้าไปดูรายละเอียดของตู้จดหมายจะปรากฎ
หน้าจอแสดง รายการจดหมายเข้าทั้งหมดแสดงตามลาดับวันที่ล่าสุด
ประกอบด้วยข้อมูลชั้นความเร็วของเอกสาร(จดหมาย) เลขท่ี, วันท่ี,
เรื่อง, ผู้ส่ง เป็นตน
แสดงหน้าจอตัวอย่างการสร้างเอกสาร
จากภาพแสดงรายชื่อผู้มีสิทธิ์การเข้าใช้งานระบบโดยผู้ดูแลระบบ
จะกาหนดชื่อเจ้าหน้าที่ที่มีสิทธิ์ใช้งานระบบจัดการเอกสารให้กับเจ้า
หน้าที่ผู้ใช้งานเพื่อทาการล็อกอินเข้าสู่ระบบตามสิทธิ์ที่ผู้ดูแลระบบ
กาหนดให้หน้าจอตัวอย่างการสร้างเอกสาร (บันทึกข้อความภายใน )
ประกอบด้วยข้อมูลหน่วยงานสังกัดที่ต้องการส่งถึง, เลขที่เอกสาร, เรื่อง,
อ้างถึง, สิ่งที่ส่งมาด้วย และรายละเอียดข้อความที่ต้องการส่ง
8
2. ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร
แหล่งข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญและใหญ่ที่สุดมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
แทบทุกวินาที และมีข้อมูลหลากหลายประเภท ดังนั้นในการค้นหาข้อมูล
ที่ต้องการนั้น เป็นเรื่องที่ทาได้ยากมาก จึงได้มีการจัดทาเครื่องมือหรือ
เว็บไซต์ที่อานวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและ ข่าวสารให้แก่
ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ต่างๆ ขึ้นมา
2.1 ความหมายการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
การน าความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต มาประยุกต์ใช้ใน
การศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ต โดยการ
ใช้งานอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการศึกษานี้จะสามารถแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3
ระดับดังนี้ 1. การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 2. การน าข้อมูลจาก
อินเทอร์เน็ตมาใช้งาน 3. การสร้างแหล่งข้อมูลด้วยตนเอง
2.2 รูปแบบการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหา
ข้อมูลจานวนมากมายอย่างนี้เราไม่อาจจะคลิก เพื่อค้นหาข้อมูลพบได้
ง่ายๆ จาเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า
Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่
ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทย และ ถ้าเราเปิด
ไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เรา
ต้องการไม่พบ การที่เราจะ ค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจึงต้องพึ่งพา
Search Engine Site ซึ่งจะทาหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้
โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหา
แล้วป้อน ค าหรือข้อความของหัวข้อ นั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิก
ปุ่มค้นหา เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่
เกี่ยวข้องจะ ปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที
การค้นหาข้อมูลมี 2 วิธี
1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory
2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine
1.1 การค้นหาในรูปแบบ Index Directory วิธีการค้นหาข้อมูล
แบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหา
ข้อมูลด้วย วิธีของ Search Engine โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็น
9
หมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็น ประเภท สาหรับวิธีใช้งาน
คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser
จากนั้นที่ หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีก
ระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดง ออกมาให้เลือก
เยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลในIndex ว่าในแต่ละ
ประเภท จัดรวบรวมเก็บ เอาไว้มากน้อยเพียงใด เมื่อคุณเข้าไปถึง
ประเภทย่อยที่คุณสนใจแล้ว ที่เว็บเพจจะแสดงรายชื่อของเอกสารที่
เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมูลนั้นๆออกมา หากคุณคิดว่าเอกสารใด
สนใจหรือต้องการอยากที่จะดู สามารถ Click ลงไปยัง Link เพื่อขอเชื่อ
ต่อทางไซต์ก็จะนาเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที
นอกเหนือไปจากนี้ ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบ
เรียงโดยนาเอา Site ที่มีความเกี่ยว ข้องมาก ที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุด
ของรายชื่อที่แสดง
2.1 การค้นหาในรูปแบบ Search Engine วิธีการอีกอย่างที่
นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า
70%จะใช้ วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทางานของ Search Engine จะ
แตกต่างจากการใช้Indexลักษณะของมันจะเป็น ฐานข้อมูลขนาดใหญ่
มหาศาลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป บน Internet ไม่มีการแสดงข้อมูล
ออกมาเป็นลาดับขั้น ของความสาคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้น
ฐานข้อมูล อื่นๆคือ คุณจะต้องพิมพ์คาสาคัญ (Keyword) ซึ่งเป็น การ
อธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป จากนั้นSearch
Engine ก็จะแสดงข้อมูล และ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา
ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine
คือวิธีในการค้นหาข้อมูลแบบIndex เค้าจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวม
และท าระบบฐานข้อมูลขึ้นมา ส่วน แบบ Search Engine นั้นระบบ
ฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้างโดยใช้Software ที่มี หน้าที่
เกี่ยวกับงาน ทางด้านนี้โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่งเจ้า
Software ตัวนี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spiders การท างานข้อง มันจะใช้วิธีการ
เดินลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึง กันอยู่เต็มไปหมดใน
Internet เพื่อ ค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถ
ตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Site เดิมที่มี อยู่ ว่าที่ใดถูก
อัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะน าเอาข้อมูลทั้งหมดที่ส ารวจเข้ามา ได้
10
เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของ ตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการ
ประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหาด้วย วิธีSearch
Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก
บางครั้งข้อมูลที่ ค้นหามาได้อาจมีถึง เป็นร้อยเป็นพัน Site แล้วมีใครบ้าง
หละที่อยากจะมานั้นค้นหาและอ่านดูที่จะเพจ ซึ่งคง ต้องเสียเวลาเป็น
วันๆแน่ ซึ่งก็ไม่รับรองด้วยว่าคุณจะได้ข้อมูลที่คุณต้องการหรือไม่ ดังนั้น
จึงมีหลักในการค้น หา เพื่อให้ได้ข้อมูลใกล้เคียง ความเป็นจริงมากที่สุด
ซึ่งจะขอกล่าวในตอนหลัง
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
การค้นคว้าด้วยการใช้ Search Engine การใช้งานอินเทอร์เน็ต
ที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหา
ความรู้ แต่การเข้า เยี่ยมชมนั้น ในกรณีที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อ
ว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับสิ่งใด เราสาสามารถที่จะ เข้า
เยี่ยมชมได้ทันที่แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อเว็บเหล่านั้น แต่เรามีความ
ต้องการที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มี วิธีการจะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดย
การใช้ความสามารถของ Search Engine Search Engine จะมีหน้าที่
รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งาน
เพียงแต่ ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน ค าหรือข้อความของ
หัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่ก าหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่าง
ย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติม
ได้ทันที Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่
แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์น ามาใช้
เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ Search นั้น
อย่างน้อย เราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการ
หรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละ ประเภทมีความ
ละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ตัวอย่าง Search Engine ที่มี
ชื่อเสียงทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น sanook.com,
siamguru.com, google.com, yahoo.com, msn.com, altavista.com,
search.com เป็นต้น
2.4 เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
1. Keyword Index 2. Subject Directories 3. Metasearch
Engines
11
การค้นหาด้วย http://www.google.com/
12
การค้นหาด้วย http://www.altavista.com/
Subject Directories การจาแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine
ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการ วิเคราะห์เนื้อหา ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามี
เนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้คนพิจารณาเว็บเพจ แต่
ละ เว็บ แล้วทาการจัดหมวดหมู่ โดยจะขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัด
หมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ ในกลุ่มของอะไร ดังนั้น
ฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน
แล้วจึงนามาเป็น ฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป
การค้นหาด้วย http://www.sanook.com/
Metasearch Engines จะเป็น Search Engine ที่ใช้ในการค้นหาเว็บ
ด้วยตัวของ Search Engine แบบ Metasearch Engines เองแล้ว แต่ที่เด่น
กว่านั้นคือ Search Engine แบบ Metasearch Engines จะยัง สามารถ
เชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ เพื่อเรียกดูข้อมูลที่ Search
Engine อื่นๆ ค้นพบ โดยสังเกต ได้จากจะมีคาว่า [Found on Google,
13
Yahoo!] ต่อทางด้านท้าย นั้นก็หมายความว่าการค้นหาข้อความนั้นๆ มา
การเชื่อมโดยไปค้นข้อมูลจาก เว็บ Google และ Yahoo แต่การค้นหา
ด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสาคัญกับขนาดเล็กใหญ่
ของตัวอักษรและมักจะ ไม่ค้นหาคาประเภท Natural Language (ภาษา
พูด) และที่สาคัญ Search Engine แบบ Metasearch Engines ส่วนมากไม่
รองรับภาษาไทย
2.5 การสืบค้นข้อมูลแบบใช้คีย์เวิร์ด
ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นข้อมูลโดยใช้ค าที่มีความหมายตรง
กับความ ต้องการ โดยมากจะนิยมใช้ค าที่มีความหมายใกล้เคียงกับเนื้อ
เรื่องที่จะสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด มี
วิธีการค้นหาได้ดังนี้
1. เปิดเว็บเพจ ที่ให้บริการในการสืบค้นข้อมูล โดยพิมพ์ช่อง
เว็บที่ช่อง Address
www.google.co.th เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นข้อมูลของต่างประเทศ ข้อดี
คือ ค้นหาง่าย เร็ว
www.yahoo.com เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นที่ดีตัวหนึ่งซึ่งค้นหาข้อมูล
ง่าย และข้อเด่นคือภายในเว็บของwww.yahoo.com เองจะมีฟรีเว็บไซต์
ที่รู้จักกันในนาม http://www.geocities.com ซึ่งมีจานวนหลาย 100000
เว็บ ให้ค้นหาข้อมูลเองโดยเฉพาะ
www.sanook.com เป็นเว็บของคนไทย
www.siamguru.com เป็นเว็บของคนไทย
14
3. ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์
3.1 ยกตัวอย่างเป็นบทเรียน E-Leaning
การเรียนการสอนในระบบแบบอีเลิร์นนิ่ง
การเรียนการสอนในระบบอีเลิร์นนิ่งเป็นการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารจัดการเรียนการสอน ซึ่งนับเป็น
นวัตกรรมการเรียนการสอนที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพใน การจัดการ
การเรียนการสอนได้สาระสาคัญที่ได้ศึกษาและเกี่ยวข้องกับงานวิจัยครั้ง
นี้ ได้แก่ความ หมายและองค์ประกอบของอีเลิร์นนิ่ง ขั้นตอนการพัฒนา
ระบบอีเลิร์นนิ่ง การวัดและประเมินผล การเรียนการสอนในระบบ
อีเลิร์นนิ่ง ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไป
3.2 ความหมายของอีเลิร์นนิ่ง
ความหมายของการเรียนอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเลิร์นนิ่ ง
(Electronic Learning: e-Learning) มีผู้ให้ความหมายไว้อย่างหลากหลาย
ซึ่งคล้ายคลึงกันดังต่อไปนี้
Marc (2001) ให้ความหมายของอีเลิร์นนิ่งว่า คือ รูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนโดยใช้ ่ เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเพื่อถ่ายทอด
เนื้อหาหรือความรู้ การจัดการเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิ่งมี
องค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ การใช้ความสามารถของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการ สอน ใช้คอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตเป็นเครื่องมือ และสามารถนาไปใช้ในการ
เรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ
Clank and Mayer (2003) ให้ความหมายของ อีเลิร์นนิ่ง คือ
การเรียนการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ โดยใช้ซีดี-รอม อินเตอร์เน็ต
อินทราเน็ต เป็ นช่องทางในการถ่ายทอดมีคุณลักษณะ สาคัญคือ
บทเรียนมีเนื้อหาที่สัมพันธ์กบจุดประสงค์การเรียน ใช้เทคนิควิธีการสอน
เพื่อช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ ได้แก่ การใช้ตัวอย่าง แบบฝึกหัด ใช้สื่อ
การสอนเป็นมัลติมีเดียเพื่อนาเสนอเนื้อหาและเป็นการสร้างความรู้
ทักษะใหม่ให้แก่ผู้เรียนหรือเพิ่ มความสามารถให้แก่องค์กร
สอดคล้องกับเป้ าหมายของผู้เรียนหรือองค์กรที่ต้องการ
กิดานันท์ มลิทอง (2548ก)กล่าวถึงความหมายของการเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ว่าหมายถึง การเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ ผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้การสื่อสารทางไกลด้วยการส่ง สัญญาณ
15
ผ่านดาวเทียมและสารโทรศัพท์ มีการใช้เทคโนโลยีเว็บในการนาเสนอ
บทเรียนออนไลน์ และมีการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนหรือระหว่าง
ผู้เรียนด้วยกันเอง ทั้งแบบประสานเวลาและ ไม่ประสานเวลาผานางการ
สนทนา อี ่ เมล์เว็บบอร์ดและการประชุมทางไกล
จากความหมายของอีเลิร์นนิ่งที่กล่าวมา สรุปได้ว่า อีเลิร์นนิ่ง
เป็นรูปแบบการเรียนการ สอนที่มีการออกแบบการเรียนการสอนไว้อย่าง
เป็นระบบ มีการกาหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการจัดการเรียนการ
สอนไว้อย่างชัดเจน จัดการเรียนการสอนตามหลักทฤษฎีทางการศึกษา ่
หลักการ เรียนการรู้และจิตวิทยาการศึกษา การถ่ายทอดความรู้ การ
นาเสนอเนื้อหาการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนและถ่ายทอดกลยุทธ์
การสอนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือ ซึ่งใน
ปัจจุบันเน้นไปที่การใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จึงทาให้ผู้เรียน
สามารถเข้าถึงและเรียนรู้โดยไม่ จากัดสถานที่และเวลา เนื้อหาบทเรียน
ของอีเลิร์นนิ่งจะอยู่ในรูปแบบสื่อผสมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic
Multimedia) ซึ่งออกแบบไว้ในลักษณะซอฟต์แวร์รายวิชาหรือคอร์ส
แวร์(courseware) ประกอบด้วยสื่อผสม ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหวเสียง และที่สาคัญคือ ผู้เรียนสามารถ โต้ตอบกบบทเรียน
และผู้สอนได้ การบริหารจัดการระบบอีเลิร์นนิ่งใช้ซอฟท์แวร์ประเภท
บริหาร จัดการการเรียนรู้ ( Learning Management System: LMS)
ทาหน้าที่ในการบริหารจัดการอย่าง อัตโนมัติเกือบทุกขั้นตอนแทนการ
ปฏิบัติด้วยมือ ตั้งแต่ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียนจนถึงขั้นตอน การวัด
และประเมินผลการเรียนการสอน
3.3 ลักษณะของอีเลิร์นนิ่งกับการจัดการเรียนการสอน
จากความหมายและองค์ประกอบของการเรียนการสอนใน
ระบบอีเลิร์นนิ่งที่กล่าวมา ข้างต้น สามารถสรุปลักษณะสาคัญของการ
จัดการเรียนการสอนในระบบอีเลิร์นนิ่ง (มนต์ชัยเทียน ทอง, 2545ข:กิ
ดานันท์มลิทอง, 2548ก) ได้ดังนี้
3.3.1. อีเลิร์นนิ่งเป็นการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
รูปแบบการจัดการเรียนการ สอนในสภาพแวดล้อมที่ใช้คอมพิวเตอร์
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็น ช่องทางและ
เป็นเครื่องมือในการนาเสนอและถ่ายทอดเนื้อหา รวมทั้งกลยุทธ์การ
สอนไปยังผู้เรียน
16
3.3.2. เนื้อหาและวิธีการสอนของอีเลิร์นนิ่งจะใช้สื่อผสม
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Multimedia) ได้แก่ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
ภาพยนตร์ เสียง ข้อความ และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ระบบ บริหารจัดการ
การเรียนรู้ได้จัดเตรียมไว้ให้มาประยุกต์ใช้ร่วมกนอย่างเหมาะสม
3.3.3 กิจกรรมการเรียนการสอนของอีเลิร์นนิ่งได้กาหนด
วัตถุประสงค์และออกแบบไว้ อยางอย ่ างเป็ นระบบ โดยอาศัยทฤษฎี
การเรียนการสอนและการเรียนรู้เป็ นแนวคิดสาคัญ
3.3.4 ระบบการเรียนการสอนมีการจัดเตรียมเครื่องมือ
สนับสนุนในการสร้างปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรียนกบผู้สอน ผู้เรียนกับ
ผู้เรียน และผู้เรียนกับระบบ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ ความรู้และ
เรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative) ทั้งการมีปฏิสัมพันธ์แบบประสานเวลา
(Synchronous interaction) และการโต้ตอบแบบไม่ประสานเวลา
(Asynchronous interaction)
3.3.5 กระบวนการจัดการบริหารการเรียนการสอน เน้นการ
นาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่าระบบ บริหารการจัดการเนื้อหาและจัดการการ
เรียนการสอน (Learning Content Management System : LCMS) หรือ
ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้(Learning Management System : LMS)
มาบริหาร จัดการอย่างอัตโนมัติเป็ นสาคัญ ตั้งแต่ เริ่มต้นลงทะเบียน
เรียนจนถึงขั้นตอนการประเมินผล
3.3.6 ลักษณะการจัดการเรียนการสอนเป็ นส่วนหนึ่งของ
การเรียนการสอนแบบทางไกล (Distance Learning) สามารถเรียนได้ทุก
สถานที่ ทุกเวลา ทุกเรื่อง เนื่องจากเนื้อหาบทเรียนและ กิจกรรมนาเสนอ
ไว้ตลอดเวลา (On-Line) ทาให้ไม่มีข้อจากัดด้านสถานที่และเวลาในการ
เรียนเกิดกระบวนการที่เรียกวาการเรียนรู้แบบร่วมกันเป็นกลุ่ม (group
collaboration)
3.3.7 เป็นวิธีของการศึกษาแนวใหม่ (new education
approaches) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ
เป็นผู้สอนทั่วโลกร่วมมือกน ั แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกนและกันรวมทั้งมีสื่อ
และแหล่งเรียนรู้มากมายมหาศาลนอกเหนือจากที่ได้รับจากผู้สอน
กาหนดให้เหมือนในชั้นเรียนปกติ
17
นอกจากนี้การใช้อีเลิร์นนิงยังสามารถแบ่งรูปแบบการเรียนการ
สอนอีเลิร์นนิงโดยการแบ่งตาม ลักษณะการใช้ประโยชน์ทางการเรียน
การสอนโดยสามารถแบ่งรูปแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงเป็นอีก 3
รูปแบบ คือ
1. อีเลิร์นนิงเพื่อเสริมการเรียน (Supplement) เป็นการใช้อี
เลิร์นนิ่งเพื่อเสริมจากการเรียนในชั้น เรียนปกติ โดยยังคงใช้วิธีการสอน
แบบเดิมในชั้นเรียนเป็นหลักและใช้อีเลิร์นนิ่งเป็นการเสริมการเรียน
เช่น เป็นบทเรียนทบทวน เป็นเว็บความรู้เพิ่มเติม หรือเป็นแบบทดสอบ
ความรู้ที่มีเฉลยและข้อมูลป้อนกลับ (feed back) เป็นต้น
ตัวอย่างสื่อที่มีแบบทดสอบความรู้
18
2. อีเลิร์นนิงเพื่อการสอนแบบผสมผสาน (blended / hybrid
learning ) เป็นการจัดการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง และแบบเดิมในชั้น
เรียนร่วมกัน โดยมีสัดส่วนการแบ่งจานวนครั้ง หรือหน่วยการเรียนที่จะ
เรียน ด้วยวิธีใด ใช้อีเลิร์นนิ่งลดสัดส่วนเวลาในการสอนแบบเดิมในชั้น
เรียน
ตัวอย่างสื่อที่มีการสาธิตและให้ทาในห้องเรียน
ที่มา: www.thaicyberu.go.th
3. อี เ ลิ ร์ น นิ ง ที่ เ ป็ น ทั้ ง ร ะ บ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
(Comprehensive replacement) เทียบเคียงได้กับการเรียน การสอนแบบ
ออนไลน์ (Online Learning) การใช้อีเลิร์นนิงรูปแบบนี้สามารถจาแนก
ตามวิธีการจัดการเรียน การสอนได้เป็น 2 วิธีการ คือ
3.1. ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Paced Learning) เป็น
การเรียนอีเลิร์นนิ่งที่ทดแทนการสอนปกติ โดยเรียนเนื้อหาจาก สื่อการ
เรียน เครื่องมือสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต และประเมินผลการเรียนของ
ตัวเอง วิธีนี้ผู้เรียนสามารถเลือกเนื้อหา และเวลาเรียนตามที่ตนพร้อม
19
และสะดวก ในบทบาทของการกาหนด ให้ผู้เรียนเรียนด้วยตนเองจาก
สื่อ การเรียนด้วยวิธีนี้ผู้สอนมีหน้าที่ออกแบบการเรียนรู้ด้วยวิธีอีเลิร์นนิ่ง
จัดเตรียมสื่อ และกิจกรรมการเรียนไว้เท่านั้น ผู้สอนไม่ต้องมีบทบาทใน
ขณะที่ผู้เรียนกาลังเรียน
3.2) ผู้เรียนเรียนจากผู้สอนอนไลน์ เป็นการเรียน อี
เลิร์นนิ่งที่ทดแทนการสอนในระบบชั้นเรียน โดยเรียนผ่านเนื้อหาสื่อการ
เรียน เครื่องมือสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต และประเมินผลการเรียนในระบบ
ออนไลน์โดยผู้สอนเป็นผู้กาหนดกิจกรรมตามระยะเวลาเหมือนการสอน
ในระบบชั้นเรียน ต่างกันตรงที่ ผู้สอนและผู้เรียนไม่ได้เผชิญหน้ากัน
(face to face) การเรียนด้วยวิธีนี้ผู้สอนรับหน้าที่การออกแบบการเรียนรู้
ด้วยวิธีอีเลิร์นนิ่ง จัดเตรียมสื่อ และกิจกรรมการเรียน ร่วมกิจกรรมการ
เรียนผ่านเครื่องมือสื่อสารการเรียน การสอนตามระยะเวลาที่กาหนดไว้
ผู้สอนมีบทบาทสาคัญในสอนออนไลน์
ตัวอย่างการเรียนออนน์แบบ Self-Paced Learning
ที่มา: www.thaicyberu.go.th
20
องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง
3.4 การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเป็นการเรียนทางไกลที่ผู้สอน
และผู้เรียนมิได้อยู่ในบริบทชั้นเรียน และเวลาขณะเดียวกัน มีการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาทดแทน ในที่นี้ขอนาอธิบาย
องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ตามรูปแบบการใช้อีเลิร์
นนิง ทั้งระบบการเรียนการสอนเป็น หลัก ซึ่งการเรียนการสอนแบบอีเลิร์
นนิงสามารถแบ่งองค์ประกอบสาคัญที่ต้องคานึงถึง เป็น 6 องค์ประกอบ
ตือ
3.4.1 เนื้อหาและสื่อการเรียน
3.4.2 ระบบนาส่งสารสนเทศและการสื่อสาร
3.4.3 ระบบการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ทางการเรียน
3.4.4 ระบบการวัดและการประเมินผล
3.4.5 ระบบสนับสนุนการเรียน
3.4.6 ผู้สอนและผู้เรียน
3 . 5 ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร เ ส ริ ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
(Supplement)
เป็นการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการ “เสริม”การเรียนการสอนใน
ชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น ปญหาความแตกต่างของผู้เรียน
ด้านพื้นฐานความรู้ ความแตกต่างด้านความเร็วในการเรียน และ ความ
แตกต่างของแบบการเรียน (Learning Style) ตัวอย่างเช่น ในการเรียน
การสอนหลักที่เป็นแบบชั้นเรียน ผู้เรียนจานวนมาก มีความแตกต่าง
ด้านพื้นฐานความรู้ ทาให้ผู้เรียนส่วนหนึ่งตามไม่ทันขณะที่ผู้สอนเองก็มี
ปัญหาในการปรับความเร็ว ในการสอนให้สอดคล้องกบระดับความเร็ว
ในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของผู้เรียน ั ดังนั้นผู้สอน สามารถเตรียมสื่อ
การเรียนรู้ในระบบอีเลิร์นนิง (เช่น คอร์สแวร์ CAI/ คอร์สแวร์ Web) ให้
ผู้เรียนไปเรียนทบทวนด้วยตนเองนอกเวลาเรียนได้
21
3.6 เทคโนโลยีในรูปแบบเสริมการเรียนนี้ เข้ามามีบทบาทในการ
3.6.1. เป็นตัวกลางในการนาเสนอบทเรียนในลักษณะต่างๆ
เช่น บทเรียนมัลติมีเดียทบทวน ความรู้ (Tutorial) บทเรียนจาลอง
สถานการณ์ (Simulation) ฯลฯ
3.6.2. บันทึกประวัติการเรียนรู้ของผู้เรียน (ในกรณีคอร์ส
แวร์แบบเว็บ)
3.6.3. บันทึกผลการเรียน (ในกรณีคอร์สแวร์แบบเว็บ)
3.6.4. เชื่อมโยงผู้เรียนสู่แหล่งความรู้ต่าง ๆ ที่ผู้สอนจัดเตรียม
ไว้ให้ (ในกรณีคอร์สแวร์แบบเว็บ)
22
ตัวอย่างคอร์สแวร์บนเว็บของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย
23
4.ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting System)
4.1 ตัวอย่างการใช้งานระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting
System)สามารถเขาใช้งานระบบการประชุมอิเลกทรอนิกส์ได้ที่ URL
น้ี http://202.29.21.15/emeeting-new/
4.1.1 ผู้เยี่ยมชม กรณีถ้าเป็นผู้เยี่ยมชมสามารถดูข้อมูลที่แสดงใน
หน้าหลักของระบบ ผู้เยี่ยมชมสามารถดู กาหนดการประชุมได้, ผู้เยี่ยม
ชมสามารถดูรายงานสรุปได้, ผู้เยี่ยมชมสามารถดูรายงานสรุปแยกตาม
ประเภทได้
หน้าแรกของระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์
24
4.1.2. ผู้เข้าร่วมการประชุม สามารถดูข้อมูลหัวข้อการประชุม
, เปิดเอกสารประกอบการประชุม, ดูรายงาน สรุปการประชุม กรณีผู้ร่วม
ประชุมต้องการบันทึกการประชุมหรือข้อมูลส่วนตัวของตนเองจะต้องมี
การ Login เข้าสู่ระบบ ก่อน
Login เข้าส่ีระบบ
25
26
การเพิ่มบันทกการประชุมของผู้เข้าร่วมประชุม
เปลี่ยนแปลงข้อมูลส่วนตัว
27
4.1.3. ผู้ดูแลระบบ กรณีถาเป็นผู้ดูแลระบบจะต้องมีการ login
เข้าสู่ระบบก่อน จึงจะมีสิทธิ์ดังต่อไปน้ี
- ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างลบ แก้ไขสิทธ์ีการใช้งาน
ได้
- ผู้ดุแลระบบสามารถสร้าง ลบ แก้ไข หัวขัอการ
ประชุมได้
- ผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่ม ลบ แกไข วาระการประชุม
ได้
- ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างลบ แกไข้ ไฟล์ เอกสาร
ประกอบการประชุมได้
- ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างลบ แกไข้ รายงานสรุปการ
ประชุมไดh
4.1.4 หัวข้อการประชุม แบ่งเป็น 2 แบบ
1. รายการประชุมทั้งหมดผู้เข้าร่วมประชุมสามารถ
แก้ไข /ลบ หัวข้อรายงานการประชุม และ เลือกแสดงหัวการประชุมตาม
ส่วนที่ต้องการ
2. การประชุมแยกตามประเภท จะมีประเภทการประชุม
ให้เลือกและในแต่ละประเภทมีการสรุป จานวนหัวประชุมทั้งหมดตรง
ส่วนท้ายของแต่ละประเภท
28
รายการการประชุมทั้งหมด
29
การประชุมแบ่งตามประเภท
30
แก้ไขหัวข้อการประชุีม
ลบหัวข้อประชุม
31
เอกสารเชิญประชุม สามารถเปิดอ่าน/ลบ ไฟล์ในแต่ละหัว
ของเอกสารเชิญประชุม กรณีถ้าต้องการลบเอกสารการประชุมให้
เลือกที่เครื่องหมาย
เอกสารเชิญประชุมทั้งหมด
รายงานสรุปการประชุม แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อดังนี้
1. รายงานสรุปทั้งหมดผู้เข้าร่วมประชุมสามารถแกไข้ /ลบ สรุป
รายงานการประชุม และ เลือกแสดงสรุปรายงานการประชุมตามวันที่ที่
ต้องการ
2. รายงานสรุปแยกตามประเภท จะมีประเภทสรุปรายงานการ
ประชุมให้เลือกและในแต่ละ ประเภทมีการสรุปจานวนทั้งหมดตรง
ส่วนท้ายของแต่ละประเภท
32
รายงานสรุปทั้งหมด
33
สรุปรายงานแยกตามประเภท
34
4.1.5 ข้อมูลส่วนตัวสามารถแก้ไขประวัติส่วนตัวของตนเอง
ได้
แกไขข้อมูลประวัติส่วนตัว
ตั้งค่าสาหรับผ้ีดูแลระบบ แบ่งเป็นหัวขัอย่อยได้ดังนี้
1. ตั้งค่าผู้ใช้งานระบบเป็นระบบจัดการผู้ใช้งานนั้นสามารถ เพิ่ม/
แกไข้ /ลบ จานวนผู้ใช้งานระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์
2. ตั้งค่าประเภทวาระเป็นระบบที่สามารถเพิ่ม / แกไข้ / ลบ ประเภท
วาระการประชุม
3. สร้างหัวข้อการประชุม สามารถเพิ่มหัวข้อการประชุมได้
35
4. สร้างเอกสารเชิญการประชุม เพิ่มเอกสารการเชิญประชุมโดย
สามารถแนบไฟล์เอกสาร ์ ชนิดไฟล์ doc, pdf ์ และ xls ได้พร้อมทั้ง
สามารถกาหนดได้ว่าจะส่งเอกสารฉบับน้ีให้ใครได้บ้าง
5. สร้างรายงานการประชุม สามารถสร้างรายงานการประชุม
ระบบจัดการผู้ใช้งานระบบ
36
ตั้งค่าประเภทวาระ
สร้างหัวข้อการประชุม
37
สร้างเอกสารเชิญประชุม
สร้างรายงานการประชุม

More Related Content

What's hot

บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุดบริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุดkridchamon
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารmiwmilk
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตeyechillchill
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตPangMy
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลKriangx Ch
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตstep_auto
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตteerapongpongsorn
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
นางสาวมณีรัตน์  33.docxนางสาวมณีรัตน์  33.docx
นางสาวมณีรัตน์ 33.docxKhemjira_P
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตI'June Jindawong
 

What's hot (15)

บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุดบริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
บริการบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ชอบมากที่สุด
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูลตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
ตอนที่ 1 การค้นหาข้อมูล
 
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ตบริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
บริการต่างๆบนอินเทอร์เน็ต
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
นางสาวมณีรัตน์  33.docxนางสาวมณีรัตน์  33.docx
นางสาวมณีรัตน์ 33.docx
 
Websitebasic
WebsitebasicWebsitebasic
Websitebasic
 
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตเทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
 

Similar to รายงานระบบการจัดการความรู้

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้กันตนา ช่วงชน
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
นันทิชา ชมแผน
นันทิชา ชมแผนนันทิชา ชมแผน
นันทิชา ชมแผนEarn'n Earn
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้sasichay
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPrapatsorn Keawnoun
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅ
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅ
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅsasichay
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33Khemjira_P
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตjobasketball
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 

Similar to รายงานระบบการจัดการความรู้ (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
Worksheet25
Worksheet25Worksheet25
Worksheet25
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
นันทิชา ชมแผน
นันทิชา ชมแผนนันทิชา ชมแผน
นันทิชา ชมแผน
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
เทคโนโลยีที่ถูกนำมาใช้ในการจัดการความรู้
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
แผน 4
แผน 4แผน 4
แผน 4
 
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅ
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅ
ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ๅๅ
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33นางสาวมณีรัตน์   ทรงพานิช   ม.5 1 เลขที่ 33
นางสาวมณีรัตน์ ทรงพานิช ม.5 1 เลขที่ 33
 
ใบงานที่4 53-14
ใบงานที่4 53-14ใบงานที่4 53-14
ใบงานที่4 53-14
 
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตการค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
การค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
 
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 3 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 

รายงานระบบการจัดการความรู้

  • 1. 1 1. ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้พัฒนาขึ้นเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการจัดการรับ - ส่ง การจัดเก็บการสืบค้นข้อมูลเอกสาร ภายในองค์กร รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการจดการงานด้าน เอกสารให้มีความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้นและช่วยลด ปัญหาด้านการสื่อสารการจัดเก็บ การสูญหายของเอกสาร การสืบค้น ข้อมูลเอกสาร และลดการสิ้นเปลืองทรัพยากรกระดาษการนาระบบ จัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาใช้จะช่วยลดความซับซ้อนขั้นตอนการ ปฏิบัติงานในระบบเดิมเปล่ียนมาเป็นรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีสามารถดาเนินการท่ีเกี่ยวข้องทั้งหมดในรูปแบบของเว็บแอพลิเคชั่น ทั้งนั้นเพื่อความสะดวกในการเข้าใช้งานระบบ การบริหารจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นการนาเทคโนโลยี สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงานเพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพเกิดความคล่องตัว สะดวก รวดเร็วมากขึ้นโดยการนาเอา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเอกสาร ได้แก่ การจัดทา การเก็บ รักษา การส่งข้อมูล การติดต่อสื่อสารภายในองค์กร ทั้งนี้ ยัง เป็นการลดปริมาณการใช้ทรัพยากร กระดาษ ลดพื้นที่และสถานที่ใน การจัดเก็บ ผู้ใช้งานสามารถสื่อสารผ่านทางจอคอมพิวเตอร์ทา ให้ได้ ข้อมูลที่รวดเร็วทันต่อความต้องการ ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่ายของ องค์กรในระยะยาว ลดเวลาและขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานส่งผลให้การปฏิบัติงานเกิด ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระบบ จัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์สามารถที่จะรองรับเอกสารใน ปริมาณมาก โดยจะช่วยเพิ่มความคล่องตัวในการปฏิบัติงานซึ่งระบบถูกออกแบบมา ให้ใกล้เคียง กับการจัดการเอกสารแบบเดิม ผู้ใช้งานจึงสามารถเรียนรู้ และทาความเข้าใจได้ง่าย การจัดเก็บ เอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เอกสารที่เกิดจากการสแกนและไฟล์ข้อมูลทุกประเภท) ทาให้การ จัดการเอกสารเป็นระบบและเป็นระเบียบมากขึ้นเป็นไปตามมาตรฐาน การจัดการเอกสาร สามารถเรียกใช้หรือสืบค้นข้อมูลที่ต้องการได้อย่าง ฉับไว ช่วยป้องกัน ความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับเอกสารในระหว่างการ ใช้งาน รวมถึงความสามารถด้านการอนุญาตสิทธิ์ในการจัดการ เอกสาร เช่น สิทธิ์การสืบค้นข้อมูล การแก้ไข การลบ การส่งข้อมูลไปยังระบบ อื่นๆ สิทธิ์การอนุมัติเอกสาร เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญด้านความปลอดภัย
  • 2. 2 ในการจัดการเอกสารทาให้ สามารถตรวจสอบได้ว่ามีผู้ใช้งานรายใด เข้าไปกระทาการใดๆ กับเอกสารที่มีอยู่ในระบบการนาเทคโนโลยี สารสนเทศสมัยใหม่มาใช้ในการบริหารจัดการเอกสารเป็นที่นิยมมาก ขึ้นเน่ีองจากปัจจุบัน การรับส่งข้อมูลข่าวสารส่วนมากอยู่ในรูปแบบของ ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่ง จะต้องมีวิธีการบริหารจัดการงานด้านเอกสารที่ดี พอเป็นไปตามระบบและมาตรฐานในการ จัดการเอกสาร ทั้งนี้ระบบ จะต้องอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานให้สามารถสืบค้นได้รวดเร็ว ใช้ งานง่ายไม่ซับซ้อน โดยการใช้งานผ่านระบบอินทราเน็ตภายในองค์กร เพื่อบริหารจัดการข้อมูลเอกสาร ยกตัวอย่าง ระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส ์ Electronic Document Management System วิธีการและขั้นตอนการสร้าง แสดงการเชื่อมโยงระบบงานและผู้รับผิดชอบ
  • 3. 3 แสดงโครงสร้างการติดต่อสื่อสารของระบบ EDMS เน่ีองจากองค์กรมีการติดต่อสื่อสารกับหลายหน่วยงานดังนั้น เอกสารรับในแต่ละส่วนจึงมีจานวนมาก เพื่อให้เกิดความสะดวกในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรจึงได้มี การพัฒนาระบบให้สามารถเรียกใช้งาน และทางานผ่านทางเว็บบราวเซอร์โดยอาศัยรูปแบบสถาปัตยกรรมของ ร ะ บ บ คื อ Two Tiers Architecture (Client-Servers Architecture) มีส่วนประกอบดังน้ี - Database Server ทาหน้าที่เก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบการจัดการ เอกสาร อิเล็กทรอนิกส์จัดการข้อมูล เช่น การสร้าง , การจดเก็บ เป็นต้น และทา หน้าที่นาข้อมูลที่ได้จากการคิวรี่ (Query) ส่งไปแสดงผล - Client ทาหน้าที่ในส่วนของการแสดงผลลัพธ์การตรวจสอบ ความถูกตองของข้อมูลก่อนทจะส่งไปประมวลผลการทางานเริ่มจาก ผู้ใช้ป้อนข้อมูลผ่านหน้าจอที่เครื่อง Client โดยก่อนทเครื่อง Client จะ นาส่งข้อมูลจะทาการตรวจสอบความถูก ต้องของข้อมูลก่อนแล้วทาการ ประมวลผลโดยการส่งข้อมูลไปที่เครื่อง Database Server เมื่อ Database Server ไดรับข้อมูลและคาสั่งแล้วก็จะจดการข้อมูลที่ได้ลงฐานข้อมูล การเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง Client กบเครื่อง Database Server จะ เชื่อมต่อกันภายในองค์กรหรือเรียกว่า Local Area Network (LAN) และ การตรวจสอบการไหลของข้อมูลจะช่วยให้ระบบมีความปลอดภัยมาก ยิ่งขึ้น
  • 5. 5 1.1 การใช้งานระบบ 1.1.1. หน้าจอหลักในการทางานภาพประกอบหน้าจอ การ เขาใช้งานระบบเพื่อให้ กรอก username และ password เพื่อ LOGIN เข้าสู่ระบบ (ตามสิทธิ์การใช้งาน ) ที่ผู้ดูแลระบบกาหนดให้ แสดงหน้าจอการเข้าสู่ระบบ 1.1.2. เมื่อเข้าสู่ระบบจะพบกับตัวเอกสารที่ใช้เก็บเอกสาร ออนไลน์หรือคลิกท่ีเมนู เอกสารด้านซ้ายเพ้อเข้าสู่เอกสารที่ต้องการ แสดงหน้าจอระบบเมื่อทาการ Login เข้าสู่ระบบ
  • 6. 6 1.1.3. แสดงรายการเอกสารที่ถูกเก็บไว้ในตู้เอกสารที่เลือก เมื่อดับบัลคลิ้กจะปรากฎ รายละเอียดเอกสารได้แก่ ข้อความแรกเข้า จดหมายงานจดการระบบเปลี่ยนรหัสผ่าน งานบริการส่วนกลาง เป็นต้น แสดงหน้าจอรายการเอกสาร (จดหมาย) 1.1.4. แสดงรายละเอียดเอกสารประกอบด้วยข้อมูลเอกสาร จากตัวอย่างเป็นข้อมูลในส่วนของจดหมายติดต่อระหว่างหน่วยงาน ภายในองคกร์ซึ่งประกอบไปด้วย - จดหมายเข้า : ระบุจานวนจดหมายเข้า - สถานะของจดหมาย : สถานะส่งกาลังพิจารณา หรือดาเนินการ เรียบร้อยแล้ว - รายชื่อผู้รับจดหมาย แสดงหน้าจอรายการเอกสาร (จดหมาย)
  • 7. 7 จากภาพเมื่อการคลิกเข้าไปดูรายละเอียดของตู้จดหมายจะปรากฎ หน้าจอแสดง รายการจดหมายเข้าทั้งหมดแสดงตามลาดับวันที่ล่าสุด ประกอบด้วยข้อมูลชั้นความเร็วของเอกสาร(จดหมาย) เลขท่ี, วันท่ี, เรื่อง, ผู้ส่ง เป็นตน แสดงหน้าจอตัวอย่างการสร้างเอกสาร จากภาพแสดงรายชื่อผู้มีสิทธิ์การเข้าใช้งานระบบโดยผู้ดูแลระบบ จะกาหนดชื่อเจ้าหน้าที่ที่มีสิทธิ์ใช้งานระบบจัดการเอกสารให้กับเจ้า หน้าที่ผู้ใช้งานเพื่อทาการล็อกอินเข้าสู่ระบบตามสิทธิ์ที่ผู้ดูแลระบบ กาหนดให้หน้าจอตัวอย่างการสร้างเอกสาร (บันทึกข้อความภายใน ) ประกอบด้วยข้อมูลหน่วยงานสังกัดที่ต้องการส่งถึง, เลขที่เอกสาร, เรื่อง, อ้างถึง, สิ่งที่ส่งมาด้วย และรายละเอียดข้อความที่ต้องการส่ง
  • 8. 8 2. ระบบสืบค้นข้อมูลข่าวสาร แหล่งข้อมูลสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลทาง อิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญและใหญ่ที่สุดมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แทบทุกวินาที และมีข้อมูลหลากหลายประเภท ดังนั้นในการค้นหาข้อมูล ที่ต้องการนั้น เป็นเรื่องที่ทาได้ยากมาก จึงได้มีการจัดทาเครื่องมือหรือ เว็บไซต์ที่อานวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูลและ ข่าวสารให้แก่ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต จากแหล่งข้อมูลเว็บไซต์ต่างๆ ขึ้นมา 2.1 ความหมายการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การน าความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต มาประยุกต์ใช้ใน การศึกษาหาความรู้ ได้แก่ การสืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ต โดยการ ใช้งานอินเทอร์เน็ตเกี่ยวกับการศึกษานี้จะสามารถแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ระดับดังนี้ 1. การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต 2. การน าข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ตมาใช้งาน 3. การสร้างแหล่งข้อมูลด้วยตนเอง 2.2 รูปแบบการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหา ข้อมูลจานวนมากมายอย่างนี้เราไม่อาจจะคลิก เพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ ง่ายๆ จาเป็นจะต้องอาศัยการค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทย และ ถ้าเราเปิด ไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหาข้อมูลที่เรา ต้องการไม่พบ การที่เราจะ ค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจึงต้องพึ่งพา Search Engine Site ซึ่งจะทาหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหา แล้วป้อน ค าหรือข้อความของหัวข้อ นั้นๆ ลงไปในช่องที่กาหนด คลิก ปุ่มค้นหา เท่านั้น รอสักครู่ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่ เกี่ยวข้องจะ ปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ทันที การค้นหาข้อมูลมี 2 วิธี 1. การค้นหาในรูปแบบ Index Directory 2. การค้นหาในรูปแบบ Search Engine 1.1 การค้นหาในรูปแบบ Index Directory วิธีการค้นหาข้อมูล แบบ Index นี้ข้อมูลจะมีความเป็นระเบียบเรียบร้อยมากกว่าการค้นหา ข้อมูลด้วย วิธีของ Search Engine โดยมันจะถูกคัดแยกข้อมูลออกมาเป็น
  • 9. 9 หมวดหมู่ และจัดแบ่งแยก Site ต่างๆออก เป็น ประเภท สาหรับวิธีใช้งาน คุณสามารถที่จะ Click เลือกข้อมูลที่ต้องการจะดูได้เลยใน Web Browser จากนั้นที่ หน้าจอก็จะแสดงรายละเอียดของหัวข้อปลีกย่อยลึกลงมาอีก ระดับหนึ่ง ปรากฏขึ้นมาให้เราเลือกอีก ส่วนจะแสดง ออกมาให้เลือก เยอะแค่ไหนอันนี้ก็ขึ้นอยู่กับขนาดของฐานข้อมูลในIndex ว่าในแต่ละ ประเภท จัดรวบรวมเก็บ เอาไว้มากน้อยเพียงใด เมื่อคุณเข้าไปถึง ประเภทย่อยที่คุณสนใจแล้ว ที่เว็บเพจจะแสดงรายชื่อของเอกสารที่ เกี่ยวข้องกับ ประเภทของข้อมูลนั้นๆออกมา หากคุณคิดว่าเอกสารใด สนใจหรือต้องการอยากที่จะดู สามารถ Click ลงไปยัง Link เพื่อขอเชื่อ ต่อทางไซต์ก็จะนาเอาผลของข้อมูลดังกล่าวออกมาแสดงผลทันที นอกเหนือไปจากนี้ ไซต์ที่แสดงออกมานั้นทางผู้ให้บริการยังได้เรียบ เรียงโดยนาเอา Site ที่มีความเกี่ยว ข้องมาก ที่สุดเอามาไว้ตอนบนสุด ของรายชื่อที่แสดง 2.1 การค้นหาในรูปแบบ Search Engine วิธีการอีกอย่างที่ นิยมใช้การค้นหาข้อมูลคือการใช้Search Engine ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่กว่า 70%จะใช้ วิธีการค้นหาแบบนี้ หลักการทางานของ Search Engine จะ แตกต่างจากการใช้Indexลักษณะของมันจะเป็น ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ มหาศาลที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป บน Internet ไม่มีการแสดงข้อมูล ออกมาเป็นลาดับขั้น ของความสาคัญ การใช้งานจะเหมือนการสืบค้น ฐานข้อมูล อื่นๆคือ คุณจะต้องพิมพ์คาสาคัญ (Keyword) ซึ่งเป็น การ อธิบายถึงข้อมูลที่คุณต้องการจะเข้าไป ค้นหานั้นๆเข้าไป จากนั้นSearch Engine ก็จะแสดงข้อมูล และ Site ต่างๆที่เกี่ยวข้องออกมา ข้อแตกต่างระหว่าง Index และ Search Engine คือวิธีในการค้นหาข้อมูลแบบIndex เค้าจะใช้คนเป็นผู้จัดรวบรวม และท าระบบฐานข้อมูลขึ้นมา ส่วน แบบ Search Engine นั้นระบบ ฐานข้อมูลของมันจะได้รับการจัดสร้างโดยใช้Software ที่มี หน้าที่ เกี่ยวกับงาน ทางด้านนี้โดยเฉพาะมาเป็นตัวควบคุมและจัดการ ซึ่งเจ้า Software ตัวนี้จะมี ชื่อเรียกว่า Spiders การท างานข้อง มันจะใช้วิธีการ เดินลัดเลาะไปตามเครือข่ายต่างๆที่เชื่อมโยงถึง กันอยู่เต็มไปหมดใน Internet เพื่อ ค้นหา Website ที่เกิดขึ้นมาใหม่ๆ รวมทั้งยังสามารถ ตรวจสอบหาความเปลี่ยนแปลงของ ข้อมูลใน Site เดิมที่มี อยู่ ว่าที่ใดถูก อัพเดตแล้วบ้าง จากนั้นมันก็จะน าเอาข้อมูลทั้งหมดที่ส ารวจเข้ามา ได้
  • 10. 10 เก็บใส่เข้าไปในฐานข้อมูลของ ตนอัตโนมัติ ยกตัวอย่างของผู้ให้บริการ ประเภทนี้เช่น Excite , Lycos Infoserch เป็นต้น การค้นหาด้วย วิธีSearch Engine นั้นมักจะได้ผลลัพธ์ออกมากว้างๆชี้เฉพาะเจาะจงได้ยาก บางครั้งข้อมูลที่ ค้นหามาได้อาจมีถึง เป็นร้อยเป็นพัน Site แล้วมีใครบ้าง หละที่อยากจะมานั้นค้นหาและอ่านดูที่จะเพจ ซึ่งคง ต้องเสียเวลาเป็น วันๆแน่ ซึ่งก็ไม่รับรองด้วยว่าคุณจะได้ข้อมูลที่คุณต้องการหรือไม่ ดังนั้น จึงมีหลักในการค้น หา เพื่อให้ได้ข้อมูลใกล้เคียง ความเป็นจริงมากที่สุด ซึ่งจะขอกล่าวในตอนหลัง 2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ การค้นคว้าด้วยการใช้ Search Engine การใช้งานอินเทอร์เน็ต ที่นิยมใช้กันอย่างมาก จะได้แก่การเข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ต่างๆ เพื่อหา ความรู้ แต่การเข้า เยี่ยมชมนั้น ในกรณีที่เรารู้ว่าเว็บไซต์เหล่านั้นมีชื่อ ว่าอะไร เนื้อหาของเว็บ มุ่งเน้นเกี่ยวกับสิ่งใด เราสาสามารถที่จะ เข้า เยี่ยมชมได้ทันที่แต่ในกรณีที่เราไม่ทราบชื่อเว็บเหล่านั้น แต่เรามีความ ต้องการที่จะค้นหาเนื้อหาบางอย่าง มี วิธีการจะเข้าสืบค้นข้อมูลได้ โดย การใช้ความสามารถของ Search Engine Search Engine จะมีหน้าที่ รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งาน เพียงแต่ ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน ค าหรือข้อความของ หัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่ก าหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น ข้อมูลอย่าง ย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติม ได้ทันที Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่ แตกต่างกันไปตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์น ามาใช้ เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้นการที่จะเข้าไปหาข้อโดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อย เราจะต้องทราบว่า เว็บไซต์ที่จะเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการ หรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละ ประเภทมีความ ละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ตัวอย่าง Search Engine ที่มี ชื่อเสียงทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น sanook.com, siamguru.com, google.com, yahoo.com, msn.com, altavista.com, search.com เป็นต้น 2.4 เทคนิคการสืบค้นข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ 1. Keyword Index 2. Subject Directories 3. Metasearch Engines
  • 12. 12 การค้นหาด้วย http://www.altavista.com/ Subject Directories การจาแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภทนี้ จะจัดแบ่งโดยการ วิเคราะห์เนื้อหา ของแต่ละเว็บเพจ ว่ามี เนื้อหาเกี่ยวกับอะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้คนพิจารณาเว็บเพจ แต่ ละ เว็บ แล้วทาการจัดหมวดหมู่ โดยจะขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัด หมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ ในกลุ่มของอะไร ดังนั้น ฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงนามาเป็น ฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาด้วย http://www.sanook.com/ Metasearch Engines จะเป็น Search Engine ที่ใช้ในการค้นหาเว็บ ด้วยตัวของ Search Engine แบบ Metasearch Engines เองแล้ว แต่ที่เด่น กว่านั้นคือ Search Engine แบบ Metasearch Engines จะยัง สามารถ เชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ เพื่อเรียกดูข้อมูลที่ Search Engine อื่นๆ ค้นพบ โดยสังเกต ได้จากจะมีคาว่า [Found on Google,
  • 13. 13 Yahoo!] ต่อทางด้านท้าย นั้นก็หมายความว่าการค้นหาข้อความนั้นๆ มา การเชื่อมโดยไปค้นข้อมูลจาก เว็บ Google และ Yahoo แต่การค้นหา ด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความสาคัญกับขนาดเล็กใหญ่ ของตัวอักษรและมักจะ ไม่ค้นหาคาประเภท Natural Language (ภาษา พูด) และที่สาคัญ Search Engine แบบ Metasearch Engines ส่วนมากไม่ รองรับภาษาไทย 2.5 การสืบค้นข้อมูลแบบใช้คีย์เวิร์ด ใช้ในกรณีที่ต้องการค้นข้อมูลโดยใช้ค าที่มีความหมายตรง กับความ ต้องการ โดยมากจะนิยมใช้ค าที่มีความหมายใกล้เคียงกับเนื้อ เรื่องที่จะสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นแบบใช้คีย์เวิร์ด มี วิธีการค้นหาได้ดังนี้ 1. เปิดเว็บเพจ ที่ให้บริการในการสืบค้นข้อมูล โดยพิมพ์ช่อง เว็บที่ช่อง Address www.google.co.th เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นข้อมูลของต่างประเทศ ข้อดี คือ ค้นหาง่าย เร็ว www.yahoo.com เป็นเว็บที่ใช้สืบค้นที่ดีตัวหนึ่งซึ่งค้นหาข้อมูล ง่าย และข้อเด่นคือภายในเว็บของwww.yahoo.com เองจะมีฟรีเว็บไซต์ ที่รู้จักกันในนาม http://www.geocities.com ซึ่งมีจานวนหลาย 100000 เว็บ ให้ค้นหาข้อมูลเองโดยเฉพาะ www.sanook.com เป็นเว็บของคนไทย www.siamguru.com เป็นเว็บของคนไทย
  • 14. 14 3. ระบบเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ 3.1 ยกตัวอย่างเป็นบทเรียน E-Leaning การเรียนการสอนในระบบแบบอีเลิร์นนิ่ง การเรียนการสอนในระบบอีเลิร์นนิ่งเป็นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารจัดการเรียนการสอน ซึ่งนับเป็น นวัตกรรมการเรียนการสอนที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพใน การจัดการ การเรียนการสอนได้สาระสาคัญที่ได้ศึกษาและเกี่ยวข้องกับงานวิจัยครั้ง นี้ ได้แก่ความ หมายและองค์ประกอบของอีเลิร์นนิ่ง ขั้นตอนการพัฒนา ระบบอีเลิร์นนิ่ง การวัดและประเมินผล การเรียนการสอนในระบบ อีเลิร์นนิ่ง ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไป 3.2 ความหมายของอีเลิร์นนิ่ง ความหมายของการเรียนอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเลิร์นนิ่ ง (Electronic Learning: e-Learning) มีผู้ให้ความหมายไว้อย่างหลากหลาย ซึ่งคล้ายคลึงกันดังต่อไปนี้ Marc (2001) ให้ความหมายของอีเลิร์นนิ่งว่า คือ รูปแบบการ จัดการเรียนการสอนโดยใช้ ่ เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตเพื่อถ่ายทอด เนื้อหาหรือความรู้ การจัดการเรียนการสอนด้วยอีเลิร์นนิ่งมี องค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ การใช้ความสามารถของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการ สอน ใช้คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีของอินเตอร์เน็ตเป็นเครื่องมือ และสามารถนาไปใช้ในการ เรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ Clank and Mayer (2003) ให้ความหมายของ อีเลิร์นนิ่ง คือ การเรียนการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์ โดยใช้ซีดี-รอม อินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต เป็ นช่องทางในการถ่ายทอดมีคุณลักษณะ สาคัญคือ บทเรียนมีเนื้อหาที่สัมพันธ์กบจุดประสงค์การเรียน ใช้เทคนิควิธีการสอน เพื่อช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ ได้แก่ การใช้ตัวอย่าง แบบฝึกหัด ใช้สื่อ การสอนเป็นมัลติมีเดียเพื่อนาเสนอเนื้อหาและเป็นการสร้างความรู้ ทักษะใหม่ให้แก่ผู้เรียนหรือเพิ่ มความสามารถให้แก่องค์กร สอดคล้องกับเป้ าหมายของผู้เรียนหรือองค์กรที่ต้องการ กิดานันท์ มลิทอง (2548ก)กล่าวถึงความหมายของการเรียน อิเล็กทรอนิกส์ว่าหมายถึง การเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้การสื่อสารทางไกลด้วยการส่ง สัญญาณ
  • 15. 15 ผ่านดาวเทียมและสารโทรศัพท์ มีการใช้เทคโนโลยีเว็บในการนาเสนอ บทเรียนออนไลน์ และมีการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนหรือระหว่าง ผู้เรียนด้วยกันเอง ทั้งแบบประสานเวลาและ ไม่ประสานเวลาผานางการ สนทนา อี ่ เมล์เว็บบอร์ดและการประชุมทางไกล จากความหมายของอีเลิร์นนิ่งที่กล่าวมา สรุปได้ว่า อีเลิร์นนิ่ง เป็นรูปแบบการเรียนการ สอนที่มีการออกแบบการเรียนการสอนไว้อย่าง เป็นระบบ มีการกาหนดวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายการจัดการเรียนการ สอนไว้อย่างชัดเจน จัดการเรียนการสอนตามหลักทฤษฎีทางการศึกษา ่ หลักการ เรียนการรู้และจิตวิทยาการศึกษา การถ่ายทอดความรู้ การ นาเสนอเนื้อหาการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนและถ่ายทอดกลยุทธ์ การสอนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือ ซึ่งใน ปัจจุบันเน้นไปที่การใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จึงทาให้ผู้เรียน สามารถเข้าถึงและเรียนรู้โดยไม่ จากัดสถานที่และเวลา เนื้อหาบทเรียน ของอีเลิร์นนิ่งจะอยู่ในรูปแบบสื่อผสมอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Multimedia) ซึ่งออกแบบไว้ในลักษณะซอฟต์แวร์รายวิชาหรือคอร์ส แวร์(courseware) ประกอบด้วยสื่อผสม ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหวเสียง และที่สาคัญคือ ผู้เรียนสามารถ โต้ตอบกบบทเรียน และผู้สอนได้ การบริหารจัดการระบบอีเลิร์นนิ่งใช้ซอฟท์แวร์ประเภท บริหาร จัดการการเรียนรู้ ( Learning Management System: LMS) ทาหน้าที่ในการบริหารจัดการอย่าง อัตโนมัติเกือบทุกขั้นตอนแทนการ ปฏิบัติด้วยมือ ตั้งแต่ขั้นตอนการลงทะเบียนเรียนจนถึงขั้นตอน การวัด และประเมินผลการเรียนการสอน 3.3 ลักษณะของอีเลิร์นนิ่งกับการจัดการเรียนการสอน จากความหมายและองค์ประกอบของการเรียนการสอนใน ระบบอีเลิร์นนิ่งที่กล่าวมา ข้างต้น สามารถสรุปลักษณะสาคัญของการ จัดการเรียนการสอนในระบบอีเลิร์นนิ่ง (มนต์ชัยเทียน ทอง, 2545ข:กิ ดานันท์มลิทอง, 2548ก) ได้ดังนี้ 3.3.1. อีเลิร์นนิ่งเป็นการเรียนการสอนด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการจัดการเรียนการ สอนในสภาพแวดล้อมที่ใช้คอมพิวเตอร์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์หรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็น ช่องทางและ เป็นเครื่องมือในการนาเสนอและถ่ายทอดเนื้อหา รวมทั้งกลยุทธ์การ สอนไปยังผู้เรียน
  • 16. 16 3.3.2. เนื้อหาและวิธีการสอนของอีเลิร์นนิ่งจะใช้สื่อผสม อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Multimedia) ได้แก่ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพยนตร์ เสียง ข้อความ และเครื่องมือต่าง ๆ ที่ระบบ บริหารจัดการ การเรียนรู้ได้จัดเตรียมไว้ให้มาประยุกต์ใช้ร่วมกนอย่างเหมาะสม 3.3.3 กิจกรรมการเรียนการสอนของอีเลิร์นนิ่งได้กาหนด วัตถุประสงค์และออกแบบไว้ อยางอย ่ างเป็ นระบบ โดยอาศัยทฤษฎี การเรียนการสอนและการเรียนรู้เป็ นแนวคิดสาคัญ 3.3.4 ระบบการเรียนการสอนมีการจัดเตรียมเครื่องมือ สนับสนุนในการสร้างปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรียนกบผู้สอน ผู้เรียนกับ ผู้เรียน และผู้เรียนกับระบบ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ ความรู้และ เรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative) ทั้งการมีปฏิสัมพันธ์แบบประสานเวลา (Synchronous interaction) และการโต้ตอบแบบไม่ประสานเวลา (Asynchronous interaction) 3.3.5 กระบวนการจัดการบริหารการเรียนการสอน เน้นการ นาซอฟต์แวร์ที่เรียกว่าระบบ บริหารการจัดการเนื้อหาและจัดการการ เรียนการสอน (Learning Content Management System : LCMS) หรือ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้(Learning Management System : LMS) มาบริหาร จัดการอย่างอัตโนมัติเป็ นสาคัญ ตั้งแต่ เริ่มต้นลงทะเบียน เรียนจนถึงขั้นตอนการประเมินผล 3.3.6 ลักษณะการจัดการเรียนการสอนเป็ นส่วนหนึ่งของ การเรียนการสอนแบบทางไกล (Distance Learning) สามารถเรียนได้ทุก สถานที่ ทุกเวลา ทุกเรื่อง เนื่องจากเนื้อหาบทเรียนและ กิจกรรมนาเสนอ ไว้ตลอดเวลา (On-Line) ทาให้ไม่มีข้อจากัดด้านสถานที่และเวลาในการ เรียนเกิดกระบวนการที่เรียกวาการเรียนรู้แบบร่วมกันเป็นกลุ่ม (group collaboration) 3.3.7 เป็นวิธีของการศึกษาแนวใหม่ (new education approaches) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ เป็นผู้สอนทั่วโลกร่วมมือกน ั แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกนและกันรวมทั้งมีสื่อ และแหล่งเรียนรู้มากมายมหาศาลนอกเหนือจากที่ได้รับจากผู้สอน กาหนดให้เหมือนในชั้นเรียนปกติ
  • 17. 17 นอกจากนี้การใช้อีเลิร์นนิงยังสามารถแบ่งรูปแบบการเรียนการ สอนอีเลิร์นนิงโดยการแบ่งตาม ลักษณะการใช้ประโยชน์ทางการเรียน การสอนโดยสามารถแบ่งรูปแบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงเป็นอีก 3 รูปแบบ คือ 1. อีเลิร์นนิงเพื่อเสริมการเรียน (Supplement) เป็นการใช้อี เลิร์นนิ่งเพื่อเสริมจากการเรียนในชั้น เรียนปกติ โดยยังคงใช้วิธีการสอน แบบเดิมในชั้นเรียนเป็นหลักและใช้อีเลิร์นนิ่งเป็นการเสริมการเรียน เช่น เป็นบทเรียนทบทวน เป็นเว็บความรู้เพิ่มเติม หรือเป็นแบบทดสอบ ความรู้ที่มีเฉลยและข้อมูลป้อนกลับ (feed back) เป็นต้น ตัวอย่างสื่อที่มีแบบทดสอบความรู้
  • 18. 18 2. อีเลิร์นนิงเพื่อการสอนแบบผสมผสาน (blended / hybrid learning ) เป็นการจัดการเรียนการสอน อีเลิร์นนิ่ง และแบบเดิมในชั้น เรียนร่วมกัน โดยมีสัดส่วนการแบ่งจานวนครั้ง หรือหน่วยการเรียนที่จะ เรียน ด้วยวิธีใด ใช้อีเลิร์นนิ่งลดสัดส่วนเวลาในการสอนแบบเดิมในชั้น เรียน ตัวอย่างสื่อที่มีการสาธิตและให้ทาในห้องเรียน ที่มา: www.thaicyberu.go.th 3. อี เ ลิ ร์ น นิ ง ที่ เ ป็ น ทั้ ง ร ะ บ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น (Comprehensive replacement) เทียบเคียงได้กับการเรียน การสอนแบบ ออนไลน์ (Online Learning) การใช้อีเลิร์นนิงรูปแบบนี้สามารถจาแนก ตามวิธีการจัดการเรียน การสอนได้เป็น 2 วิธีการ คือ 3.1. ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Paced Learning) เป็น การเรียนอีเลิร์นนิ่งที่ทดแทนการสอนปกติ โดยเรียนเนื้อหาจาก สื่อการ เรียน เครื่องมือสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต และประเมินผลการเรียนของ ตัวเอง วิธีนี้ผู้เรียนสามารถเลือกเนื้อหา และเวลาเรียนตามที่ตนพร้อม
  • 19. 19 และสะดวก ในบทบาทของการกาหนด ให้ผู้เรียนเรียนด้วยตนเองจาก สื่อ การเรียนด้วยวิธีนี้ผู้สอนมีหน้าที่ออกแบบการเรียนรู้ด้วยวิธีอีเลิร์นนิ่ง จัดเตรียมสื่อ และกิจกรรมการเรียนไว้เท่านั้น ผู้สอนไม่ต้องมีบทบาทใน ขณะที่ผู้เรียนกาลังเรียน 3.2) ผู้เรียนเรียนจากผู้สอนอนไลน์ เป็นการเรียน อี เลิร์นนิ่งที่ทดแทนการสอนในระบบชั้นเรียน โดยเรียนผ่านเนื้อหาสื่อการ เรียน เครื่องมือสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต และประเมินผลการเรียนในระบบ ออนไลน์โดยผู้สอนเป็นผู้กาหนดกิจกรรมตามระยะเวลาเหมือนการสอน ในระบบชั้นเรียน ต่างกันตรงที่ ผู้สอนและผู้เรียนไม่ได้เผชิญหน้ากัน (face to face) การเรียนด้วยวิธีนี้ผู้สอนรับหน้าที่การออกแบบการเรียนรู้ ด้วยวิธีอีเลิร์นนิ่ง จัดเตรียมสื่อ และกิจกรรมการเรียน ร่วมกิจกรรมการ เรียนผ่านเครื่องมือสื่อสารการเรียน การสอนตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ ผู้สอนมีบทบาทสาคัญในสอนออนไลน์ ตัวอย่างการเรียนออนน์แบบ Self-Paced Learning ที่มา: www.thaicyberu.go.th
  • 20. 20 องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง 3.4 การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงเป็นการเรียนทางไกลที่ผู้สอน และผู้เรียนมิได้อยู่ในบริบทชั้นเรียน และเวลาขณะเดียวกัน มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเข้ามาทดแทน ในที่นี้ขอนาอธิบาย องค์ประกอบการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง ตามรูปแบบการใช้อีเลิร์ นนิง ทั้งระบบการเรียนการสอนเป็น หลัก ซึ่งการเรียนการสอนแบบอีเลิร์ นนิงสามารถแบ่งองค์ประกอบสาคัญที่ต้องคานึงถึง เป็น 6 องค์ประกอบ ตือ 3.4.1 เนื้อหาและสื่อการเรียน 3.4.2 ระบบนาส่งสารสนเทศและการสื่อสาร 3.4.3 ระบบการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์ทางการเรียน 3.4.4 ระบบการวัดและการประเมินผล 3.4.5 ระบบสนับสนุนการเรียน 3.4.6 ผู้สอนและผู้เรียน 3 . 5 ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ น ก า ร เ ส ริ ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น (Supplement) เป็นการใช้เทคโนโลยีมาช่วยในการ “เสริม”การเรียนการสอนใน ชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น ปญหาความแตกต่างของผู้เรียน ด้านพื้นฐานความรู้ ความแตกต่างด้านความเร็วในการเรียน และ ความ แตกต่างของแบบการเรียน (Learning Style) ตัวอย่างเช่น ในการเรียน การสอนหลักที่เป็นแบบชั้นเรียน ผู้เรียนจานวนมาก มีความแตกต่าง ด้านพื้นฐานความรู้ ทาให้ผู้เรียนส่วนหนึ่งตามไม่ทันขณะที่ผู้สอนเองก็มี ปัญหาในการปรับความเร็ว ในการสอนให้สอดคล้องกบระดับความเร็ว ในการเรียนรู้ที่แตกต่างกันของผู้เรียน ั ดังนั้นผู้สอน สามารถเตรียมสื่อ การเรียนรู้ในระบบอีเลิร์นนิง (เช่น คอร์สแวร์ CAI/ คอร์สแวร์ Web) ให้ ผู้เรียนไปเรียนทบทวนด้วยตนเองนอกเวลาเรียนได้
  • 21. 21 3.6 เทคโนโลยีในรูปแบบเสริมการเรียนนี้ เข้ามามีบทบาทในการ 3.6.1. เป็นตัวกลางในการนาเสนอบทเรียนในลักษณะต่างๆ เช่น บทเรียนมัลติมีเดียทบทวน ความรู้ (Tutorial) บทเรียนจาลอง สถานการณ์ (Simulation) ฯลฯ 3.6.2. บันทึกประวัติการเรียนรู้ของผู้เรียน (ในกรณีคอร์ส แวร์แบบเว็บ) 3.6.3. บันทึกผลการเรียน (ในกรณีคอร์สแวร์แบบเว็บ) 3.6.4. เชื่อมโยงผู้เรียนสู่แหล่งความรู้ต่าง ๆ ที่ผู้สอนจัดเตรียม ไว้ให้ (ในกรณีคอร์สแวร์แบบเว็บ)
  • 23. 23 4.ระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting System) 4.1 ตัวอย่างการใช้งานระบบประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting System)สามารถเขาใช้งานระบบการประชุมอิเลกทรอนิกส์ได้ที่ URL น้ี http://202.29.21.15/emeeting-new/ 4.1.1 ผู้เยี่ยมชม กรณีถ้าเป็นผู้เยี่ยมชมสามารถดูข้อมูลที่แสดงใน หน้าหลักของระบบ ผู้เยี่ยมชมสามารถดู กาหนดการประชุมได้, ผู้เยี่ยม ชมสามารถดูรายงานสรุปได้, ผู้เยี่ยมชมสามารถดูรายงานสรุปแยกตาม ประเภทได้ หน้าแรกของระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์
  • 24. 24 4.1.2. ผู้เข้าร่วมการประชุม สามารถดูข้อมูลหัวข้อการประชุม , เปิดเอกสารประกอบการประชุม, ดูรายงาน สรุปการประชุม กรณีผู้ร่วม ประชุมต้องการบันทึกการประชุมหรือข้อมูลส่วนตัวของตนเองจะต้องมี การ Login เข้าสู่ระบบ ก่อน Login เข้าส่ีระบบ
  • 25. 25
  • 27. 27 4.1.3. ผู้ดูแลระบบ กรณีถาเป็นผู้ดูแลระบบจะต้องมีการ login เข้าสู่ระบบก่อน จึงจะมีสิทธิ์ดังต่อไปน้ี - ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างลบ แก้ไขสิทธ์ีการใช้งาน ได้ - ผู้ดุแลระบบสามารถสร้าง ลบ แก้ไข หัวขัอการ ประชุมได้ - ผู้ดูแลระบบสามารถเพิ่ม ลบ แกไข วาระการประชุม ได้ - ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างลบ แกไข้ ไฟล์ เอกสาร ประกอบการประชุมได้ - ผู้ดูแลระบบสามารถสร้างลบ แกไข้ รายงานสรุปการ ประชุมไดh 4.1.4 หัวข้อการประชุม แบ่งเป็น 2 แบบ 1. รายการประชุมทั้งหมดผู้เข้าร่วมประชุมสามารถ แก้ไข /ลบ หัวข้อรายงานการประชุม และ เลือกแสดงหัวการประชุมตาม ส่วนที่ต้องการ 2. การประชุมแยกตามประเภท จะมีประเภทการประชุม ให้เลือกและในแต่ละประเภทมีการสรุป จานวนหัวประชุมทั้งหมดตรง ส่วนท้ายของแต่ละประเภท
  • 31. 31 เอกสารเชิญประชุม สามารถเปิดอ่าน/ลบ ไฟล์ในแต่ละหัว ของเอกสารเชิญประชุม กรณีถ้าต้องการลบเอกสารการประชุมให้ เลือกที่เครื่องหมาย เอกสารเชิญประชุมทั้งหมด รายงานสรุปการประชุม แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อดังนี้ 1. รายงานสรุปทั้งหมดผู้เข้าร่วมประชุมสามารถแกไข้ /ลบ สรุป รายงานการประชุม และ เลือกแสดงสรุปรายงานการประชุมตามวันที่ที่ ต้องการ 2. รายงานสรุปแยกตามประเภท จะมีประเภทสรุปรายงานการ ประชุมให้เลือกและในแต่ละ ประเภทมีการสรุปจานวนทั้งหมดตรง ส่วนท้ายของแต่ละประเภท
  • 34. 34 4.1.5 ข้อมูลส่วนตัวสามารถแก้ไขประวัติส่วนตัวของตนเอง ได้ แกไขข้อมูลประวัติส่วนตัว ตั้งค่าสาหรับผ้ีดูแลระบบ แบ่งเป็นหัวขัอย่อยได้ดังนี้ 1. ตั้งค่าผู้ใช้งานระบบเป็นระบบจัดการผู้ใช้งานนั้นสามารถ เพิ่ม/ แกไข้ /ลบ จานวนผู้ใช้งานระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ 2. ตั้งค่าประเภทวาระเป็นระบบที่สามารถเพิ่ม / แกไข้ / ลบ ประเภท วาระการประชุม 3. สร้างหัวข้อการประชุม สามารถเพิ่มหัวข้อการประชุมได้
  • 35. 35 4. สร้างเอกสารเชิญการประชุม เพิ่มเอกสารการเชิญประชุมโดย สามารถแนบไฟล์เอกสาร ์ ชนิดไฟล์ doc, pdf ์ และ xls ได้พร้อมทั้ง สามารถกาหนดได้ว่าจะส่งเอกสารฉบับน้ีให้ใครได้บ้าง 5. สร้างรายงานการประชุม สามารถสร้างรายงานการประชุม ระบบจัดการผู้ใช้งานระบบ