SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
หน่วยที่ 1
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
(MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM)
ในสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society) ข้อมูล ข่าวสาร
และสารสนเทศ (Information) เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อการดาเนินงานทั้งภาครัฐ
และเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประกอบธุรกิจในยุคดิจิทัลที่มีการนาเทคโนโลยี
สารสนเทศเข้ามาช่วยประกอบการตัดสินใจ (Decision Making) ในการจัดการ
และบริหารงานด้านต่าง ๆ ทาให้ข่าวสารเป็นสิ่งที่ทุกคนจาเป็นจะต้องได้รับทราบ
และเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว
ข้อมูล, สารสนเทศ และการจัดการ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ค่าความจริง ซึ่งแสดงถึงความเป็นจริงที่ปรากฏขึ้น เช่น ชื่อ
พนักงานและจานวนชั่วโมงการทางานในหนึ่งสัปดาห์, จานวนสินค้าที่อยู่ในคลังสินค้า เป็นต้น
ข้อมูลมีหลายประเภท เช่น ข้อมูลตัวเลข ข้อมูล ตัวอักษร ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลเสียงและข้อมูลภาพ
เคลื่อนไหว ซึ่งข้อมูลชนิดต่างๆ เหล่านี้ใช้ในการนาเสนอค่าความจริงต่างๆ โดยค่าความจริงที่ถูก
นามาจัดการและปรับแต่งเพื่อให้มีความหมายแล้ว จะเปลี่ยนเป็นสารสนเทศ
สารสนเทศ (INFORMATION)
สารสนเทศ (Information) หมายถึงกลุ่มข้อมูลที่ถูกจัดการตามกฎหรือ ถูกกาหนด
ความสัมพันธ์ให้เพื่อให้ข้อมูลเหล่านั้นเกิดประโยชน์หรือมีความหมายเพิ่มมากขึ้น ประเภทของ
สารสนเทศขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่น จานวนยอดขายของตัวแทน
จาหน่ายแต่ละคนในเดือนมกราคมจัดเป็นข้อมูล เมื่อนามาประมวลผลรวมกันทาให้ได้ยอดขายราย
เดือนของเดือนมกราคม ทาให้ผู้บริหารสามารถนายอดขายรายเดือนมาพิจารณาว่ายอดขายเป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ขององค์กรหรือไม่ได้ง่ายขึ้น ยอดขายรายเดือนนี้จึงจัดเป็น
ขบวนการ (PROCESS)
ขบวนการ (Process) หมายถึง การแปลงข้อมูลให้เปลี่ยนเป็นสารสนเทศ
หรือกล่าวได้ว่า ขบวนการคือกลุ่มของงานที่สัมพันธ์กัน เพื่อทาให้เกิดผลลัพธ์
ตามที่ต้องการ
การจัดการ (MANAGEMENT)
การจัดการ (Management) หมายถึงการบริหารอย่างมีระบบ ซึ่ง
ประกอบด้วยการกาหนดเป้าหมายและ ทิศทางขององค์กรและการปฏิบัติเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายนั้น ซึ่งจะต้องมีการวางแผน การจัดการ การกาหนดทิศทางและการ
ควบคุมเพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม
ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศประกอบด้วย ส่วนหลัก 3 ส่วน
รูปที่ 1 ส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ
1. ส่วนที่นาเข้า (INPUT)
ส่วนที่นาเข้า (Inputs) ได้แก่การรวบรวมและการจัดเตรียมข้อมูลดิบ ส่วนที่นาเข้านี้
สามารถมีได้หลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการโทรเข้าเพื่อขอข้อมูลในระบบสอบถามเบอร์โทรศัพท์ ข้อมูลที่
ลูกค้ากรอกในใบ สอบถามการให้บริการของร้านค้าฯลฯ ขึ้นอยู่กับส่วนแสดงผลที่ต้องการ ส่วนที่นาเข้า
นี้อาจเป็นขบวนการที่ทาด้วยตัวเองหรือเป็นแบบอัตโนมัติก็ได้ เช่นการอ่านข้อมูลรายชื่อสินค้าและราย
ราคาโดยเครื่องอ่าน บาร์โค้ดของห้างสรรพสินค้า จัดเป็นส่วนที่นาเข้าแบบอัตโนมัติ
2. การประมวลผล (PROCESSING)
การประมวลผล (Processing) เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนและการแปลงข้อมูลให้
อยู่ในรูปของส่วนแสดงผลที่มีประโยชน์ ตัวอย่างของการประมวลผลได้แก่การคานวณ การ
เปรียบเทียบ การเลือกทางเลือกในการปฏิบัติงานและการเก็บข้อมูลไว้ใช้ในอนาคต โดยการ
ประมวลผลสามารถทาได้ด้วยตนเองหรือสามารถใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยก็
3. ส่วนที่แสดงผล (OUTPUT)
ส่วนที่แสดงผล (Output) เกี่ยวข้องกับการผลิตสารสนเทศที่มีประโยชน์ มักจะอยู่ในรูป
ของเอกสาร หรือรายงานหรืออาจเป็นเช็คที่จ่ายให้กับพนักงาน รายงานที่นาเสนอผู้บริหารและ
สารสนเทศที่ถูกผลิตออกมาให้กับผู้ถือหุ้น ธนาคาร หรือกลุ่มอื่นๆ โดยส่วนแสดงผลของระบบหนึ่งอาจ
ใช้เป็นส่วนที่นาเข้าเพื่อควบคุมระบบหรืออุปกรณ์อื่นๆ ก็ได้ สุดท้ายออกมา อาจอยู่ในรูปของสิ่งพิมพ์ที่
ออกมาจากเครื่องพิมพ์หรือแสดงอยู่บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เป็นอุปกรณ์แสดงผลตัวหนึ่งหรืออาจจะ
อยู่ในรูปของรายงานและเอกสารที่เขียนด้วยมือก็ได้
4. ผลสะท้อนกลับ (FEEDBACK)
ผลสะท้อนกลับ (Feedback) คือส่วนแสดงผลที่ใช้ในการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อส่วนที่นาเข้าหรือส่วนประมวลผล
เช่น ความผิดพลาดหรือปัญหาที่เกิดขึ้น อาจจาเป็นต้องแก้ไขข้อมูลนาเข้าหรือทาการเปลี่ยนแปลงการประมวลผลเพื่อให้ได้ส่วนแสดงผล
ที่ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น ระบบการจ่ายเงินเดือนพนักงาน ถ้าทาการป้อนชั่วโมงการทางานรายสัปดาห์เป็น 400 แทนที่จะเป็น 40 ชั่วโมง ถ้า
ทาการกาหนดให้ระบบตรวจสอบค่าชั่วโมงการทางานให้อยู่ในช่วง 0-100 ชั่วโมง ดังนั้นเมื่อพบข้อมูลนี้เป็น 400 ชั่วโมง ระบบจะทาการ
ส่งผลสะท้อนกลับออกมา อาจจะอยู่ในรูปของรายงานความผิดพลาด ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการตรวจสอบและแก้ไขจานวนชั่วโมงการ
ทางานที่นาเข้ามาคานวณให้ถูกต้องได้
นอกจากคาว่าข้อมูลและสารสนเทศแล้ว ยังมีอีกคาหนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน นั่นคือคาว่า “ความรู้” หรือ
“Knowledge” ความรู้ คือ การรับรู้และความเข้าใจสารสนเทศจนถึงระดับที่สามารถวิเคราะห์
และสังเคราะห์ได้ คือมีความเข้าใจ (Understanding) ในองค์ประกอบต่าง ๆ จนอาจสร้างเป็นทฤษฎี
หรือเป็นแบบจาลองทางความคิด และสามารถนาไปใช้เพื่อแก้ปัญหาในการดาเนินงานได้
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ระบบ (System) หมายถึง กลุ่มของส่วนประกอบหรือระบบย่อยต่าง ๆ ที่มีการ
ทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซึ่งส่วนประกอบของระบบประกอบด้วย
การนาเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Process) ผลลัพธ์ (Output) และการให้
ข้อมูลสะท้อนกลับ (Feedback)
กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน
ข้อมูล สารสนเทศ และระบบสารสนเทศ
การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ เป็นกิจกรรมการรวบรวมข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อการประมวลผล
การประมวลผล เป็นการนาทรัพยากรที่ได้นาเข้าสู่ระบบมาปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปที่มีความหมายเพื่อใช้
ประโยชน์ในการตัดสินใจ วางแผน ควบคุม และดาเนินงานด้านต่าง ๆ ในการประมวลผลสามารถกระทาด้วยมือ
(Manual) หรือจะใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย
ผลลัพธ์ เป็นผลผลิตที่ได้จากการประมวลผล โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของเอกสารหรือรายงานสารสนเทศ
ส่วนที่นาเข้า คือ รถที่สกปรก น้า และน้ายาต่างๆ ที่ใช้ในการล้างรถ เวลาและพลังงานถูกใช้ในการปฏิบัติการล้างรถ ทักษะได้แก่
ความสามารถเฉพาะอย่างจะถูกนามาใช้ในการฉีดสเปรย์ ขัดโฟม และเป่าแห้ง ความรู้ถูกนามาใช้ในการกาหนดขั้นตอนการทางาน
ของการล้างรถให้ทางานไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
การประมวลผล ประกอบด้วย ขั้นที่หนึ่ง การเลือกประเภทการล้างรถที่ต้องการ เช่น ล้างอย่างเดียว ล้างและขัดเงา ล้างและขัดเงา
และเป่าแห้งฯลฯ และขั้นต่อไปทาการนารถเข้าไปในเครื่องล้างรถ (สังเกตว่าในส่วนนี้จะเกิดกลไกของผลสะท้อนกลับขึ้น ได้แก่การ
ประเมินผลของเจ้าของรถที่มีต่อขบวนการล้างรถที่กาลังเกิดขึ้น) จากนั้นของฉีดของเหลวจะฉีดน้า สบู่เหลว หรือครีมขัดเงาไปที่รถ
ขึ้นอยู่กับตัวเลือกที่เลือกไว้ในตอนต้น
ส่วนที่แสดงผล คือรถที่สะอาดแล้วจากตัวอย่าง จะเห็นว่าส่วนประกอบอิสระต่างๆ ในระบบล้างรถอัตโนมัติ เช่นเครื่องฉีด
ของเหลว แปลงสาหรับทางโฟม และเครื่องเป่าแห้ง ทางานโต้ตอบกัน เพื่อให้รถสะอาดนั่นเอง
ยกตัวอย่าง ระบบการล้างรถยนต์ด้วยเครื่องล้างอัตโนมัติ
ระบบสารสนเทศ (Information System) เป็นการนาองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กัน
ของระบบมาใช้ในการรวบรวม บันทึก ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน
ควบคุม จัดการและสนับสนุนการตัดสินใจ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) หมายถึง เครื่องมือ
หรืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษา และประมวลผลข้อมูลนั้น พร้อมทั้งมีการจัดทารายงาน
ข้อมูลให้อยู่ในรูปที่จะนามาใช้ในการปฏิบัติงานบริหาร และตัดสินใจในหน่วยงานได้
MIS เป็นระบบที่รวมความสามารถของผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้
ได้มาซึ่งสารสนเทศเพื่อการดาเนินงานการจัดการ และการตัดสินใจในองค์การ
นอกจากนั้นยังช่วยผู้บริหารและพนักงานวิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหา และสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่โดย MIS
จะต้องใช้อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ (Hardware) และโปรแกรม (Software) ร่วมกับผู้ใช้ (Peopleware)
เพื่อก่อให้เกิดความสาเร็จในสารสนเทศที่มีประโยชน์
MIS คืออะไร
1. พัฒนาการของความรู้ สิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ
2. พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
3. การพัฒนาด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร
4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์
5. ความจาเป็นในการใช้สารสนเทศ
สาเหตุที่ทาให้เกิดสารสนเทศ
สารสนเทศที่มีคุณภาพจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถใช้สารสนเทศนั้น ๆ ในการตัดสินใจได้
อย่างมีประสิทธิภาพ คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดีมีคุณภาพควรจะมีลักษณะดังต่อไปนี้
ลักษณะของสารสนเทศ
1. ถูกต้องแม่นยา (Accurate) 7. ตรวจสอบได้ (Verifiable)
2. สมบูรณ์ครบถ้วน (Complete) 8. ยืดหยุ่น (Flexible)
3. เข้าใจง่าย (Simple) 9.สอดคล้องกับความต้องการ (Relevant)
4. ทันต่อเวลา (Timely) 10. สะดวกในการเข้าถึง (Accessible)
5. เชื่อถือได้ (Reliable) 11. ปลอดภัย (Secure)
6. คุ้มราคา (Economical)
ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 6 ส่วนดังนี้
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
กระบวนการ
ฮาร์ดแวร์
การสื่อสารและเครือข่าย
ซอฟต์แวร์
บุคลากร ข้อมูล

More Related Content

What's hot

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2Saharat Yimpakdee
 
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจManow Butnow
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจNapitchaya Jina
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs Min Kannita
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจManow Butnow
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...Pawit Chamruang
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจthawiwat dasdsadas
 

What's hot (14)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่2
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ประเภทของระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ประยุกต์ทางด้านธุรกิจ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ป...
 
ระบบสารสนเทศ 333
ระบบสารสนเทศ  333ระบบสารสนเทศ  333
ระบบสารสนเทศ 333
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
 
Mi sch2
Mi sch2Mi sch2
Mi sch2
 

Similar to หน่วยที่1

38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศTheerapat Nilchot
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพรjunyapron
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2 งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2 Sittisak Teanpanom
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11ninjung
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศTata Sisira
 

Similar to หน่วยที่1 (20)

38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2 งานคอมบทที่ 2
งานคอมบทที่ 2
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

หน่วยที่1

  • 2. ในสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society) ข้อมูล ข่าวสาร และสารสนเทศ (Information) เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อการดาเนินงานทั้งภาครัฐ และเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประกอบธุรกิจในยุคดิจิทัลที่มีการนาเทคโนโลยี สารสนเทศเข้ามาช่วยประกอบการตัดสินใจ (Decision Making) ในการจัดการ และบริหารงานด้านต่าง ๆ ทาให้ข่าวสารเป็นสิ่งที่ทุกคนจาเป็นจะต้องได้รับทราบ และเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว
  • 3. ข้อมูล, สารสนเทศ และการจัดการ ข้อมูล (Data) หมายถึง ค่าความจริง ซึ่งแสดงถึงความเป็นจริงที่ปรากฏขึ้น เช่น ชื่อ พนักงานและจานวนชั่วโมงการทางานในหนึ่งสัปดาห์, จานวนสินค้าที่อยู่ในคลังสินค้า เป็นต้น ข้อมูลมีหลายประเภท เช่น ข้อมูลตัวเลข ข้อมูล ตัวอักษร ข้อมูลรูปภาพ ข้อมูลเสียงและข้อมูลภาพ เคลื่อนไหว ซึ่งข้อมูลชนิดต่างๆ เหล่านี้ใช้ในการนาเสนอค่าความจริงต่างๆ โดยค่าความจริงที่ถูก นามาจัดการและปรับแต่งเพื่อให้มีความหมายแล้ว จะเปลี่ยนเป็นสารสนเทศ
  • 4. สารสนเทศ (INFORMATION) สารสนเทศ (Information) หมายถึงกลุ่มข้อมูลที่ถูกจัดการตามกฎหรือ ถูกกาหนด ความสัมพันธ์ให้เพื่อให้ข้อมูลเหล่านั้นเกิดประโยชน์หรือมีความหมายเพิ่มมากขึ้น ประเภทของ สารสนเทศขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่มีอยู่ ตัวอย่างเช่น จานวนยอดขายของตัวแทน จาหน่ายแต่ละคนในเดือนมกราคมจัดเป็นข้อมูล เมื่อนามาประมวลผลรวมกันทาให้ได้ยอดขายราย เดือนของเดือนมกราคม ทาให้ผู้บริหารสามารถนายอดขายรายเดือนมาพิจารณาว่ายอดขายเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ขององค์กรหรือไม่ได้ง่ายขึ้น ยอดขายรายเดือนนี้จึงจัดเป็น
  • 5. ขบวนการ (PROCESS) ขบวนการ (Process) หมายถึง การแปลงข้อมูลให้เปลี่ยนเป็นสารสนเทศ หรือกล่าวได้ว่า ขบวนการคือกลุ่มของงานที่สัมพันธ์กัน เพื่อทาให้เกิดผลลัพธ์ ตามที่ต้องการ
  • 6. การจัดการ (MANAGEMENT) การจัดการ (Management) หมายถึงการบริหารอย่างมีระบบ ซึ่ง ประกอบด้วยการกาหนดเป้าหมายและ ทิศทางขององค์กรและการปฏิบัติเพื่อให้ บรรลุเป้าหมายนั้น ซึ่งจะต้องมีการวางแผน การจัดการ การกาหนดทิศทางและการ ควบคุมเพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรได้อย่างเหมาะสม
  • 8. 1. ส่วนที่นาเข้า (INPUT) ส่วนที่นาเข้า (Inputs) ได้แก่การรวบรวมและการจัดเตรียมข้อมูลดิบ ส่วนที่นาเข้านี้ สามารถมีได้หลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการโทรเข้าเพื่อขอข้อมูลในระบบสอบถามเบอร์โทรศัพท์ ข้อมูลที่ ลูกค้ากรอกในใบ สอบถามการให้บริการของร้านค้าฯลฯ ขึ้นอยู่กับส่วนแสดงผลที่ต้องการ ส่วนที่นาเข้า นี้อาจเป็นขบวนการที่ทาด้วยตัวเองหรือเป็นแบบอัตโนมัติก็ได้ เช่นการอ่านข้อมูลรายชื่อสินค้าและราย ราคาโดยเครื่องอ่าน บาร์โค้ดของห้างสรรพสินค้า จัดเป็นส่วนที่นาเข้าแบบอัตโนมัติ
  • 9. 2. การประมวลผล (PROCESSING) การประมวลผล (Processing) เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนและการแปลงข้อมูลให้ อยู่ในรูปของส่วนแสดงผลที่มีประโยชน์ ตัวอย่างของการประมวลผลได้แก่การคานวณ การ เปรียบเทียบ การเลือกทางเลือกในการปฏิบัติงานและการเก็บข้อมูลไว้ใช้ในอนาคต โดยการ ประมวลผลสามารถทาได้ด้วยตนเองหรือสามารถใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยก็
  • 10. 3. ส่วนที่แสดงผล (OUTPUT) ส่วนที่แสดงผล (Output) เกี่ยวข้องกับการผลิตสารสนเทศที่มีประโยชน์ มักจะอยู่ในรูป ของเอกสาร หรือรายงานหรืออาจเป็นเช็คที่จ่ายให้กับพนักงาน รายงานที่นาเสนอผู้บริหารและ สารสนเทศที่ถูกผลิตออกมาให้กับผู้ถือหุ้น ธนาคาร หรือกลุ่มอื่นๆ โดยส่วนแสดงผลของระบบหนึ่งอาจ ใช้เป็นส่วนที่นาเข้าเพื่อควบคุมระบบหรืออุปกรณ์อื่นๆ ก็ได้ สุดท้ายออกมา อาจอยู่ในรูปของสิ่งพิมพ์ที่ ออกมาจากเครื่องพิมพ์หรือแสดงอยู่บนหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่เป็นอุปกรณ์แสดงผลตัวหนึ่งหรืออาจจะ อยู่ในรูปของรายงานและเอกสารที่เขียนด้วยมือก็ได้
  • 11. 4. ผลสะท้อนกลับ (FEEDBACK) ผลสะท้อนกลับ (Feedback) คือส่วนแสดงผลที่ใช้ในการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อส่วนที่นาเข้าหรือส่วนประมวลผล เช่น ความผิดพลาดหรือปัญหาที่เกิดขึ้น อาจจาเป็นต้องแก้ไขข้อมูลนาเข้าหรือทาการเปลี่ยนแปลงการประมวลผลเพื่อให้ได้ส่วนแสดงผล ที่ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น ระบบการจ่ายเงินเดือนพนักงาน ถ้าทาการป้อนชั่วโมงการทางานรายสัปดาห์เป็น 400 แทนที่จะเป็น 40 ชั่วโมง ถ้า ทาการกาหนดให้ระบบตรวจสอบค่าชั่วโมงการทางานให้อยู่ในช่วง 0-100 ชั่วโมง ดังนั้นเมื่อพบข้อมูลนี้เป็น 400 ชั่วโมง ระบบจะทาการ ส่งผลสะท้อนกลับออกมา อาจจะอยู่ในรูปของรายงานความผิดพลาด ซึ่งสามารถนาไปใช้ในการตรวจสอบและแก้ไขจานวนชั่วโมงการ ทางานที่นาเข้ามาคานวณให้ถูกต้องได้
  • 12. นอกจากคาว่าข้อมูลและสารสนเทศแล้ว ยังมีอีกคาหนึ่งที่เกี่ยวข้องกัน นั่นคือคาว่า “ความรู้” หรือ “Knowledge” ความรู้ คือ การรับรู้และความเข้าใจสารสนเทศจนถึงระดับที่สามารถวิเคราะห์ และสังเคราะห์ได้ คือมีความเข้าใจ (Understanding) ในองค์ประกอบต่าง ๆ จนอาจสร้างเป็นทฤษฎี หรือเป็นแบบจาลองทางความคิด และสามารถนาไปใช้เพื่อแก้ปัญหาในการดาเนินงานได้ ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
  • 13. ระบบ (System) หมายถึง กลุ่มของส่วนประกอบหรือระบบย่อยต่าง ๆ ที่มีการ ทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ ซึ่งส่วนประกอบของระบบประกอบด้วย การนาเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Process) ผลลัพธ์ (Output) และการให้ ข้อมูลสะท้อนกลับ (Feedback)
  • 14. กระบวนการทางานของระบบสารสนเทศจะประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน ข้อมูล สารสนเทศ และระบบสารสนเทศ การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ เป็นกิจกรรมการรวบรวมข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อการประมวลผล การประมวลผล เป็นการนาทรัพยากรที่ได้นาเข้าสู่ระบบมาปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปที่มีความหมายเพื่อใช้ ประโยชน์ในการตัดสินใจ วางแผน ควบคุม และดาเนินงานด้านต่าง ๆ ในการประมวลผลสามารถกระทาด้วยมือ (Manual) หรือจะใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ผลลัพธ์ เป็นผลผลิตที่ได้จากการประมวลผล โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของเอกสารหรือรายงานสารสนเทศ
  • 15. ส่วนที่นาเข้า คือ รถที่สกปรก น้า และน้ายาต่างๆ ที่ใช้ในการล้างรถ เวลาและพลังงานถูกใช้ในการปฏิบัติการล้างรถ ทักษะได้แก่ ความสามารถเฉพาะอย่างจะถูกนามาใช้ในการฉีดสเปรย์ ขัดโฟม และเป่าแห้ง ความรู้ถูกนามาใช้ในการกาหนดขั้นตอนการทางาน ของการล้างรถให้ทางานไปตามขั้นตอนที่ถูกต้อง การประมวลผล ประกอบด้วย ขั้นที่หนึ่ง การเลือกประเภทการล้างรถที่ต้องการ เช่น ล้างอย่างเดียว ล้างและขัดเงา ล้างและขัดเงา และเป่าแห้งฯลฯ และขั้นต่อไปทาการนารถเข้าไปในเครื่องล้างรถ (สังเกตว่าในส่วนนี้จะเกิดกลไกของผลสะท้อนกลับขึ้น ได้แก่การ ประเมินผลของเจ้าของรถที่มีต่อขบวนการล้างรถที่กาลังเกิดขึ้น) จากนั้นของฉีดของเหลวจะฉีดน้า สบู่เหลว หรือครีมขัดเงาไปที่รถ ขึ้นอยู่กับตัวเลือกที่เลือกไว้ในตอนต้น ส่วนที่แสดงผล คือรถที่สะอาดแล้วจากตัวอย่าง จะเห็นว่าส่วนประกอบอิสระต่างๆ ในระบบล้างรถอัตโนมัติ เช่นเครื่องฉีด ของเหลว แปลงสาหรับทางโฟม และเครื่องเป่าแห้ง ทางานโต้ตอบกัน เพื่อให้รถสะอาดนั่นเอง ยกตัวอย่าง ระบบการล้างรถยนต์ด้วยเครื่องล้างอัตโนมัติ
  • 16. ระบบสารสนเทศ (Information System) เป็นการนาองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กัน ของระบบมาใช้ในการรวบรวม บันทึก ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน ควบคุม จัดการและสนับสนุนการตัดสินใจ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
  • 17. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) หมายถึง เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษา และประมวลผลข้อมูลนั้น พร้อมทั้งมีการจัดทารายงาน ข้อมูลให้อยู่ในรูปที่จะนามาใช้ในการปฏิบัติงานบริหาร และตัดสินใจในหน่วยงานได้ MIS เป็นระบบที่รวมความสามารถของผู้ใช้งานและคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ ได้มาซึ่งสารสนเทศเพื่อการดาเนินงานการจัดการ และการตัดสินใจในองค์การ นอกจากนั้นยังช่วยผู้บริหารและพนักงานวิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหา และสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่โดย MIS จะต้องใช้อุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์ (Hardware) และโปรแกรม (Software) ร่วมกับผู้ใช้ (Peopleware) เพื่อก่อให้เกิดความสาเร็จในสารสนเทศที่มีประโยชน์ MIS คืออะไร
  • 18. 1. พัฒนาการของความรู้ สิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ 2. พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 3. การพัฒนาด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร 4. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์ 5. ความจาเป็นในการใช้สารสนเทศ สาเหตุที่ทาให้เกิดสารสนเทศ
  • 19. สารสนเทศที่มีคุณภาพจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถใช้สารสนเทศนั้น ๆ ในการตัดสินใจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดีมีคุณภาพควรจะมีลักษณะดังต่อไปนี้ ลักษณะของสารสนเทศ 1. ถูกต้องแม่นยา (Accurate) 7. ตรวจสอบได้ (Verifiable) 2. สมบูรณ์ครบถ้วน (Complete) 8. ยืดหยุ่น (Flexible) 3. เข้าใจง่าย (Simple) 9.สอดคล้องกับความต้องการ (Relevant) 4. ทันต่อเวลา (Timely) 10. สะดวกในการเข้าถึง (Accessible) 5. เชื่อถือได้ (Reliable) 11. ปลอดภัย (Secure) 6. คุ้มราคา (Economical)
  • 20. ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยส่วนประกอบหลัก 6 ส่วนดังนี้ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ กระบวนการ ฮาร์ดแวร์ การสื่อสารและเครือข่าย ซอฟต์แวร์ บุคลากร ข้อมูล