SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
พิษจากปลาปักเป้า
จัดทาโดย
นาย นันทกร ปินผง เลขที่ 32
นาย พีรพัฒน์ วงศ์สุวรรณ์ เลขที่ 33
ผู้จัดทา
อ้างอิงวิธีป้องกันพิษจากปลาปักเป้า
ลักษณะของปลาปักเป้า
พิษของปลาปักเป้า
ปลาปักเป้าจุดแดง
ปลาปักเป้าจุดดา
ปลาปักเป้าสุวัตถิ
ปลาปักเป้าดา
โครงร่าง
หน้าหลัก..พิษจากปลาปักเป้า
ประโยชน์ของปลาปักเป้า
VIDEO
QUICK TIPS
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันนี้มีพิษมากมายหลายชนิดหลายรูปแบบ และพิษของปลาปักเป้านั้น เป็นพิษชนิดหนึ่ง
ที่อันตราย และควรระวังเป็นอย่างมาก และทุกคนได้บาดเจ็บและล้มตายเป็นจานวนมากด้วยพิษชนิดนี้
ซึ่งเข้าสู่ร่างกายด้วยชนิด ต่างๆ เช่น การรับประทานปลาปักเป้าที่ปรุงไม่ได้มาตรฐาน(เหลือสารพิษตกค้าง
จากปลาปักเป้า,ถอนพิษจกปลา ปักเป้าไม่หมด) การสัมผัสโดยไม่มีการป้องกัน เป็นต้น และพิษชนิดนี้มีชื่อว่า
เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) มีความรุนแรงกว่าไซยาไนด์ถึง 1,200 เท่า และทนความร้อนได้สูงถึง
200 องศาเซลเซียส ดังนั้นจึงไม่สามารถทาลาย พิษได้ด้วยการใช้ความร้อนปกติในการปรุงอาหาร และไม่มี
ยาแก้พิษใดๆ ต่อต้านได้ซึ่งเตโตรโดท็อกซินนั้นอยู่ใน อวัยวะทุกส่วนของปลาปักเป้า โดยที่มีปริมาณการสะสม
ของพิษไม่เท่ากัน ส่วนที่สะสมพิษมาก ได้แก่ รังไข่,อัณฑะ,ตับ,ผิวหนังและลาไส้ พบน้อยในกล้ามเนื้อ แต่แม้
การรับประทานเนื้อปลาไปเพียงแค่ 1 มิลลิกรัม ก็ทาให้เสียชีวิตได้ ยิ่งโดยเฉพาะผู้มีอาการแพ้อย่างรุนแรงมี
โอกาสเสียชีวิตได้สูงถึงร้อยละ 50 หากได้รับพิษเข้าไป การที่ปลาปักเป้ามีพิษ ที่ร้ายแรงเช่นนี้ในร่างกายก็เพื่อ
ป้องตัวกันจากการถูกกินจากสัตว์อื่นนั่นเอง ซึ่งพิษของปลาปักเป้านั้นไม่ได้แปร เปลี่ยนไปตามสภาพ
สิ่งแวดล้อมหรือฤดูกาลเช่นเดียวกับแมงดาทะเล นอกจากนี้แล้ว ในตัวปลาปักเป้าเองยังมีพิษอีก ชนิดหนึ่ง ที่
มีลักษณะคล้ายเตโตรโดท็อกซิน นั่นคือ ซาซิท็อกซิน (Saxitoxin) ซึ่งมักพบในปลาปักเป้าที่อยู่ในน้าจืดอีก
ด้วย ดังนั้น พิษจากปลาปักเป้านั้นควรศึกษาทาความเข้าใจแล้วทาความรู้จักให้มากขึ้น เพื่อให้ทุกท่าน
ระมัดระวัง อันตรายจากพิษชนิดนี้มากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาถึงอันตรายจากพิษของปลาปักเป้า
2. รู้วิธีป้องกันพิษจากปลาปักเป้า
ขอบเขตของโครงงาน
ชนิดของปลาปักปักที่มีพิษในไทยทั้งน้าจืดและน้าเค็ม พิษ
แต่ละชนิดที่พบในตัวปลาปักเป้าส่วนมาก
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
บุคคลทั่วไปได้รู้จักและเข้าใจถึงอันตรายจากพิษปลาปักเป้า และ
สามารถป้องกันตัวเบื้องต้นจากพิษของปลา ปักเป้าได
ปลาปักเป้าดา
ปลาปักเป้าน้าจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pao cochinchinensis อยู่ใน
วงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 8 เซนติเมตร พบใหญ่สุด
13 เซนติเมตร รูปร่างกลมป้อม หัวท้ายเรียว ปากเล็ก ตาโต ด้านหลังและด้านท้องมีผิวสากเป็น
หนามเล็กละเอียด ด้านท้องนิ่มขยายตัวได้มาก ครีบหลังเล็กเช่นเดียวกับครีบก้น ลาตัวสีเขียวอมเทา
คล้าหรือสีน้าตาลเข้ม มีดวงหรือลายสีดาประทั่วตัว บางตัวอาจมีสีจางที่ด้านท้อง ตาแดง ครีบสีจาง
ปลาปักเป้าสุวัตถิ
ปลาปักเป้าสุวัตถิ หรือ ปักเป้าควาย ได้รับการตั้งชื่อพันธุ์เพื่อเป็นเกียรติแด่ ศ.โชติ สุวัตถิ
อดีตคณบดีคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ค้นพบครั้งแรกในแม่น้าโขง จ.หนองคาย มี
จุดเด่น ปากเรียวยาวงอนขึ้น ด้านบน มีลายคล้ายลูกศรบริเวณด้านบนระหว่างตาทั้งสองข้าง ลาตัว
มีสีส้มแดงและมีจุดดากระจายอยู่ทั่ว จัดเป็นปลาปักเป้าน้าจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
ปลาปักเป้าจุดแดง
ปลาปักเป้าจุดแดง หรือ ปักเป้าจุดส้ม มีลักษณะคล้ายปักเป้าจุดดา แต่มีจุดแดง หรือจุด
ส้ม กระจายอยู่ทั่วตัว
พิษของปลาปักเป้าน้าจืดเมื่อได้รับพิษเข้าสู่ร่างกายแล้ว ทาให้รู้สึกชาที่ริมฝีปาก ลิ้น
ปลายนิ้วมือ คลื่นไส้วิงเวียน แขนขาไม่มีแรง ยืนและเดินไม่ได้ หายใจลาบาก หมดสติ จะเสียชีวิตใน
เวลาต่อมา ปัจจุบันยังไม่มีตัวยาใดแก้พิษได้
ปลาปักเป้าจุดดา
ปลาปักเป้าจุดดา หรือ ปลาปักเป้าเขียวจุด มีรูปร่างกลมป้อม หัวท้ายเรียว ปากเล็ก
ตาโต ด้านหลังและด้านท้องมีผิวสากเป็นหนามเล็กละเอียด ด้านท้องนิ่มขยายตัวได้มาก ครีบหลัง
เล็ก เช่นเดียวกับครีบก้น พื้นลาตัวเป็นสีเหลืองสด ท้องสีขาว มีจุดกลมสีดากระจายอยู่ทั่วตัว
ลักษณะของปลาปักเป้า
ตามปรกติปลาปักเป้าจะมีสภาพ เหมือนปลา ทั่วไป มีหนามสั้น หรือยาวแล้วแต่ชนิด หากถูกรบกวนจะ
พองตัวโตขึ้น มีรูปร่างคล้ายลูกโป่ง หรือลูกบอลลูน หรือคล้ายผลทุเรียนลูกกลม ๆมีหนามแหลม ๆ สั้นหรือยาวได้อย่าง
ชัดเจน ทางด้านวิชาการได้จัดแบ่งปลาปักเป้าไว้ 2 วงศ์ ได้แก่Tetraodontidae ลักษณะปลาปักเป้า ในวงศ์นี้จะมี
ฟัน 4 ซี่ มีผิวตัวค่อนข้างเกลี้ยง อีกวงศ์หนึ่งเรียกว่า Diodontidae ในวงศ์นี้มีฟัน 2 ซี่ คล้ายจงอยปากนกแก้ว และ
มีหนามรอบตัว เห็นได้ชัดเจนกว่าชนิดแรก ในประเทศไทย มีปลาปักเป้าทั้งชนิดที่อาศัยอยู่ในน้าจืดและน้าเค็ม รวมกัน
ประมาณราว 20 ชนิด ปลาปักเป้าทะเล (marine puffer fish) มีชื่อเรียกต่างกันไป ได้แก่toad fish,globe
fish,toado,swell fish,porcupine fish และ balloon fish เป็นต้น ปลาปักเป้าทะเลเป็นที่รู้จักดี และ
คุ้นเคยของชาวประมง ถ้าพบเห็นบนเรือลากอวน เขามักจะทาลายมันทิ้งหรือโยน มันกลับลง ไปในทะเล ในประเทศ
ญี่ปุ่นเรียกปลาชนิดนี้ว่า “fugu” เนื้อปลาปักเป้าสดตามภัตตาคารใหญ่ ๆ มีราคาสูงมากเนื่องจากชาวญี่ปุ่นนิยม
รับประทานกันมาก เนื้อปลาปักเป้าสดที่จาหน่ายจะต้อง เตรียมโดยผู้ที่มีความชานาญเฉพาะเป็นอย่างดีเพื่อลดอันตราย
จากพิษของปลาให้มากที่สุด โดยชาวญี่ปุ่นนิยมบริโภคปลาปักเป้าโดยทาเป็นปลาดิบ (Sushi)จนเป็นอาหารประจา
ชาติญี่ปุ่นที่ขึ้นชื่อเป็นที่รู้จัก แม้กระนั้นในช่วง 20 ปี ระหว่างปี ค.ศ. 1955-1975 มีผู้บริโภคเนื้อปลาปักเป้าเป็นพิษรวม
3,000 ราย ในจานวนนี้มีผู้เสียชีวิตถึงร้อยละ 51 เหตุผลหนึ่งที่ทาให้ เนื้อปลาปักเป้าเป็นที่นิยมของชาว ญี่ปุ่นก็คือเนื้อ
ปลามีรสชาติที่วิเศษ หวาน กรุบ และอร่อยดี สาหรับประเทศไทย มีผู้ได้รับพิษ จากการ บริโภคปลาปักเป้าทั้งชนิดน้าจืด
และชนิดน้าเค็ม ซึ่งมีรายงานทางการแพทย์บ้างเป็นครั้งคราว โดยเฉพาะรายงานผู้ป่วยในภาคอีสาน ชาวบ้านจะนาปลา
ปักเป้าที่จับได้จาก หนองน้า ลาธาร มาต้มหรือย่าง และแบ่งรับประทานกัน
พิษของปลาปักเป้า
เทโทรโดท็อกซิน หรือ เท็ตโทรโดท็อกซิน จัดเป็นสารพิษจากสัตว์ทะเลที่สาคัญ 1 ใน 3
ชนิด ที่จัดว่าเป็นอันตรายมากต่อสุขภาพโดยส่วนใหญ่จะพบได้ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งก็
จะรวมประเทศไทยด้วยการเกิดพิษจากเทโทรโดท็อกซินนี้ส่วนใหญ่จะมีสาเหตุเนื่องมาจากการ
รับประทานปลาที่มีสารพิษดังกล่าวอยู่โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลาปักเป้า (Puffer fish หรือ
Fugu) จะพบได้บ่อยมากในประเทศญี่ปุ่นเนื่องจากปลาปักเป้าเป็นอาหารจานพิเศษ จะมีบริการ
ลูกค้าในช่วงระหว่างเดือนตุลาคมถึงมีนาคม และเป็นสาเหตุของการตายจากการรับประทานปลา
ในญี่ปุ่นได้สูงถึง 100 ราต่อปีในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 แต่หลังจากการกาหนดให้พ่อครัวชาวญี่ปุ่นที่
จะปรุงอาหารจานพิเศษต้องได้รับการฝึกการหั่นเตรียมปลาปักเป้าและขึ้นทะเบียนโดยรัฐบาล
รายงานการตายก็ลดลงมากจนเหลือเพียงประมาณ 50 รายต่อปี นอกจากในประเทศญี่ปุ่นแล้ว ก็มี
รายงานการตายจากการรับประทานปลาปักเป้าในประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง และออสเตรเลีย เช่นกัน
อาการของพิษจะกาเริบขึ้นหลังได้รับพิษจากปลาประมาณ 30
นาที ถึงหลายชั่วโมง ขึ้นกับปริมาณที่รับประทาน อาการพิษจากสาร
Tetrodotoxin ที่เกิดขึ้นแบ่งเป็น 4 ขั้น คือ
ขั้นแรก:ชาที่ริมฝีปาก ลิ้น ปลายนิ้วมือ คลื่นไส้ วิงเวียน อาเจียน
กระสับกระส่าย
ขั้นที่สอง:ชามากขึ้น อาเจียนมาก อ่อนเพลีย แขนขาไม่มีแรง ยืนและเดิน
ไม่ได้
ขั้นที่สาม:เคลื่อนไหวแขนขาไม่ได้ พูดลาบากจนถึงพูดไม่ได้ เนื่องจากสาย
กล่องเสียงเป็นอัมพาต ผู้ป่วยยังรู้สึกตัว
ขั้นที่สี่:กล้ามเนื้อเป็นอัมพาตทั่วไป หายใจลาบาก เขียวคล้า หมดสติ รู
ม่านตาโตเต็มที่ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องผู้ป่วย
จะเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วอาการอาจแรงขึ้นจากขั้นแรกถึงขั้นที่สี่และ
อาจเสียชีวิตได้ในเวลาเพียง 10-15 นาทีเท่านั้น
ความเป็นพิษ:พิษปลาปักเป้าขนาดที่ทาให้คนเสียชีวิต คือประมาณ ๒
มิลลิกรัม ปลาปักเป้าทะเลมีพิษมากที่สุดในส่วนของไข่ ตับ ลาไส้ หนัง ส่วนที่
เป็นเนื้อปลาจะมีพิษน้อยมากหรือไม่มีเลย พิษจะมากในช่วงฤดูปลาวางไข่ ส่วน
ปลาปักเป้าน้าจืด ปลาแต่ละตัวจะมีพิษแตกต่างกันมาก พิษจะมีมากที่สุดใน
หนังปลา รองลงมาเป็นไข่ปลา เนื้อปลา ตับ และลาไส้ ตามลาดับ ปลาปักเป้า
น้าจืดที่ชาวอีสานบริโภคเป็นประจา คือ Tetraodon fangi และ
Tetraodon palembangensis ชนิดหลังนี้ลักษณะตามลาตัวจะเห็น
เป็นลายเส้นสีดาคล้ายตาข่ายอยู่ทั่วลาตัวและหัว พิษ tetrodotoxin นี้มี
ความคงทนต่อความร้อนได้เป็นอย่างดี ขนาดความร้อนที่อุณหภูมิ ๑๗๐ องศา
เซลเซียส ต้มนาน ๑๐ นาที พิษก็ยังคงสภาพดีอยู่เหมือนเดิม
ลักษณะอาการของคนที่ได้รับพิษ อาการพิษจะเกิดขึ้นหลังจากกินปลา
ปักเป้าประมาณ ๑๐-๔๕ นาที บางราย อาจนานถึง ๔ ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับปริมาณ
ของพิษที่ผู้ป่วยได้รับเข้าไป อาการเป็นพิษอาจแบ่งออกได้เป็น ๔ ระยะ
• ระยะที่ ๑ ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการชาที่ริมฝีปาก ลิ้น บริเวณใบหน้า ปลายนิ้วมือ
คลื่นไส้ อาเจียน
• ระยะที่ ๒ มีอาการชามากขึ้น อ่อนเพลีย แขนขาไม่มีแรงจนเดินหรือยืนไม่ได้
• ระยะที่ ๓ มีกล้ามเนื้อกระตุกคล้ายกับชัก มีอาการพูดลาบาก ตะกุกตะกักจน
พูดไม่ได้ เนื่องจากสายกล่อง เสียงเป็นอัมพาต ระยะนี้ผู้ป่วยยังรู้สึกตัวดี
• ระยะที่ ๔ กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต หายใจไม่ออก ไม่รู้สึกตัว รูม่านตาขยายโต
เต็มที่ ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องหัวใจจะหยุด
เต้น และเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว
วิธีป้องกันพิษจากปลาปักเป้า
-การดูแลก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital Care)
ให้การดูแลอย่างระมัดระวังตามหลัก ABOs ควรใส่ท่อช่วยหายใจให้ผู้ป่วย เพื่อให้ออกซิเจน และเพื่อ
ป้องกันอันตรายจากการอาเจียน และกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรง รักษาอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการให้สารน้า
อิเลคโตรไลต์ ยาขับปัสสาวะ และยาควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ ในผู้ป่วยที่ได้รับพิษรุนแรง กล้ามเนื้อมักอ่อนแรง
เป็นอัมพาต ทาให้พูดลาบาก หรือให้ประวัติไม่ได้ ดังนั้นจึงต้องอาศัยข้อมูลจากผู้อยู่ในเหตุการณ์และสภาพแวดล้อม
ช่วย
-การดูแลในห้องฉุกเฉิน (Emergency Department Care)
1.ให้การดูแลเหมือนการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาล
2.ใส่ท่อทางจมูกหรือทางปากเข้ากระเพาะเพื่อล้างสารพิษออกมาร่วมกับใช้ผงถ่านกัมมันต์ดูดซับ พิษ
3.ดูแลสัญญาณชีวิต (vital signs) เช่นอัตราการเต้นของหัวใจ ชีพจร ความดันโลหิต อย่าง ระมัดระวังหากมี
อาการไม่ดีให้การรักษาแบบรีบด่วนทันที
4.ดูแลการทางานของระบบไหลเวียนโลหิตจนกว่าพิษจะถูกขจัดหมด
-การดูแลหลังบาบัดฉุกเฉิน (Further Inpatient
Care)
1.ผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากปลาปักเป้าหลังออกจากห้องฉุกเฉิน แล้ว ควรดูแลต่อในห้อง ICU อาการผู้ป่วยจะดีขึ้นภายใน 6
หรืออย่างช้า 12 ชั่วโมง
2.การพยากรณ์โรค (Prognosis)
3.จากสถิติพบว่าแม้ให้การดูแลอย่างดี ผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากปลาปักเป้ามีอัตราตายสูงถึง 50 - 60 % การพยากรณ์โรคดี
ถ้าผู้ป่วยยังมีชีวิตรอดหลังได้รับพิษแล้ว 24 ชั่วโมง
-ยาที่ใช้ในการบาบัด:ยังไม่พบยาต้านพิษที่จาเพาะเจาะจง ปัจจุบันใช้วิธีรักษาตามอาการ
ผงถ่านกัมมันต์ (Activated charcoal) เพื่อดูดซับสารพิษ ควรให้ภายใน 30 นาทีหลังได้รับพิษ อาจให้
ร่วมกับยาระบายเช่น 70 % Sorbital ก็ได้
ขนาดยาในผู้ใหญ่ :ให้ทางปาก 1 g / Kg ถ้าได้รับพิษมากอาจให้ซ้าอีกครั้งได้ในขนาด 0.5 g / Kg
ขนาดยาในเด็ก :ให้ทางปาก 1 g / Kg ในเด็กน้อยกว่า 2 ปี หลีกเลี่ยงการให้ยาระบายด้วย
-Neostigmine (Prostigmin) เพื่อยับยั้งการทาลายสารสื่อ Acetylcholine จาก
Acetylcholinesterase ช่วยให้การนากระแสประสาทผ่าน myoneural junction ได้
ประโยชน์ของปลาปักเป้า
นักดาน้าทุกคนรู้ซึ้งดีที่จะไม่ไปยุ่งกับ ‘ปลาปักเป้า’ (pufferfish) ชาวญี่ปุ่นที่นิยมทานปลาดิบ
จานวนมากเสียชีวิตจากความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยขณะปรุงปลาปักเป้า เพราะพิษเทโทรโดท็อกซิน
(Tetrodotoxin) เพียง 1 มิลลิกรัม ก็ส่งให้คุณไปรอเพื่อนๆ ในโลกหน้าได้โดยไม่ต้องลัดคิว ภายใน 20
นาที ลิ้นของคุณจะชา ปวดหัวเป็นไข้ อาเจียน เป็นอัมพาต จนกระทั้งหายใจไม่ออกและเสียชีวิตในที่สุด
แม้สารเทโทรโดท็อกซินจะสังหารมนุษย์ไปเยอะ แต่ประสาทวิทยาก็ยังหลงเสน่ห์ความลี้ลับของมันอยู่ดี
สารนี้กรุยทางสู่การทาความเข้าใจสมองเพื่อนามาเป็นยาแก้ปวดทรงประสิทธิภาพ
เทโทรโดท็อกซิน (TTX) ถูกศึกษาในแวดวงประสาทวิทยา มันสามารถควบคุมเซลล์ประสาทที่
รับรู้ความรู้สึกเจ็บได้อย่างดีเลิศ บริษัทยา Wex จึงพัฒนาไปอีกขั้นโดยสกัดสาร TTX จากรังไข่ของปลา
ปักเป้าสายพันธุ์ Takifugu oblongus เพื่อใช้รักษามะเร็งและช่วยลดความเจ็บปวดในผู้ป่วยที่กาลัง
รักษาด้วยวิธีคีโมฯ
ขณะนี้ยาดังกล่าวอยู่ในขั้นทดสอบที่ 3 กับผู้ป่วย 149 ราย พวกเขาจะได้รับยาที่มีส่วนประกอบของ TTX
ปริมาณ 30 ไมโครกรัม 2 ครั้งต่อวัน ซึ่งผลงานวิจัยชี้ว่า ผู้ป่วยเจ็บทรมานน้อยลง และยังไม่มีผลกระทบเชิงลบ
ต่อผู้ป่วย
วีดิโอเกี่ยวกับปลาปักเป้า
ปลาปักเป้าทะเลเป็นที่รู้จักดีและคุ้นเคยของชาวประมง ถ้าพบเห็นบน
เรือลากอวน เขามักจะทาลายมันทิ้งหรือโยนมันกลับลงไปในทะเล ในประเทศ
ญี่ปุ่นเรียกปลาปักเป้าว่า "fugu" เนื้อปลาปักเป้าสดตามภัตตาคารใหญ่ๆ มี
ราคาสูงมากเนื่องจากชาวญี่ปุ่นนิยมกินกันมาก เนื้อปลาปักเป้าสดที่จาหน่าย
จะต้องเตรียมโดยผู้ที่มีความชานาญเฉพาะเป็นอย่างดี เพื่อลดอันตรายจากพิษ
ของปลาให้มากที่สุด แม้กระนั้น ในช่วง ๒๐ ปี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๘-๒๕๑๘
มีคนกินเนื้อปลาปักเป้าเป็นพิษรวม ๓,๐๐๐ ราย (เสียชีวิตถึงร้อยละ ๕๑)
เหตุผลหนึ่งที่ทาให้เนื้อปลาปักเป้าเป็นที่นิยมของชาวญี่ปุ่นก็คือรสชาติที่หวาน
กรุบ และอร่อยดี สาหรับประเทศไทย มีคนได้รับพิษจากการกินปลาปักเป้าทั้ง
ชนิดน้าจืด และชนิดน้าเค็ม โดยเฉพาะในภาคอีสาน ชาวบ้านจะนาปลาปักเป้า
ที่จับได้จากหนองน้า ลาธาร มาต้มหรือย่าง และแบ่งกินร่วมกัน
การแก้พิษปลาปักเป้า
สารพิษจากปลาปักเป้ายังไม่มียาที่ใช้กาจัดพิษ แต่จะใช้
วิธีการรักษาเพื่อลดพิษ และบรรเทาอาการ เช่น การทาให้อาเจียน
การให้ยาขับปัสสาวะ และการเปลี่ยนถ่ายเลือด เป็นต้น นอกจากนี้
ยังมีรายงานผู้ที่เคยได้รับพิษจากการรับประทานไข่แมงดาทะเลจน
เกือบจะเสียชีวิต แต่ก่อนที่จะเข้ารับการรักษาได้ใช้รางจืดดื่มแก้พิษ
จนทาให้อาการทุเลาลงได้ ดังนั้น รางจืดอาจจะมีประสิทธิภาพใน
การกาจัดหรือทาลายพิษจากปลาปักเป้าได้เช่นกัน
ปลาปักเป้าพบได้ทั้งในน้าจืดและน้าเค็ม มีประมาณ ๑๐๐ชนิด
แต่ที่มีพิษมีประมาณ ๕๐ ชนิด พบในประเทศไทยประมาณ ๒๐ ชนิดเนื้อ
ของปลาปักเป้าไม่มีพิษหรือมีพิษน้อยส่วนที่มีพิษมาก คือ ผิวหนัง กระเพาะ
อาหาร ลาไส้และไข่โดยเฉพาะอย่างยิ่งพิษของปลาจะมีมากขึ้นในฤดูปลา
วางไข่
ปลาปักเป้าเป็นปลาเขตร้อน มีทั้งปลาทะเลและปลาน้าจืด ใน
ประเทศไทยพบวงศ์Tetraodontidae และ Diodontidae รวมกัน
ประมาณ 20 สกุล ปลาปักเป้าเกือบทุกชนิดพันธุ์มีสารชีวพิษเทโทรโดทอก
ซินสะสมในรังไข่ ตับ ลาไส้ และผิวหนัง (มีปริมาณน้อยมากที่ส่วนเนื้อและ
เลือด) และบางชนิดพันธุ์อาจมีสารชีวพิษแส็กซิทอกซินในบางฤดูกาล สาร
ชีวพิษทั้ง 2 ชนิดแสดงพิษทางระบบประสาท ผู้ที่ได้รับสารชีวพิษปริมาณ
มากอาจเสียชีวิต แต่ถ้าได้รับขนาดน้อยมากๆ ได้ประโยชน์เชิงฮอร์เมสิส
สถานะปลาปักเป้าทางด้านการเป็นอาหาร
ในช่วง ปี 2545 มีผู้รับประทานปลาปักเป้าแล้วทาให้เสียชีวิตจน
ออกเป็นข่าวตามหนังสือพิมพ์ จนทาให้กระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็น
กฎหมายที่ห้ามมีการผลิต ห้ามนาเข้า หรือห้ามจาหน่ายปลาปักเป้า และ
อาหารที่มีส่วนผสมของเนื้อปลาปักเป้าทุกชนิด (ฉบับที่ 264 พ.ศ. 2545)
ผู้จัดทา
นายพีรพัฒน์ วงศ์สุวรรณ์ เลขที่33 นายนันทกร ปินผง เลขที่32
อ้างอิง
• https://www.thairath.co.th/content/684821
• https://th.wikipedia.org
• http://sudaratza.blogspot.com
• http://www.ifm.go.th/forensic-
articles/toxicology/128-puffer-poisoning.html
• http://www.boe.moph.go.th/fact/Puffer_fish.
htm
อ้างอิง
• https://thematter.co/byte/nature-toxins-that-
lead-to-novel-medicines/44450
• https://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/p
ois-cov/tetrodotox1
• https://sites.google.com/site/lokkhxngpla/pla-
pakpea
ขอบคุณครับ
THANK YOU

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Fish pug pao

  • 1. พิษจากปลาปักเป้า จัดทาโดย นาย นันทกร ปินผง เลขที่ 32 นาย พีรพัฒน์ วงศ์สุวรรณ์ เลขที่ 33
  • 3. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันนี้มีพิษมากมายหลายชนิดหลายรูปแบบ และพิษของปลาปักเป้านั้น เป็นพิษชนิดหนึ่ง ที่อันตราย และควรระวังเป็นอย่างมาก และทุกคนได้บาดเจ็บและล้มตายเป็นจานวนมากด้วยพิษชนิดนี้ ซึ่งเข้าสู่ร่างกายด้วยชนิด ต่างๆ เช่น การรับประทานปลาปักเป้าที่ปรุงไม่ได้มาตรฐาน(เหลือสารพิษตกค้าง จากปลาปักเป้า,ถอนพิษจกปลา ปักเป้าไม่หมด) การสัมผัสโดยไม่มีการป้องกัน เป็นต้น และพิษชนิดนี้มีชื่อว่า เตโตรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) มีความรุนแรงกว่าไซยาไนด์ถึง 1,200 เท่า และทนความร้อนได้สูงถึง 200 องศาเซลเซียส ดังนั้นจึงไม่สามารถทาลาย พิษได้ด้วยการใช้ความร้อนปกติในการปรุงอาหาร และไม่มี ยาแก้พิษใดๆ ต่อต้านได้ซึ่งเตโตรโดท็อกซินนั้นอยู่ใน อวัยวะทุกส่วนของปลาปักเป้า โดยที่มีปริมาณการสะสม ของพิษไม่เท่ากัน ส่วนที่สะสมพิษมาก ได้แก่ รังไข่,อัณฑะ,ตับ,ผิวหนังและลาไส้ พบน้อยในกล้ามเนื้อ แต่แม้ การรับประทานเนื้อปลาไปเพียงแค่ 1 มิลลิกรัม ก็ทาให้เสียชีวิตได้ ยิ่งโดยเฉพาะผู้มีอาการแพ้อย่างรุนแรงมี โอกาสเสียชีวิตได้สูงถึงร้อยละ 50 หากได้รับพิษเข้าไป การที่ปลาปักเป้ามีพิษ ที่ร้ายแรงเช่นนี้ในร่างกายก็เพื่อ ป้องตัวกันจากการถูกกินจากสัตว์อื่นนั่นเอง ซึ่งพิษของปลาปักเป้านั้นไม่ได้แปร เปลี่ยนไปตามสภาพ สิ่งแวดล้อมหรือฤดูกาลเช่นเดียวกับแมงดาทะเล นอกจากนี้แล้ว ในตัวปลาปักเป้าเองยังมีพิษอีก ชนิดหนึ่ง ที่ มีลักษณะคล้ายเตโตรโดท็อกซิน นั่นคือ ซาซิท็อกซิน (Saxitoxin) ซึ่งมักพบในปลาปักเป้าที่อยู่ในน้าจืดอีก ด้วย ดังนั้น พิษจากปลาปักเป้านั้นควรศึกษาทาความเข้าใจแล้วทาความรู้จักให้มากขึ้น เพื่อให้ทุกท่าน ระมัดระวัง อันตรายจากพิษชนิดนี้มากยิ่งขึ้น
  • 7. ปลาปักเป้าดา ปลาปักเป้าน้าจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Pao cochinchinensis อยู่ใน วงศ์ปลาปักเป้าฟันสี่ซี่ (Tetraodontidae) มีขนาดโตเต็มที่ประมาณ 8 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 13 เซนติเมตร รูปร่างกลมป้อม หัวท้ายเรียว ปากเล็ก ตาโต ด้านหลังและด้านท้องมีผิวสากเป็น หนามเล็กละเอียด ด้านท้องนิ่มขยายตัวได้มาก ครีบหลังเล็กเช่นเดียวกับครีบก้น ลาตัวสีเขียวอมเทา คล้าหรือสีน้าตาลเข้ม มีดวงหรือลายสีดาประทั่วตัว บางตัวอาจมีสีจางที่ด้านท้อง ตาแดง ครีบสีจาง
  • 8. ปลาปักเป้าสุวัตถิ ปลาปักเป้าสุวัตถิ หรือ ปักเป้าควาย ได้รับการตั้งชื่อพันธุ์เพื่อเป็นเกียรติแด่ ศ.โชติ สุวัตถิ อดีตคณบดีคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ค้นพบครั้งแรกในแม่น้าโขง จ.หนองคาย มี จุดเด่น ปากเรียวยาวงอนขึ้น ด้านบน มีลายคล้ายลูกศรบริเวณด้านบนระหว่างตาทั้งสองข้าง ลาตัว มีสีส้มแดงและมีจุดดากระจายอยู่ทั่ว จัดเป็นปลาปักเป้าน้าจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
  • 9. ปลาปักเป้าจุดแดง ปลาปักเป้าจุดแดง หรือ ปักเป้าจุดส้ม มีลักษณะคล้ายปักเป้าจุดดา แต่มีจุดแดง หรือจุด ส้ม กระจายอยู่ทั่วตัว พิษของปลาปักเป้าน้าจืดเมื่อได้รับพิษเข้าสู่ร่างกายแล้ว ทาให้รู้สึกชาที่ริมฝีปาก ลิ้น ปลายนิ้วมือ คลื่นไส้วิงเวียน แขนขาไม่มีแรง ยืนและเดินไม่ได้ หายใจลาบาก หมดสติ จะเสียชีวิตใน เวลาต่อมา ปัจจุบันยังไม่มีตัวยาใดแก้พิษได้
  • 10. ปลาปักเป้าจุดดา ปลาปักเป้าจุดดา หรือ ปลาปักเป้าเขียวจุด มีรูปร่างกลมป้อม หัวท้ายเรียว ปากเล็ก ตาโต ด้านหลังและด้านท้องมีผิวสากเป็นหนามเล็กละเอียด ด้านท้องนิ่มขยายตัวได้มาก ครีบหลัง เล็ก เช่นเดียวกับครีบก้น พื้นลาตัวเป็นสีเหลืองสด ท้องสีขาว มีจุดกลมสีดากระจายอยู่ทั่วตัว
  • 11. ลักษณะของปลาปักเป้า ตามปรกติปลาปักเป้าจะมีสภาพ เหมือนปลา ทั่วไป มีหนามสั้น หรือยาวแล้วแต่ชนิด หากถูกรบกวนจะ พองตัวโตขึ้น มีรูปร่างคล้ายลูกโป่ง หรือลูกบอลลูน หรือคล้ายผลทุเรียนลูกกลม ๆมีหนามแหลม ๆ สั้นหรือยาวได้อย่าง ชัดเจน ทางด้านวิชาการได้จัดแบ่งปลาปักเป้าไว้ 2 วงศ์ ได้แก่Tetraodontidae ลักษณะปลาปักเป้า ในวงศ์นี้จะมี ฟัน 4 ซี่ มีผิวตัวค่อนข้างเกลี้ยง อีกวงศ์หนึ่งเรียกว่า Diodontidae ในวงศ์นี้มีฟัน 2 ซี่ คล้ายจงอยปากนกแก้ว และ มีหนามรอบตัว เห็นได้ชัดเจนกว่าชนิดแรก ในประเทศไทย มีปลาปักเป้าทั้งชนิดที่อาศัยอยู่ในน้าจืดและน้าเค็ม รวมกัน ประมาณราว 20 ชนิด ปลาปักเป้าทะเล (marine puffer fish) มีชื่อเรียกต่างกันไป ได้แก่toad fish,globe fish,toado,swell fish,porcupine fish และ balloon fish เป็นต้น ปลาปักเป้าทะเลเป็นที่รู้จักดี และ คุ้นเคยของชาวประมง ถ้าพบเห็นบนเรือลากอวน เขามักจะทาลายมันทิ้งหรือโยน มันกลับลง ไปในทะเล ในประเทศ ญี่ปุ่นเรียกปลาชนิดนี้ว่า “fugu” เนื้อปลาปักเป้าสดตามภัตตาคารใหญ่ ๆ มีราคาสูงมากเนื่องจากชาวญี่ปุ่นนิยม รับประทานกันมาก เนื้อปลาปักเป้าสดที่จาหน่ายจะต้อง เตรียมโดยผู้ที่มีความชานาญเฉพาะเป็นอย่างดีเพื่อลดอันตราย จากพิษของปลาให้มากที่สุด โดยชาวญี่ปุ่นนิยมบริโภคปลาปักเป้าโดยทาเป็นปลาดิบ (Sushi)จนเป็นอาหารประจา ชาติญี่ปุ่นที่ขึ้นชื่อเป็นที่รู้จัก แม้กระนั้นในช่วง 20 ปี ระหว่างปี ค.ศ. 1955-1975 มีผู้บริโภคเนื้อปลาปักเป้าเป็นพิษรวม 3,000 ราย ในจานวนนี้มีผู้เสียชีวิตถึงร้อยละ 51 เหตุผลหนึ่งที่ทาให้ เนื้อปลาปักเป้าเป็นที่นิยมของชาว ญี่ปุ่นก็คือเนื้อ ปลามีรสชาติที่วิเศษ หวาน กรุบ และอร่อยดี สาหรับประเทศไทย มีผู้ได้รับพิษ จากการ บริโภคปลาปักเป้าทั้งชนิดน้าจืด และชนิดน้าเค็ม ซึ่งมีรายงานทางการแพทย์บ้างเป็นครั้งคราว โดยเฉพาะรายงานผู้ป่วยในภาคอีสาน ชาวบ้านจะนาปลา ปักเป้าที่จับได้จาก หนองน้า ลาธาร มาต้มหรือย่าง และแบ่งรับประทานกัน
  • 12. พิษของปลาปักเป้า เทโทรโดท็อกซิน หรือ เท็ตโทรโดท็อกซิน จัดเป็นสารพิษจากสัตว์ทะเลที่สาคัญ 1 ใน 3 ชนิด ที่จัดว่าเป็นอันตรายมากต่อสุขภาพโดยส่วนใหญ่จะพบได้ในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งก็ จะรวมประเทศไทยด้วยการเกิดพิษจากเทโทรโดท็อกซินนี้ส่วนใหญ่จะมีสาเหตุเนื่องมาจากการ รับประทานปลาที่มีสารพิษดังกล่าวอยู่โดยเฉพาะอย่างยิ่งปลาปักเป้า (Puffer fish หรือ Fugu) จะพบได้บ่อยมากในประเทศญี่ปุ่นเนื่องจากปลาปักเป้าเป็นอาหารจานพิเศษ จะมีบริการ ลูกค้าในช่วงระหว่างเดือนตุลาคมถึงมีนาคม และเป็นสาเหตุของการตายจากการรับประทานปลา ในญี่ปุ่นได้สูงถึง 100 ราต่อปีในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 แต่หลังจากการกาหนดให้พ่อครัวชาวญี่ปุ่นที่ จะปรุงอาหารจานพิเศษต้องได้รับการฝึกการหั่นเตรียมปลาปักเป้าและขึ้นทะเบียนโดยรัฐบาล รายงานการตายก็ลดลงมากจนเหลือเพียงประมาณ 50 รายต่อปี นอกจากในประเทศญี่ปุ่นแล้ว ก็มี รายงานการตายจากการรับประทานปลาปักเป้าในประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง และออสเตรเลีย เช่นกัน
  • 13. อาการของพิษจะกาเริบขึ้นหลังได้รับพิษจากปลาประมาณ 30 นาที ถึงหลายชั่วโมง ขึ้นกับปริมาณที่รับประทาน อาการพิษจากสาร Tetrodotoxin ที่เกิดขึ้นแบ่งเป็น 4 ขั้น คือ ขั้นแรก:ชาที่ริมฝีปาก ลิ้น ปลายนิ้วมือ คลื่นไส้ วิงเวียน อาเจียน กระสับกระส่าย ขั้นที่สอง:ชามากขึ้น อาเจียนมาก อ่อนเพลีย แขนขาไม่มีแรง ยืนและเดิน ไม่ได้
  • 14. ขั้นที่สาม:เคลื่อนไหวแขนขาไม่ได้ พูดลาบากจนถึงพูดไม่ได้ เนื่องจากสาย กล่องเสียงเป็นอัมพาต ผู้ป่วยยังรู้สึกตัว ขั้นที่สี่:กล้ามเนื้อเป็นอัมพาตทั่วไป หายใจลาบาก เขียวคล้า หมดสติ รู ม่านตาโตเต็มที่ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง ถ้าไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องผู้ป่วย จะเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วอาการอาจแรงขึ้นจากขั้นแรกถึงขั้นที่สี่และ อาจเสียชีวิตได้ในเวลาเพียง 10-15 นาทีเท่านั้น
  • 15. ความเป็นพิษ:พิษปลาปักเป้าขนาดที่ทาให้คนเสียชีวิต คือประมาณ ๒ มิลลิกรัม ปลาปักเป้าทะเลมีพิษมากที่สุดในส่วนของไข่ ตับ ลาไส้ หนัง ส่วนที่ เป็นเนื้อปลาจะมีพิษน้อยมากหรือไม่มีเลย พิษจะมากในช่วงฤดูปลาวางไข่ ส่วน ปลาปักเป้าน้าจืด ปลาแต่ละตัวจะมีพิษแตกต่างกันมาก พิษจะมีมากที่สุดใน หนังปลา รองลงมาเป็นไข่ปลา เนื้อปลา ตับ และลาไส้ ตามลาดับ ปลาปักเป้า น้าจืดที่ชาวอีสานบริโภคเป็นประจา คือ Tetraodon fangi และ Tetraodon palembangensis ชนิดหลังนี้ลักษณะตามลาตัวจะเห็น เป็นลายเส้นสีดาคล้ายตาข่ายอยู่ทั่วลาตัวและหัว พิษ tetrodotoxin นี้มี ความคงทนต่อความร้อนได้เป็นอย่างดี ขนาดความร้อนที่อุณหภูมิ ๑๗๐ องศา เซลเซียส ต้มนาน ๑๐ นาที พิษก็ยังคงสภาพดีอยู่เหมือนเดิม
  • 16. ลักษณะอาการของคนที่ได้รับพิษ อาการพิษจะเกิดขึ้นหลังจากกินปลา ปักเป้าประมาณ ๑๐-๔๕ นาที บางราย อาจนานถึง ๔ ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับปริมาณ ของพิษที่ผู้ป่วยได้รับเข้าไป อาการเป็นพิษอาจแบ่งออกได้เป็น ๔ ระยะ • ระยะที่ ๑ ผู้ป่วยจะเริ่มมีอาการชาที่ริมฝีปาก ลิ้น บริเวณใบหน้า ปลายนิ้วมือ คลื่นไส้ อาเจียน • ระยะที่ ๒ มีอาการชามากขึ้น อ่อนเพลีย แขนขาไม่มีแรงจนเดินหรือยืนไม่ได้ • ระยะที่ ๓ มีกล้ามเนื้อกระตุกคล้ายกับชัก มีอาการพูดลาบาก ตะกุกตะกักจน พูดไม่ได้ เนื่องจากสายกล่อง เสียงเป็นอัมพาต ระยะนี้ผู้ป่วยยังรู้สึกตัวดี • ระยะที่ ๔ กล้ามเนื้อเป็นอัมพาต หายใจไม่ออก ไม่รู้สึกตัว รูม่านตาขยายโต เต็มที่ ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง ถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องหัวใจจะหยุด เต้น และเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็ว
  • 17. วิธีป้องกันพิษจากปลาปักเป้า -การดูแลก่อนถึงโรงพยาบาล (Prehospital Care) ให้การดูแลอย่างระมัดระวังตามหลัก ABOs ควรใส่ท่อช่วยหายใจให้ผู้ป่วย เพื่อให้ออกซิเจน และเพื่อ ป้องกันอันตรายจากการอาเจียน และกล้ามเนื้อช่วยหายใจอ่อนแรง รักษาอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการให้สารน้า อิเลคโตรไลต์ ยาขับปัสสาวะ และยาควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ ในผู้ป่วยที่ได้รับพิษรุนแรง กล้ามเนื้อมักอ่อนแรง เป็นอัมพาต ทาให้พูดลาบาก หรือให้ประวัติไม่ได้ ดังนั้นจึงต้องอาศัยข้อมูลจากผู้อยู่ในเหตุการณ์และสภาพแวดล้อม ช่วย -การดูแลในห้องฉุกเฉิน (Emergency Department Care) 1.ให้การดูแลเหมือนการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาล 2.ใส่ท่อทางจมูกหรือทางปากเข้ากระเพาะเพื่อล้างสารพิษออกมาร่วมกับใช้ผงถ่านกัมมันต์ดูดซับ พิษ 3.ดูแลสัญญาณชีวิต (vital signs) เช่นอัตราการเต้นของหัวใจ ชีพจร ความดันโลหิต อย่าง ระมัดระวังหากมี อาการไม่ดีให้การรักษาแบบรีบด่วนทันที 4.ดูแลการทางานของระบบไหลเวียนโลหิตจนกว่าพิษจะถูกขจัดหมด
  • 18. -การดูแลหลังบาบัดฉุกเฉิน (Further Inpatient Care) 1.ผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากปลาปักเป้าหลังออกจากห้องฉุกเฉิน แล้ว ควรดูแลต่อในห้อง ICU อาการผู้ป่วยจะดีขึ้นภายใน 6 หรืออย่างช้า 12 ชั่วโมง 2.การพยากรณ์โรค (Prognosis) 3.จากสถิติพบว่าแม้ให้การดูแลอย่างดี ผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากปลาปักเป้ามีอัตราตายสูงถึง 50 - 60 % การพยากรณ์โรคดี ถ้าผู้ป่วยยังมีชีวิตรอดหลังได้รับพิษแล้ว 24 ชั่วโมง -ยาที่ใช้ในการบาบัด:ยังไม่พบยาต้านพิษที่จาเพาะเจาะจง ปัจจุบันใช้วิธีรักษาตามอาการ ผงถ่านกัมมันต์ (Activated charcoal) เพื่อดูดซับสารพิษ ควรให้ภายใน 30 นาทีหลังได้รับพิษ อาจให้ ร่วมกับยาระบายเช่น 70 % Sorbital ก็ได้ ขนาดยาในผู้ใหญ่ :ให้ทางปาก 1 g / Kg ถ้าได้รับพิษมากอาจให้ซ้าอีกครั้งได้ในขนาด 0.5 g / Kg ขนาดยาในเด็ก :ให้ทางปาก 1 g / Kg ในเด็กน้อยกว่า 2 ปี หลีกเลี่ยงการให้ยาระบายด้วย -Neostigmine (Prostigmin) เพื่อยับยั้งการทาลายสารสื่อ Acetylcholine จาก Acetylcholinesterase ช่วยให้การนากระแสประสาทผ่าน myoneural junction ได้
  • 19. ประโยชน์ของปลาปักเป้า นักดาน้าทุกคนรู้ซึ้งดีที่จะไม่ไปยุ่งกับ ‘ปลาปักเป้า’ (pufferfish) ชาวญี่ปุ่นที่นิยมทานปลาดิบ จานวนมากเสียชีวิตจากความผิดพลาดเพียงเล็กน้อยขณะปรุงปลาปักเป้า เพราะพิษเทโทรโดท็อกซิน (Tetrodotoxin) เพียง 1 มิลลิกรัม ก็ส่งให้คุณไปรอเพื่อนๆ ในโลกหน้าได้โดยไม่ต้องลัดคิว ภายใน 20 นาที ลิ้นของคุณจะชา ปวดหัวเป็นไข้ อาเจียน เป็นอัมพาต จนกระทั้งหายใจไม่ออกและเสียชีวิตในที่สุด แม้สารเทโทรโดท็อกซินจะสังหารมนุษย์ไปเยอะ แต่ประสาทวิทยาก็ยังหลงเสน่ห์ความลี้ลับของมันอยู่ดี สารนี้กรุยทางสู่การทาความเข้าใจสมองเพื่อนามาเป็นยาแก้ปวดทรงประสิทธิภาพ เทโทรโดท็อกซิน (TTX) ถูกศึกษาในแวดวงประสาทวิทยา มันสามารถควบคุมเซลล์ประสาทที่ รับรู้ความรู้สึกเจ็บได้อย่างดีเลิศ บริษัทยา Wex จึงพัฒนาไปอีกขั้นโดยสกัดสาร TTX จากรังไข่ของปลา ปักเป้าสายพันธุ์ Takifugu oblongus เพื่อใช้รักษามะเร็งและช่วยลดความเจ็บปวดในผู้ป่วยที่กาลัง รักษาด้วยวิธีคีโมฯ ขณะนี้ยาดังกล่าวอยู่ในขั้นทดสอบที่ 3 กับผู้ป่วย 149 ราย พวกเขาจะได้รับยาที่มีส่วนประกอบของ TTX ปริมาณ 30 ไมโครกรัม 2 ครั้งต่อวัน ซึ่งผลงานวิจัยชี้ว่า ผู้ป่วยเจ็บทรมานน้อยลง และยังไม่มีผลกระทบเชิงลบ ต่อผู้ป่วย
  • 21.
  • 22. ปลาปักเป้าทะเลเป็นที่รู้จักดีและคุ้นเคยของชาวประมง ถ้าพบเห็นบน เรือลากอวน เขามักจะทาลายมันทิ้งหรือโยนมันกลับลงไปในทะเล ในประเทศ ญี่ปุ่นเรียกปลาปักเป้าว่า "fugu" เนื้อปลาปักเป้าสดตามภัตตาคารใหญ่ๆ มี ราคาสูงมากเนื่องจากชาวญี่ปุ่นนิยมกินกันมาก เนื้อปลาปักเป้าสดที่จาหน่าย จะต้องเตรียมโดยผู้ที่มีความชานาญเฉพาะเป็นอย่างดี เพื่อลดอันตรายจากพิษ ของปลาให้มากที่สุด แม้กระนั้น ในช่วง ๒๐ ปี ระหว่างปี พ.ศ. ๒๔๙๘-๒๕๑๘ มีคนกินเนื้อปลาปักเป้าเป็นพิษรวม ๓,๐๐๐ ราย (เสียชีวิตถึงร้อยละ ๕๑) เหตุผลหนึ่งที่ทาให้เนื้อปลาปักเป้าเป็นที่นิยมของชาวญี่ปุ่นก็คือรสชาติที่หวาน กรุบ และอร่อยดี สาหรับประเทศไทย มีคนได้รับพิษจากการกินปลาปักเป้าทั้ง ชนิดน้าจืด และชนิดน้าเค็ม โดยเฉพาะในภาคอีสาน ชาวบ้านจะนาปลาปักเป้า ที่จับได้จากหนองน้า ลาธาร มาต้มหรือย่าง และแบ่งกินร่วมกัน
  • 23. การแก้พิษปลาปักเป้า สารพิษจากปลาปักเป้ายังไม่มียาที่ใช้กาจัดพิษ แต่จะใช้ วิธีการรักษาเพื่อลดพิษ และบรรเทาอาการ เช่น การทาให้อาเจียน การให้ยาขับปัสสาวะ และการเปลี่ยนถ่ายเลือด เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีรายงานผู้ที่เคยได้รับพิษจากการรับประทานไข่แมงดาทะเลจน เกือบจะเสียชีวิต แต่ก่อนที่จะเข้ารับการรักษาได้ใช้รางจืดดื่มแก้พิษ จนทาให้อาการทุเลาลงได้ ดังนั้น รางจืดอาจจะมีประสิทธิภาพใน การกาจัดหรือทาลายพิษจากปลาปักเป้าได้เช่นกัน
  • 24. ปลาปักเป้าพบได้ทั้งในน้าจืดและน้าเค็ม มีประมาณ ๑๐๐ชนิด แต่ที่มีพิษมีประมาณ ๕๐ ชนิด พบในประเทศไทยประมาณ ๒๐ ชนิดเนื้อ ของปลาปักเป้าไม่มีพิษหรือมีพิษน้อยส่วนที่มีพิษมาก คือ ผิวหนัง กระเพาะ อาหาร ลาไส้และไข่โดยเฉพาะอย่างยิ่งพิษของปลาจะมีมากขึ้นในฤดูปลา วางไข่
  • 25. ปลาปักเป้าเป็นปลาเขตร้อน มีทั้งปลาทะเลและปลาน้าจืด ใน ประเทศไทยพบวงศ์Tetraodontidae และ Diodontidae รวมกัน ประมาณ 20 สกุล ปลาปักเป้าเกือบทุกชนิดพันธุ์มีสารชีวพิษเทโทรโดทอก ซินสะสมในรังไข่ ตับ ลาไส้ และผิวหนัง (มีปริมาณน้อยมากที่ส่วนเนื้อและ เลือด) และบางชนิดพันธุ์อาจมีสารชีวพิษแส็กซิทอกซินในบางฤดูกาล สาร ชีวพิษทั้ง 2 ชนิดแสดงพิษทางระบบประสาท ผู้ที่ได้รับสารชีวพิษปริมาณ มากอาจเสียชีวิต แต่ถ้าได้รับขนาดน้อยมากๆ ได้ประโยชน์เชิงฮอร์เมสิส
  • 26. สถานะปลาปักเป้าทางด้านการเป็นอาหาร ในช่วง ปี 2545 มีผู้รับประทานปลาปักเป้าแล้วทาให้เสียชีวิตจน ออกเป็นข่าวตามหนังสือพิมพ์ จนทาให้กระทรวงสาธารณสุขประกาศเป็น กฎหมายที่ห้ามมีการผลิต ห้ามนาเข้า หรือห้ามจาหน่ายปลาปักเป้า และ อาหารที่มีส่วนผสมของเนื้อปลาปักเป้าทุกชนิด (ฉบับที่ 264 พ.ศ. 2545)
  • 28. อ้างอิง • https://www.thairath.co.th/content/684821 • https://th.wikipedia.org • http://sudaratza.blogspot.com • http://www.ifm.go.th/forensic- articles/toxicology/128-puffer-poisoning.html • http://www.boe.moph.go.th/fact/Puffer_fish. htm