SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
จริยธรรมของนักการเมือง
นักการเมือง
นักการเมือง
หมายถึง ตัวแทนภาคประชาชนที่อาสาเข้ามาปฏิบัติ
หน้าที่ตามระบอบประชาธิปไตย ทั้งในระดับท้องถิ่น
และในระดับชาติ ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ตามกฎหมาย
กาหนดไว้โดยมีเป
้ าหมาย คือ ประโยชน์สุขของ
ประชาชนในชาติ
จริยธรรมของนักการเมือง
จริยธรรมของนักการเมือง
หมายถึง การประพฤติปฏิบัติในการทาหน้าที่ของ
นักการเมืองที่แสดงออกถึงความจริงจังต่ออุดมการณ์
ความรับผิดชอบ การมีวิจารณญาณต่อความถูกต้อง
เหมาะสม ประกอบด้วย การประพฤติปฏิบัติต่อประชาชน
การประพฤติปฏิบัติต่อพรรคการเมืองที่สังกัด การ
ประพฤติปฏิบัตินักการเมืองและพรรคการเมืองฝ
่ ายตรง
ข้าม และการประพฤติปฏิบัติต่อการทาหน้าที่ในการประชุม
สภา
จริยธรรมที่พึงประสงค์
สาหรับนักการเมือง
จริยธรรมที่พึงประสงค์
สาหรับนักการเมือง
หมายถึง สิ่งที่ควรประพฤติปฏิบัติในหน้าที่
ของนักการเมืองไทยที่ประชาชนปรารถนา
ประกอบด้วย การมีจริยธรรมต่อประชาชน จริยธรรม
ต่อพรรคการเมือง จริยธรรมต่อนักการเมืองฝ
่ ายตรง
ข้าม และจริยธรรมต่อการทาหน้าที่ในการประชุมสภา
สามารถให้ความหมายในแต่ละด้านได้ดังต่อไปนี้
จริยธรรมที่พึงประสงค์
สาหรับนักการเมือง
• จริยธรรมต่อประชาชน
• จริยธรรมต่อพรรค
• จริยธรรมต่อนักการเมืองและพรรคฝ
่ ายตรง
ข้าม
• จริยธรรมต่อการทาหน้าที่ในการประชุมสภา
Karl Emil Maximilian "Max" Weber
คาร์ล เอมิล มักซิมิเลียน "มักซ์" เวเบอร์
(Karl Emil Maximilian "Max" Weber)
(21 เมษายน ค.ศ. 1864 – 14 มิถุนายน ค.ศ. 1920)
เป
็ นนักเศรษฐศาสตร์การเมือง
และนักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ถือกัน
ว่าเวเบอร์เป
็ นผู้ก่อตั้งวิชาสังคมวิทยา
สมัยใหม่และรัฐประศาสนศาสตร์ งาน
ชิ้นหลัก ๆ ของเขาเกี่ยวข้องกับสังคม
วิทยาศาสนาและสังคมวิทยาการ
ปกครอง
ในทรรศนะของเวเบอร์
นักการเมืองจึงควรมีคุณสมบัติที่สาคัญ ๓ ประการคือ
1. มีอารมณ์ผูกพันแน่วแน่ จริงจังต่ออุดมการณ์ (Passion)
หมายความว่า นักการเมืองจะต้องรู้สึกห่วง กังวล
เอาใจใส่ต่อสิ่งที่เขาต้องการจะต่อสู้ คาว่า Passion ไม่ใช่
อารมณ์ที่เป็นความตื่นเต้นที่ไร้ความหมาย หรือเป็นเพียง
เจตคติภายใน (Inner Attitude) เท่านั้น แม้แต่การปฏิวัติที่
ปราศจากความรับผิดชอบก็ไม่ถือว่าเป็น Passion
ในทรรศนะของเวเบอร์
นักการเมืองจึงควรมีคุณสมบัติที่สาคัญ ๓ ประการคือ
2. มีความรับผิดชอบ (Responsibility)
จริยธรรมของความรับผิดชอบเป็นตัวชี้วัดให้เห็นว่า
นักการเมืองมีความมุ่งมั่นที่จะทางานเพื่ออุดมการณ์
หรือไม่
ในทรรศนะของเวเบอร์
นักการเมืองจึงควรมีคุณสมบัติที่สาคัญ ๓ ประการคือ
3.มีวิจารณญาณ (Judgement)
หมายถึง ความสามารถที่จะรักษาไว้ซึ่งความไม่
หวั่นไหวและความสงบ แต่สนองตอบต่อสภาพความเป็น
จริง หรือการต้องพิจารณาสิ่งต่างๆ และคนจากระยะห่าง
การขาดวิจารณญาณถือเป็นความผิดประการหนึ่งของ
นักการเมือง เป็นสิ่งที่ทาให้ไร้ประสิทธิภาพทางการเมือง
ในทรรศนะของเวเบอร์
นักการเมืองจึงควรมีคุณสมบัติที่สาคัญ ๓ ประการคือ
คุณสมบัติทั้งสามประการจะประกอบกันเป็นจริยธรรม
ของนักการเมือง เป็นพลังที่เสริมสร้างบุคลิกภาพของ
นักการเมืองเพื่อดาเนินกิจกรรมทางการเมือง อันเป็นกิจกรรม
ของมนุษย์อย่างแท้จริง นักการเมืองจึงจาเป็นต้องมีอุดมการณ์ มี
ความรับผิดชอบ และมีวิจารณญาณเป็นเครื่องกากับความหลง
ตัวเอง (Vanity) ถือเป็นสิ่งที่คุกคามอาชีพนักการเมือง ทาให้ขาด
ความเป็นกลาง ขาดความรับผิดชอบ และนาไปสู่การขาดความดี
ของตัวนักการเมืองเองด้วย
ในทรรศนะของเวเบอร์
นักการเมืองจึงควรมีคุณสมบัติที่สาคัญ ๓ ประการคือ
นักการเมืองจะถูกพิจารณาจากสาธารณชนว่า ควรมี
จริยธรรมหรือคุณธรรม มากกว่าปัจเจกชนทั่วไป ซึ่งถือเป็น
“ความชอบธรรม” ขั้นพื้นฐานของการดารงตาแหน่งทาง
การเมือง โดยลักษณะดังกล่าวมีระดับความสาคัญแตกต่างกันไป
ในแต่ละสังคม แต่อาจถือเป็นลักษณะทั่วไปที่เป็นเป
้ าหมายของทุก
สังคมที่ต้องการให้ปรากฏขึ้นจริง เพราะคุณลักษณะเช่นนี้ คือ
จุดเริ่มต้นของที่มาของความไว้วางใจจากประชาชน ดังนี้
ในทรรศนะของเวเบอร์
นักการเมืองจึงควรมีคุณสมบัติที่สาคัญ ๓ ประการคือ
ปัญหาต่างๆ ที่เกิดจาก
ความบกพร่อง
ต่อ
จริยธรรมของนักการเมือง
ปัญหาการทุจริตคดโกง
ปัญหาความขัดแย้งของแต่ละฝ
่ าย
ปัญหาการเห็นประโยชน์แก่ตนและพวกพ้อง
ข้อมูลจากการวิจัยในเรื่อง
ปัญหาการคอรัปชั่นของนักการเมืองไทย
ปัญหาการคอรัปชั่นของนักการเมืองไทย
ปัญหาของนักการเมืองไทยในปัจจุบัน
• การทุจริตเลือกตั้ง
• ฉ้อราษฎร์บังหลวงช่วยเหลือพวกพ้องให้ได้ตาแหน่ง
• แทรกแซงอานาจหน้าที่ของข้าราชประจา
• ใช้ทรัพย์สินงบประมาณราชการเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
• บังคับให้ข้าราชการผู้น้อยทาผิดแทนตน
• ปรับหรือออกกฎหมายที่เอื้อประโยชน์นักการเมือง ดังที่
เห็นในปัจจุบัน
• เอาใจออกห่างจากการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็ นประมุข
ปัญหาของนักการเมืองไทยในปัจจุบัน
• ยกเว้นการเอาผิดทางจริยธรรมกับนักการเมืองบางกลุ่ม
• แกล้ง หรือใส่ร่ายป
้ ายสีนักการเมืองฝ
่ ายตรงข้าม
• มีผลประโยชน์ทับซ้อน
• ไม่โปร่งใส
• ใช้เงินซื้อเสียง
• แสวงหาผลประโยชน์จากการบริหารงานอภิมหาโปรเจ็ค
ต่างๆ
• ดึงงบประมาณไปยังจังหวัดของตน
ปัญหาของนักการเมืองไทยในปัจจุบัน
• ประชานิยม ซึ่งปรากฏชัดเจนนับตั้งแต่ พ.ศ. 2544 ของ
รัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ซึ่งนโยบายเหล่านี้จะไม่มีปัญหา
หากช่วยให้ประชาชนเลี้ยงตัวเองได้ในระยะยาว แต่กลับ
ไม่เป็ นเช่นนั้น เพราะการให้เงินประชาชนเปล่าๆ ทาให้
เกิดหนี้สินและไม่สามารถตั้งตัวได้
สาหรับการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต้องปฏิรูประบบการศึกษา ปรับค่านิยมยกย่อง
คนมีความรู้ความสามารถมากกว่าคนร่ารวย กาหนดบทลงโทษเพิ่มเติมสาหรับจริยธรรม
วิชาชีพ จัดตั้งหน่วยงายเฉพาะดูแลจริยธรรมนักการเมือง ให้ความรู้และกระตุ้นจิตสานึก
ประชาชนให้สอดส่องดูแลจริยธรรม Social Sanction หรือคว่าบาตรนักการเมืองที่ประพฤติ
ผิดทางจริยธรรม ที่สาคัญสังคมไทยควรเปลี่ยนแปลงระบบอุปถัมภ์ที่ฝังรากลึก ใช้
วัฒนธรรมสร้างชาติไม่โกงกิน ทั้งนี้ สื่อควรแสดงบทบาทเป
ิ ดโอกาสให้สังคมรับรู้พฤติกรรม
นักการเมือง และควรให้นักการเมืองที่จะลงสมัครเลือกตั้งต้องผ่านการอบรมจริยธรรมก่อน
• มีความขัดแย้งทางความคิดการเมืองอย่างรุนแรง หยั่งลึก
จากระดับประเทศไปถึงระดับครอบครัวคนไทย
• การใช้อานาจการปกครองที่กระทาอยู่เดิม ไม่สามารถแก้ไข
ปัญหาความขัดแย้ง ความแตกแยก และการกระทาผิดของ
กลุ่มต่าง ๆ ได้อีกต่อไป
• แนวทางการเลือกตั้งในรูปแบบเดิมมีการต่อต้านอย่าง
กว้างขวาง ถ้าเลือกตั้งต่อไปในสถานการณ์เช่นนี้ อาจเกิด
ปัญหาความวุ่นวายไม่จบสิ้น
• ปัญหาทุจริต มีคดีความจานวนมากอยู่ในชั้นศาล
และยังรอกระบวนการยุติธรรมตัดสิน
• การชุมนุมทางการเมืองที่มีต่อเนื่องมาถึง 6 เดือน ซึ่งมีสาเหตุมา
จากความขัดแย้งทางความคิด และการแก่งแย่งผลประโยชน์ทาง
การเมือง ตลอดระยะเวลา 9 ป
ี ที่ผ่านมา (วิกฤตการณ์การ
เมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 และ พ.ศ. 2556–2557) ส่งผล
กระทบต่อการใช้ชีวิตของประชาชนทุกหมู่เหล่า ทาให้ประชาชน
แตกความสามัคคี จนไม่อาจปรองดองกันได้
• การบังคับใช้กฎหมายปกติต่อปัญหาข้างต้น บังคับใช้ไม่ได้ทุก
กลุ่ม ทาให้เกิดความหวาดระแวง เกลียดชังกันในหมู่ประชาชน
เป
็ นวงกว้าง ความเคลื่อนไหวของทุกฝ
่ าย โดยเฉพาะแกนนาที่มี
ความผิด ตามกระบวนการยุติธรรม นาไปสู่การยุยงปลุกปั่นแนว
ร่วมของฝ
่ ายตน ให้พร้อมที่จะกระทาการใด ๆ ต่อฝ
่ ายตรงข้าม
ด้วยความรุนแรง
• การบริหารราชการแผ่นดินในห้วงที่ผ่านมาไม่สามารถ
กระทาได้ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของชาติ และก่อปัญหา
ความเดือดร้อนต่อประชาชนทุกระดับจนถึงรากหญ้า
• มีการล่วงละเมิดสถาบันกษัตริย์ตามมาตรา 112 ทั้งทางลับ
และเป
ิ ดเผย สร้างความไม่พอใจและเกลียดชังของประชาชน
โดยรวม ที่มีความจงรักภักดีต่อสถาบันฯ
• การปลุกระดมมวลชนที่มุ่งเอาชนะฝ
่ ายตรงข้ามโดยไม่
คานึงถึงผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ทวีความรุนแรงและ
เป
็ นไปอย่างกว้างขวางทั่วประเทศ
• ปรากฏชัดว่ามีการจัดตั้งและใช้กองกาลังติดอาวุธ
รวมถึงการตระเวนอาวุธสงครามจานวนมาก เพื่อ
ปฏิบัติการอย่างรุนแรงต่อฝ
่ ายตรงข้ามของตน โดยไม่
คานึงถึงความปลอดภัยของประชาชนผู้บริสุทธิ์ ซึ่ง
กองทัพจะยอมให้เกิดขึ้นในประเทศชาติไม่ได้โดย
เด็ดขาด
ขอต้อนรับทุกท่านเข้าสู่
...ช่วงเสวนา
แลกเปลี่ยน...
ความคิดเห็น !
ประเด็นที่เราจะถก
การแก้ไขปัญหาทุจริตคอรัปชั่น
เรื่อง...
การพัฒนา
จริยธรรมของนักการเมือง
เรื่อง...
แล้วเรื่อง...นี้ล่ะ
แน่นอนว่า...
ในการปฏิรูปครั้งนี้ คงจะไม่มีฝ
่ ายใดเป็ นผู้ “ได้”
หรือ “เสีย” ทั้งหมด ความสาคัญจึงอยู่ที่ว่า แต่ละ
ฝ
่ ายที่เข้ามามีส่วนร่วมจะยอมเป็ นฝ
่ าย “เสีย” และ
“ได้” ในบางเรื่องมากน้อยเพียงใด ซึ่งหาก คสช.
สามารถจัดการเรื่องนี้ได้ โอกาสที่จะประสบ
ความสาเร็จก็มีมาก แต่หากไม่สามารถจัดการได้
โอกาสแห่งความล้มเหลวก็มีมากเช่นเดียวกัน...
แก้ไขแล้ว !!! จริยธรรมของนักการเมือง
แก้ไขแล้ว !!! จริยธรรมของนักการเมือง

More Related Content

What's hot

Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
Ging Bhoon
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
anekphong
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..
Moo Moo
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
Wangkaew
 

What's hot (20)

Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..การร้อยเรียงประโยค..
การร้อยเรียงประโยค..
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
ความหมายและขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสองเนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
เนื้อหาและแบบฝึกหัดเรื่องนางสิบสอง
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
บทที่5 สรุปผล
บทที่5 สรุปผลบทที่5 สรุปผล
บทที่5 สรุปผล
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรงรูปแบบการสอนแบบทางตรง
รูปแบบการสอนแบบทางตรง
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 

แก้ไขแล้ว !!! จริยธรรมของนักการเมือง