SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
สารบัญ
เรื่อง หนา
หนวยการเรียนรูที่ 1 รูจัก desktop author
จุดประสงคการเรียนรู
ความรูเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส
โปรแกรม desktop author
การเขาสู.โปรแกรม
ส.วนประกอบของโปรแกรม
แบบทดสอบทายบท
หนวยการเรียนรูที่ 1
รูจัก desktop author
สาระสําคัญ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) เป3นเอกสารดิจิตอลที่มีลักษณะคลายหนังสือจริง
ประกอบไปดวยตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี และเสียงอื่นๆ สามารถเผยแพร.บนเครือข.าย
อินเทอรเน็ตได
การเรียกใชโปรแกรม Desktop Author เหมือนกับการเรียกใชโปรแกรมทั่ว ๆ ไป
เริ่มจากสตารทเมนู ภายในหนาต.างโปรแกรม Desktop Author ประกอบไปดวยส.วนประกอบของโปรแกรม
มากมาย แต.ละส.วนจะเป3นคําสั่งการใชงานโปรแกรม
จุดประสงค*การเรียนรู +++++++
1. อธิบายความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book)ได (K)
2. อธิบายประโยชนและความสามารถของโปรแกรม Desktop Author ได (K)
3. อธิบายส.วนประกอบของโปรแกรม Desktop Author ได (K)
4. มีทักษะในการเรียกใชและใชงานส.วนประกอบของโปรแกรม Desktop Author (P)
5. มีความรับผิดชอบและมีเจตคติที่ดีต.อการใชโปรแกรม Desktop Author (A)
ความรูเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส* +++++
e-book หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส คํานี้อาจจะเป3นคําใหม.ในความรูสึกของหลาย ๆ คน แต. อีกไม.นานจะ
เป3นที่รูจักในหมู.นักอ.านทั้งหลาย โดยเฉพาะในวงการหองสมุดซึ่งในอนาคตจะมีการเปลี่ยน แปลงรูปแบบให
เป3นหองสมุดอิเล็กทรอนิกส หองสมุดดิจิตัลและหองสมุดเสมือน เทคโนโลยีนี้ก็คง เป3นอีกทางเลือกหนึ่งในการ
นํามาใหบริการกับผูใช ถึงแมว.าจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับรูปแบบของ หนังสือก็ไม.จําเป3นว.าเราตองโยน
หนังสือทิ้งไปแลวหันมาใชเทคโนโลยีที่กําลังเกิดขึ้นแทนที่เพราะเราก็ไม. ทราบว.าเมื่อไหร.เทคโนโลยีนี้จะเป3นที่
นิยมและยอมรับอย.างแพร.หลาย และถึงแมว.าหนังสือ อิเล็กทรอนิกสจะเป3นเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม.ในวงการ
หนังสือ แต.หนังสือก็ยังมีคุณค.าต.อมนุษยในหลาย ๆ ดาน ดังมีคํายกย.องเกี่ยวกับหนังสือจาก Tony Cawkell
ว.าหนังสือจะยังคงมีการจัดพิมพอีกหลาย ปW และมีความจริงว.าการไดพบหนากันระหว.างหนังสือกับผูอ.านจะมี
ความสัมพันธกับมนุษยมากกว.าการ ใชเครื่องจักร ซึ่งจะมีคําที่เกี่ยวของกัน 2 คํา คือการถ.ายโอนขอมูล และ
พฤติกรรมของมนุษย หากมอง โดยผ.านๆ จะพบว.าการอ.านหนังสือ การสแกนหัวขอข.าว การประเมินคุณค.า
รูปภาพหรือภาพวาด เป3น การหาความบันเทิงที่มีความสุขจากแผ.นกระดาษ และยังสามารถจะเขียนขอความ
อื่น ๆ ลงไปไดอีก สามารถนําติดตัวได อ.านบนเครื่องบิน รถไฟ ในหองน้ําก็ได และมองดูสวยเมื่ออยู.บนชั้น ให
เป3นของ ขวัญกับคนที่รักได หนังสือที่มีอยู.โดยทั่วไป จะมีลักษณะเป3นเอกสารที่จัดพิมพดวยกระดาษ แต.ดวย
ความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลงดานเล็กทรอนิกส ที่มีการพัฒนาต.อเนื่องอย.างไม.หยุดยั้ง
ทํา ใหมีการคิดคนวิธีการใหม. โดยใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาช.วย จึงไดนําหนังสือดังกล.าวเหล.านั้นมาทํา
คัดลอก (scan) โดยที่หนังสือก็ยังคงสภาพเดิมแต.จะไดขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่เป3นแฟ]มภาพ ขึ้นมาใหม. วิธีการ
ต.อจากนั้นก็คือจะนําแฟ]มภาพตัวหนังสือมาผ.านกระบวนการแปลงภาพเป3นตัว หนังสือ (text) ดวยการทํา
OCR (Optical Character Recognition) คือการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อแปลงภาพตัวหนังสือใหเป3น
ตัวหนังสือที่ สามารถแกไขเพิ่มเติมได
การถ.ายทอดขอมูลในระยะต.อมา จะถ.ายทอดผ.านทางแป]นพิมพ และประมวลผลออกมาเป3นตัวหนังสือ
และขอความดวยคอมพิวเตอร ดังนั้นหนากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป3นแฟ]มขอมูล (files) แทน ทั้งยังมีความ
สะดวกต.อการเผยแพร.และจัดพิมพเป3นเอกสาร (documents printing)
รูปแบบของหนังอิเล็กทรอนิกสยุคแรกๆ มีลักษณะเป3นเอกสารประเภท .doc, .txt, .rtf, และ .pdf ไฟล
ต.อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ขอมูลต.างๆ ก็จะถูกออกแบบและ
ตกแต.งในรูปของเว็บไซต โดยในแต.ละหนาของเว็บไซตเราเรียกว.า "web page" โดยสามารถเปjดดูเอกสาร
เหล.านั้นไดดวยเว็บเบราวเซอร (web browser) ซึ่งเป3นโปรแกรมประยุกตที่สามารถแสดงผลขอความ ภาพ
และการปฏิสัมพันธผ.านระบบเครือข.ายอินเทอรเน็ต
เมื่ออินเทอรเน็ตไดรับความนิยมมากขึ้น บริษัทไมโครซอฟต (Microsoft) ไดผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส
ขึ้นมาเพื่อคอยแนะนําในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟลเป3น .CHM โดยมีตัวอ.านคือ
Microsoft Reader (.LIT) หลังจากนั้นต.อมามีบริษัทผูผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอรจํานวนมาก ไดพัฒนา
โปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกสออกมาเป3นลักษณะ เหมือนกับหนังสือทั่วไปได เช.น
สามารถแทรกขอความ แทรกภาพ จัดหนาหนังสือไดตามความตองการของผูผลิต และที่พิเศษกว.านั้นคือ
หนังสืออิเล็กทรอนิกสเหล.านี้ สามารถสรางจุดเชื่อมโยงเอกสาร (Hypertext) ไปยังเว็บไซตที่เกี่ยวของอื่นๆ ทั้ง
ภายในและภายนอกได อีกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต.างๆ ลงไปในหนังสือได โดยคุณสมบัติ
เหล.านี้ไม.สามารถทําไดในหนังสือทั่วไป
ความหมายของ e-Book
“อีบุoค” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป3นคําภาษาต.างประเทศ ย.อมาจากคําว.า electronic
book หมายถึง หนังสือที่สรางขึ้นดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรมีลักษณะเป3นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส โดยปกติ
มักจะเป3นแฟ]มขอมูลที่สามารถอ.านเอกสารผ.านทางหนาจอคอมพิวเตอร ทั้งในระบบออฟไลนและออนไลน
คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส.วนต.างๆ ของหนังสือ เว็บไซตต.างๆ
ตลอดจนมีปฏิสัมพันธและโตตอบกับผูเรียนได นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถแทรกภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพเอกสารที่ตองการออกทางเครื่องพิมพได อีกประการหนึ่งที่
สําคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยไดตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล.านี้จะไม.มีใน
หนังสือธรรมดาทั่วไป
วิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกส*
ไดมีการกล.าวถึงประวัติความเป3นมาหรือวิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกสไวว.าความคิดใน เรื่อง
หนังสืออิเล็กทรอนิกสไดปรากฏในนิยายทางวิทยาศาสตรมาตั้งแต.ภายหลังปW ค.ศ. 1940 เป3นหลัก การใหม.ของ
คอมพิวเตอรตามแบบแผน IBM มีผลิตภัณฑ คือ Book Master เนื้อหาหนังสือ อิเล็กทรอนิกสในปW 1980 และ
ก.อนปW 1990 ในช.วงแรก มี 2 ส.วน คือ เรื่องเกี่ยวกับคู.มืออางอิง และการ ศึกษาบันเทิง งานที่เกี่ยวกับอางอิง
มักจะเป3นเรื่องเกี่ยวกับการผลิตและการเผยแพร.เอกสารทางวิชาการ พรอม ๆ กับการผลิตผลิตภัณฑที่ซับซอน
เช.น Silicon Graphics , Novell และผูผลิตไดผลิตคู.มือ Dynatext ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส จํานวน 12 ชื่อ
ตามรูปแบบเทคโนโลยีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส และในช.วงสิบปWมานี้ก็ไดเห็นความพยายามที่จะนําผลิตภัณฑ
ที่คลายกับเป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสเขามา จําหน.ายในโลกแห.งความจริง แต.ส.วนมากก็ลมเหลว แต.ก็มีบางที่
ยังพอยู.ในตลาด เช.น Book man หรือ Franklin Bookman ซี่งการใชงานยังคงห.างไกลที่จะเขามาเชื่อมโยงใน
ตลาดกระแสแมนสตีมได ป{ญหา ของอุปกรณเหล.านี้ก็คือ จอภาพขนาดเล็กที่สามารถอ.านออกไดยาก อายุการ
ใชงานแบตเตอรี่ที่ค.อนขาง สั้น อีกทั้งไม.มีเทคโนโลยีในการแปลงรหัส (encryption) เพื่อป]องกันขอมูลของผู
พิมพในเรื่องของ ลิขสิทธิ์ของตัวอักษร อีกทั้งวิธีจัดจําหน.ายและแสดงผลต.างๆ กันก็ยังไม.สะดวกต.อผูใช
อย.างเช.นการใช แผ.นซีดีรอมหรือตลับบรรจุแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส พัฒนาการอันหนึ่งที่ไดเขามามีส.วนช.วยให
หนังสืออิเล็กทรอนิกสเกิดการรุดหนาเร็วขึ้นจน สามารถบรรลุผลในการเป3นหนังสือที่สมบูรณแบบก็คือ แล็บท็
อปคอมพิวเตอร นั่นก็คือการนําบางส.วน ของแล็บท็อป เช.น สกรีน มาใชในหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่สําคัญก็คือ
ในระยะเมื่อไม.กี่ปWมานี้ราคาของ ส.วนประกอบของคอมพิวเตอรไดลดลงไปมาก จนทําใหการผลิตหนังสือ
อิเล็กทรอนิกสมีคุณภาพสูง นอก จากนี้การบูมของอินเตอรเน็ตก็ไดเขามาทําใหมนุษยสามารถส.งสิ่งที่เป3น
เอกสารหรือหนังสือไดคราวละ มาก ๆ โดยอาศัยอินเทอรเน็ตและสิ้นเปลืองค.าใชจ.ายนอย และไม.ตองมี
ดิสกเก็ตหรือการดสําหรับการใช ในการเก็บขอมูล เช.น นวนิยาย หรือเอกสารตํารา ในกรณีที่มีผูเกรงว.าจะมี
การละเมิดลิขสิทธิ์ดวยการ อาศัยไปรษณียอิเล็กทรอนิกสเป3นเครื่องมือในการรับส.งหนังสือ ตํารา หรือนวนิยาย
นั้น ก็สามารถป]องกัน ไดดวยการใชรหัส (encryption) เพื่อไม.ใหบรรดาผูใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถใช
ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกสในการแจกจ.ายเนื้อหาในหนังสือนวนิยายหรือตํารา โดยไม.ตองไปซื้อหามา อนึ่ง
หนังสือ อิเล็กทรอนิกสก็ไดอาศัยหลักการที่ว.าจะนําเทคโนโลยีที่มีความบางเบามากๆ มาใช เช.น สกรีน โดยจะ
ละ ทิ้งทุกสิ่งในแล็บท็อปที่มีน้ําหนักมาก เช.น โปรเซสเซอรแบบเฮฟวี่ดิวตี้ งานพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส จึง
ไดมุ.งหนักไปในเรื่องของความบางเบาและการพิมพทุกอย.างลงบนแผ.นพลาสติกหรือสิ่งอื่นใดที่จะนํา มาทํา
หนาที่คลายกับกระดาษใหมากที่สุดเท.าที่จะทําได อันหมายถึงการพิมพตั้งแต.สิ่งที่เป3นวงจรทาง อิเล็กทรอนิกส
จนถึงสิ่งอื่นๆ เช.น หน.วยความจําสํารอง (ภายในหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะไม.มีซีพียู) ลงบน แผ.นบางๆ ที่จะทํา
หนาที่เป3นส.วนประกอบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสอันเนื่องจากตองการประหยัดน้ํา หนัก นอกจากนี้ลักษณะที่
กล.าวมาของไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ก็ยังมีส.วนที่เรียกว.าเนื้อหาดวยซึ่งเนื้อหา ในที่นี้ไดมีกล.าวไวว.า เนื้อหา
(content) เป3นเครื่องมือที่สามารถใชประโยชนบนเครือข.ายมีความสามารถ ในการส.งสัญญาณเสียง การ
แพร.กระจายของวัสดุ
ที่มา : http://agritech.doae.go.th/e-learning/home/ebook.htm
ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส*
หนังสืออิเล็กทรอนิกส* แบงออกเป5น 10 ประเภท ดังนี้คือ
1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือแบบตํารา (Textbooks) หนังสืออิเล็กทรอนิกส รูปหนังสือปกติที่พบเห็นทั่วไป
หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้สามารถกล.าวไดว.าเป3นการแปลงหนังสือจากสภาพสิ่งพิมพปกติเป3นสัญญาณ
ดิจิตอล เพิ่มศักยภาพเดิมการนําเสนอ การปฏิสัมพันธ ระหว.างผูอ.านหนังสืออีเล็กทรอนิกส ดวยศักยภาพของ
คอมพิวเตอรขั้นพื้นฐาน เช.น การเปjดหนาหนังสือ การสืบคน การคัดเลือก เป3นตน
2) หนังสืออีเล็กทรอนิกส แบบหนังสือเสียงอ.าน มีเสียงคําอ.าน เมื่อเปjดหนังสือจะมีเสียง
อ.านหนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทเหมาะสําหรับหนังสือเด็กเริ่มเรียน หรือหนังสือฝ‚กออกเสียง หรึอฝ‚กพูด
(Talking Book1) เป3นตน หนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้เป3นการเนนคุณลักษณะดานการนําเสนอเนื้อหาที่เป3น
ตัวอักษรและเสียงเป3นคุณลักษณะหลัก นิยมใชกับกลุ.มผูอ.านที่มีระดับลักษณะทางภาษาโดยเฉพาะดานการฟ{ง
หรือการอ.านค.อนข.างต่ํา เหมาะสําหรับการเริ่มตนเรียนภาษาของเด็ก ๆ หรือผูที่กําลังฝ‚กภาษาที่สอง หรือฝ‚ก
ภาษาใหม.เป3นตน
3) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพนิ่ง หรืออัลบั้มภาพ (static Picture Books) เป3นหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส ที่มีคุณลักษณะหลักเนนจัดเก็บขอมูล และนําเสนอขอมูลในรูปแบบภาพนิ่ง (static picture)
หรืออัลบั้มภาพเป3นหลัก เสริมดวยการนําศักยภาพของคอมพิวเตอรมาใชในการนําเสนอ เช.น การเลือกภาพที่
ตองการ การขยายหรือย.อขนาดของภาพของคอมพิวเตอรมาใชในการนําเสนอ เช.น การเลือกภาพที่ตองการ
การขยายหรือย.อขนาดของภาพหรือตัวอักษร การสําเนาหรือการถ.ายโอนภาพ การแต.งเติมภาพ การเลือก
เฉพาะส.วนของภาพ (cropping) หรือเพิ่มขอมูล เชื่อมโยงภายใน (Linking information) เช.น เชื่อมขอมูล
อธิบายเพิ่มเติม เชื่อมขอมูลเสียงประกอบ เป3นตน
4) หนังสืออิเล็กทรอนิกส แบบหนังสือภาพเคลื่อนไหว (Moving Picture Books) เป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่
เนน การนําเสนอขอมูลในรูปแบบภาพวีดิทัศน (Video Clips) หรือภาพยนตรสั้น ๆ (Films Clips) ผนวกกับ
ขอมูลสนเทศที่อยู.ในรูปตัวหนังสือ (Text Information) ผูอ.านสามารถเลือกชมศึกษาขอมูลได ส.วนใหญ.นิยม
นําเสนอขอมูลเหตุการณประวัติศาสตร หรือเหตุการณสําคัญ เช.น ภาพเหตุการณสงคราโลก ภาพการกล.าว
สุนทรพจนของบุคคลสําคัญ ๆ ของโลกในโอกาสต.าง ๆ ภาพเหตุการณความสําเร็จหรือสูญเสียของโลกเป3นตน
5) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสม (Multimedia) เป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนนเสนอขอมูล
เนื้อหาสาระ ในลักษณะแบบสื่อผสมระหว.างสื่อภาพ (Visual Media) เป3นทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวกับ
สื่อประเภทเสียง (Audio Media)ในลักษณะต.าง ๆ ผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอรอื่นเช.นเดียวกับหนังสือ
อิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ ที่กล.าวมาแลว
6) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อหลากหลาย (Polymedia books)) เป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี
ลักษณะเช.นเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบสื่อประสม แต.มีความหลากหลายในคุณลักษณะดานความ
เชื่อมโยงระหว.างขอมูลภายในเล.มที่บันทึกในลักษณะต.าง ๆ เช.น ตัวหนังสือภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว
เสียงดนตรี และอื่น ๆ เป3นตน
7) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือเชื่อมโยง ( Hypermedia Book) เป3นหนังสือที่มีคุณลักษณะสามารถ
เชื่อมโยงเนื้อหาสาระภายในเล.ม (Internal Information Linking) ซึ่งผูอ.านสามารถคลิกเพื่อเชื่อมไปสู.เนื้อหา
สาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกันภายใน ภารเชื่อมโยงเช.นนี้มีคุณลักษณะเช.นเดียวกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตก
กิ่ง ( Branching Programmed Instruction)นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยงกับแหล.งเอกสารภายนอก
(External or Information Sources) เมื่อเชื่อมต.อระบบอินเตอรเน็ต
8) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสืออัจฉริยะ ( Intelligent Electronic Books) เป3นหนังสือประสม แต.มีการ
ใชโปรแกรมชั้นสูงที่สามารถมีปฏิกิริยา หรือ ปฏิสัมพันธ กับผูอ.านเสมือนหนังสือมีสติป{ญญา (อัจฉริยะ) ในการ
ไตร.ตรอง หรือคาดคะเนในการโตตอบ หรือปฏิกิริยากับผูอ.าน
9) หนังสืออิเล็กทรอนิกส แบบสื่อหนังสือทางไกล ( Telemedia Electronic Books)
หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีคุณลักษณะหลักต.าง ๆ คลายกับ Hypermedia Electronic Books
แต.เนนการเชื่อมโยงกับแหล.งขอมูลภายนอกผ.านระบบเครือข.าย ( Online Information Sourcess) ทั้งที่เป3น
เครือข.ายเปjด และเครือข.ายเฉพาะสมาชิกของเครือข.าย
10) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือไซเบอรเสปซ (Cyberspace books) หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มี
ลักษณะเหมือนกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสหลาย ๆ แบบที่กล.าวมาแลวผสมกัน สามารถเชื่อมโยงแหล.งขอมูลทั้ง
จากแหล.งภายในและภายนอกสามารถนําเสนอขอมูลในระบบสื่อที่หลากหลาย สามารถปฏิสัมพันธกับผูอ.านได
หลากหลาย
โปรแกรมที่นิยมใชสราง e-Book
โปรแกรมที่นิยมใชสราง e-Book มีอยู.หลายโปรแกรม แต.ที่นิยมใชกันมากในป{จจุบันไดแก.
1. โปรแกรมชุด Flip Album
2. โปรแกรม DeskTop Author
3. โปรแกรม Flash Album Deluxe
ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะตองติดตั้งโปรแกรมสําหรับอ.าน e-Book ดวย มิฉะนั้นแลวจะเปjดเอกสารไม.ได
ประกอบดวย
1.1 โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอ.านคือ FlipViewer
1.2 โปรแกรมชุด DeskTop Author ตัวอ.านคือ DNL Reader
1.3 โปรแกรมชุด Flash Album Deluxe ตัวอ.านคือ Flash Player
สําหรับบางท.านที่มีความชํานาญในการใชโปรแกรม Flash Mx ก็สามารถสราง e-Book ไดเช.นกัน แต.ตองมี
ความรูในเรื่องการเขียน Action Script และ XML เพื่อสราง e-Book ใหแสดงผลตามที่ตองการได
ความแตกตางของหนังสืออิเล็กทรอนิกส* (e-Book) กับหนังสือทั่วไป
หนังสืออิเล็กทรอนิกส* หนังสือทั่วไป
ไม.ใชกระดาษ (อนุรักษทรัพยากรป‡าไม) ใชกระดาษ
สามารถสรางใหมีภาพเคลื่อนไหวได มีขอความและภาพประกอบธรรมดา
สามารถใส.เสียงประกอบได ไม.มีเสียงประกอบ
สามารถแกไขและปรับปรุงขอมูล (update) ไดง.าย สามารถแกไขปรับปรุงไดยาก
สามารถสรางจุดเชื่อมโยง (links) ออกไปยังขอมูลภายนอกได มีความสมบูรณในตัวเอง
มีตนทุนในการผลิตหนังสือต่ํา มีตนทุนการผลิตสูง
ไม.มีขีดจํากัดในการจัดพิมพ สามารถทําสําเนาไดง.ายไม.จํากัด มีขีดจํากัดในการจัดพิมพ
สามารถอ.านผ.านคอมพิวเตอร และสั่งพิมพผลได
สามารถเปjดอ.านจากเล.ม อ.านไดอย.าง
เดียว
หนังสืออิเล็กทรอนิกส 1 เล.ม สามารถอ.านพรอมกันไดจํานวนมาก
(ออนไลนผ.านระบบเครือข.ายอินเทอรเน็ต)
สามารถอ.านได 1 คนต.อหนึ่งเล.ม
สามารถพกพาสะดวกไดครั้งละจํานวนมากในรูปแบบของไฟล
คอมพิวเตอร และสามารถเขาถึงโดยไม.จํากัดเรื่องสถานที่และเวลา
พกพาลําบากและตองเดินทางไปใชที่
หองสมุดและศูนยสารนิเทศต.าง ๆ
โครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส* (e-Book Construction)
ลักษณะโครงสรางของหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะมีความคลายคลึงกับหนังสือทั่วไป ที่พิมพดวยกระดาษ หากจะ
มีความแตกต.างที่เห็นไดชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ.านหนังสือ
สรุปโครงสรางทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย
• หนาปก (Front Cover)
• คํานํา (Introduction)
• สารบัญ (Contents)
• สาระของหนังสือแต.ละหนา (Pages Contents)
• อางอิง (Reference)
• ดัชนี (Index)
• ปกหลัง (Back Cover)
หนาปก หมายถึง ปกดานหนาของหนังสือซึ่งจะอยู.ส.วนแรก เป3นตัวบ.งบอกว.าหนังสือเล.มนี้ชื่ออะไร ใครเป3นผู
แต.ง
คํานํา หมายถึง คําบอกกล.าวของผูเขียนเพื่อสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับขอมูล และเรื่องราวต.างๆ ของ
หนังสือเล.มนั้น
สารบัญ หมายถึง ตัวบ.งบอกหัวเรื่องสําคัญที่อยู.ภายในเล.มว.าประกอบดวยอะไรบาง อยู.ที่หนาใดของหนังสือ
สามารถเชื่อมโยงไปสู.หนาต.างๆ ภายในเล.มได
สาระของหนังสือแต.ละหนา หมายถึง ส.วนประกอบสําคัญในแต.ละหนา ที่ปรากฏภายในเล.ม ประกอบดวย
• หนาหนังสือ (Page Number)
• ขอความ (Texts)
• ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff
• เสียง (Sounds) .mp3, .wav, .midi
• ภาพเคลื่อนไหว (Video Clips, flash) .mpeg, .wav, .avi
• จุดเชื่อมโยง (Links)
โปรแกรม Desktop Author++++
1. ไฟลมีขนาดเล็ก ช.วยใหง.ายในการดาวนโหลด และส.งขอมูล
2. มีลักษณะคลายกับหนังสือซึ่งเป3นรูปแบบที่อ.านแลวเขาใจไดง.าย
3. สามารถสั่งพิมพหนาแต.ละหนา หรือทั้งหมดของหนังสือได
4. ผูใชสามารถส.งต.อไดง.ายโดยการส.งผ.านอีเมล หรือระบบเครือข.าย
5. สามารถใชไดทั้งเครื่องคอมพิวเตอร PC และ Note Book
คุณสมบัติของ desktop author
ผลงานเป3นไดทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ .exe สื่อออนไลน .html + .dnl ที่มีขนาดเล็กเหมาะสําหรับการ
นําเสนอผ.านเว็บไซต แต.การเรียกดูจําเป3นตองติดตั้ง DNL Reader ก.อนจึงจะแสดงผลได และ Screen
Saver (.scr) สําหรับการรักษาอายุจอภาพคอมพิวเตอรดวยสื่อที่สรางสรรคไดดวยตัวเอง
การเขาสูโปรแกรม desktop author ++++++
1. คลิกปุ‡ม Start
2. เลือก Programs
3. เลือก Desktop Author
4. เลือก Desktop Author 4
สวนประกอบของโปรแกรม desktop author ++++++++++
1. New ใชสําหรับการสรางงานใหม.
2. Open ใชสําหรับเปjดงานที่มีอยู.แลวเพื่อดูหรือแกไข
3. Save ใชสําหรับบันทึกไฟลงานที่ไดทําขึ้น
4. Page ใชสําหรับชมตัวอย.าง (Preview) งานที่ไดทําขึ้นมา
5. Package (EXE) ใชบีบอัดไฟลงานทั้งหมดที่ทําขึ้นมาใหรวมเป3นไฟลเดียวโดยมีนามสกุลเป3น
.EXE
6. Package (DNL) ใชบีบอัดไฟลงานทั้งหมดที่ทําขึ้นมาใหรวมเป3นไฟลเดียวโดยมีนามสกุลเป3น
.DNL สําหรับการทําเวบไซด
7. Package (DRM) ใชป]องกันไฟลงานทั้งหมดที่ทําขึ้นมาเพื่อนําเสนอในเวบไซดไฟลเดียวโดยมี
นามสกุลเป3น .DRM
8. Package (SCR) ใชในการทํา Screen Saver
9. Publish ใชสําหรับใส.ไฟล DNL ลงในเวบไซด
10. Upload ใชสําหรับ Upload ไฟลที่ไดทําขึ้นเวบไซด
11. Multimedia ใชในการแทรกไฟลมัลติมีเดียต.างๆ ไม.ว.าจะเป3นเพลง หรือ มิวสิควีดีโอ หรือ
ภาพยนตร สนับสนุนไฟลนามสกุล .swf, .wma, .wav เป3นตน
12. Eazyform ใชในการแทรกคําถาม คําตอบ และเพิ่ม Object ต.างๆลงในงาน
13. Refresh ใชสําหรับ Refresh งานที่ทํา
14. Properties ใชตั้งค.าต.างๆของ งานที่ทํา
15. Template ใชเลือกรูปแบบต.างๆ ใหกับชิ้นงาน
16. Buttonsใชเลือกปุ‡มต.างๆที่จะใหมีในงานของเรา
แบบทดสอบหน.วยที่ 1
เรื่อง รูจัก desktop author
คําสั่ง ใหนักเรียนคลิกเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 1) ขอใดไม.ใช.คุณสมบัติของโปรแกรม Desktop Author
ไฟลมีขนาดใหญ. สามารถดาวนโหลดและส.งขอมูลไดชา
มีลักษณะคลายกับหนังสือซึ่งเป3น รูปแบบที่อ.านแลวเขาใจไดง.าย
สามารถส.งต.อไดง.ายโดยการส.ง ผ.านอีเมล หรือระบบเครือข.าย
สามารถแทรกเสียงเพลง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียงบรรยายได
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 2) มีวิธีการเรียกใชโปรแกรม Desktop Author อย.างไร
Start -> Program -> DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4
Program -> Start -> DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4
DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4 -> Program -> Start
Program -> DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4 -> Start
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 3) ขอใดเป3นการเตรียมงานเบื้องตนก.อนการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส
ย.อไฟลภาพใหมีขนาดเหมาะสมก.อน นําไปใชงาน
กําหนดการเชื่อมโยงเพื่อไม.ใหมี ป{ญหาในการนําเสนอผ.านเว็บไซต
สรางโฟลเดอรสําหรับหนังสือ อิเล็กเล็กทรอนิกส 1 โฟลเดอร ต.อ หนังสือ 1 เล.ม
เตรียมไฟลประกอบโดยตั้งชื่อเป3น ภาษาอังกฤษหรือผสมตัวเลขและหามเวนวรรค
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 4) ขอใดใหความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกสไดถูกตองที่สุด
หนังสือที่ประกอบไปดวยขอความ ภาพและเสียง
หนังสือที่สามารถสั่งพิมพทาง เครื่องพิมพได
หนังสือที่สามารถเปjดอ.านไดใน เครื่องคอมพิวเตอร
หนังสือที่สรางดวยโปรแกรม คอมพิวเตอรและเปjดอ.านไดเหมือนหนังสือจริง
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 5) e-book ย.อมาจากคําภาษาอังกฤษในขอใด
electron book
etraining book
electrolux book
electronic book
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 6) ซอฟตแวร reader เกี่ยวของอย.างไรกับหนังสืออิเล็คทรอนิกส
ซอฟตแวรสําหรับการอ.าน
ซอฟตแวรสําหรับการเขียน
ซอฟตแวรสําหรับการออกแบบ
ซอฟตแวรสําหรับการถอดรหัส
ขอที่ 7) ขอใดคือความสามารถของหนังสืออิเล็คทรอนิกสที่แตกต.างจากหนังสือจริง
อ.านผ.านคอมพิวเตอรและสั่งพิมพได
พกพาไดสะดวกไม.จํากัดสถานที่และเวลา
มีขอความและภาพประกอบ
สามารถอ.านได 1 คน ต.อ 1 เล.ม
ขอที่ 8)ขอใด ไม. ใช. ความสามารถของโปรแกรม Desktop Author
สราง Screen Sever สําหรับการรักษาอายุจอภาพคอมพิวเตอร
ดาวนโหลดหนังสืออิเล็กทรอนิกส จากเครือข.ายอินเทอรเน็ต
สรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี ลักษณะเหมือนหนังสือจริง
สรางสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสใน รูปแบบหนาพลิก 3 มิติ
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 9) กลุ.มแถบเครื่องมือ page ใชสําหรับ
การเพิ่ม / ลบ เปjดหนากระดาษ
แทรกขอความ รูปภาพ มัลติมีเดีย
การตัด / คัดลอก / ลบไฟล
การเปลี่ยนแปลงค.าต.าง ๆ
--------------------------------------------------------------------------------
ขอที่ 10) ไฟลที่ผ.านการบีบอัด (Package) แบบใดที่จําเป3นตองติดตั้งโปรแกรมสําหรับอ.าน (Reader) ก.อนจึง
จะใชงานหนังสืออิเล็กทรอนิกสได
EXE
DNL
DML
DRM

More Related Content

What's hot

มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตPrapaporn Boonplord
 
Take it easy 2015 april issue - no.1
Take it easy   2015 april issue - no.1Take it easy   2015 april issue - no.1
Take it easy 2015 april issue - no.1Karate Natdanaii
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้yuyjanpen
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์Pirapap Vongsumran
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41Sirin Amornsrisatja
 

What's hot (6)

มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
Take it easy 2015 april issue - no.1
Take it easy   2015 april issue - no.1Take it easy   2015 april issue - no.1
Take it easy 2015 april issue - no.1
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-16 S2L41
 

Similar to E book

โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคWirachat Inkhamhaeng
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนโครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนNuttawat Sawangrat
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ Chitchanok Khanklaew
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์krupan
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E book
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E bookหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E book
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E bookchaiwat vichianchai
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานmacnetic
 
E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2bewhands
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2bewhands
 
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdfคู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdfnitnaphakingkeo
 
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdfคู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdfnitnaphakingkeo
 

Similar to E book (17)

E book
E bookE book
E book
 
E book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntcE book muanal-for_ntc
E book muanal-for_ntc
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
 
เสนอ2
เสนอ2เสนอ2
เสนอ2
 
Desktop Author 5
Desktop Author 5Desktop Author 5
Desktop Author 5
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนโครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียน
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E book
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E bookหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E book
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ E book
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
111
111111
111
 
E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2E:\works\turing machine2
E:\works\turing machine2
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdfคู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
 
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdfคู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
คู่มือการสร้าง-e-book-โดยใช้โปรแกรม-FlipAlbum.pdf
 

E book

  • 1. สารบัญ เรื่อง หนา หนวยการเรียนรูที่ 1 รูจัก desktop author จุดประสงคการเรียนรู ความรูเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส โปรแกรม desktop author การเขาสู.โปรแกรม ส.วนประกอบของโปรแกรม แบบทดสอบทายบท
  • 2. หนวยการเรียนรูที่ 1 รูจัก desktop author สาระสําคัญ หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book) เป3นเอกสารดิจิตอลที่มีลักษณะคลายหนังสือจริง ประกอบไปดวยตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี และเสียงอื่นๆ สามารถเผยแพร.บนเครือข.าย อินเทอรเน็ตได การเรียกใชโปรแกรม Desktop Author เหมือนกับการเรียกใชโปรแกรมทั่ว ๆ ไป เริ่มจากสตารทเมนู ภายในหนาต.างโปรแกรม Desktop Author ประกอบไปดวยส.วนประกอบของโปรแกรม มากมาย แต.ละส.วนจะเป3นคําสั่งการใชงานโปรแกรม จุดประสงค*การเรียนรู +++++++ 1. อธิบายความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-Book)ได (K) 2. อธิบายประโยชนและความสามารถของโปรแกรม Desktop Author ได (K) 3. อธิบายส.วนประกอบของโปรแกรม Desktop Author ได (K) 4. มีทักษะในการเรียกใชและใชงานส.วนประกอบของโปรแกรม Desktop Author (P) 5. มีความรับผิดชอบและมีเจตคติที่ดีต.อการใชโปรแกรม Desktop Author (A)
  • 3. ความรูเกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส* +++++ e-book หรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส คํานี้อาจจะเป3นคําใหม.ในความรูสึกของหลาย ๆ คน แต. อีกไม.นานจะ เป3นที่รูจักในหมู.นักอ.านทั้งหลาย โดยเฉพาะในวงการหองสมุดซึ่งในอนาคตจะมีการเปลี่ยน แปลงรูปแบบให เป3นหองสมุดอิเล็กทรอนิกส หองสมุดดิจิตัลและหองสมุดเสมือน เทคโนโลยีนี้ก็คง เป3นอีกทางเลือกหนึ่งในการ นํามาใหบริการกับผูใช ถึงแมว.าจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับรูปแบบของ หนังสือก็ไม.จําเป3นว.าเราตองโยน หนังสือทิ้งไปแลวหันมาใชเทคโนโลยีที่กําลังเกิดขึ้นแทนที่เพราะเราก็ไม. ทราบว.าเมื่อไหร.เทคโนโลยีนี้จะเป3นที่ นิยมและยอมรับอย.างแพร.หลาย และถึงแมว.าหนังสือ อิเล็กทรอนิกสจะเป3นเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม.ในวงการ หนังสือ แต.หนังสือก็ยังมีคุณค.าต.อมนุษยในหลาย ๆ ดาน ดังมีคํายกย.องเกี่ยวกับหนังสือจาก Tony Cawkell ว.าหนังสือจะยังคงมีการจัดพิมพอีกหลาย ปW และมีความจริงว.าการไดพบหนากันระหว.างหนังสือกับผูอ.านจะมี ความสัมพันธกับมนุษยมากกว.าการ ใชเครื่องจักร ซึ่งจะมีคําที่เกี่ยวของกัน 2 คํา คือการถ.ายโอนขอมูล และ พฤติกรรมของมนุษย หากมอง โดยผ.านๆ จะพบว.าการอ.านหนังสือ การสแกนหัวขอข.าว การประเมินคุณค.า รูปภาพหรือภาพวาด เป3น การหาความบันเทิงที่มีความสุขจากแผ.นกระดาษ และยังสามารถจะเขียนขอความ อื่น ๆ ลงไปไดอีก สามารถนําติดตัวได อ.านบนเครื่องบิน รถไฟ ในหองน้ําก็ได และมองดูสวยเมื่ออยู.บนชั้น ให เป3นของ ขวัญกับคนที่รักได หนังสือที่มีอยู.โดยทั่วไป จะมีลักษณะเป3นเอกสารที่จัดพิมพดวยกระดาษ แต.ดวย ความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย และความเปลี่ยนแปลงดานเล็กทรอนิกส ที่มีการพัฒนาต.อเนื่องอย.างไม.หยุดยั้ง ทํา ใหมีการคิดคนวิธีการใหม. โดยใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรเขามาช.วย จึงไดนําหนังสือดังกล.าวเหล.านั้นมาทํา คัดลอก (scan) โดยที่หนังสือก็ยังคงสภาพเดิมแต.จะไดขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่เป3นแฟ]มภาพ ขึ้นมาใหม. วิธีการ ต.อจากนั้นก็คือจะนําแฟ]มภาพตัวหนังสือมาผ.านกระบวนการแปลงภาพเป3นตัว หนังสือ (text) ดวยการทํา OCR (Optical Character Recognition) คือการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อแปลงภาพตัวหนังสือใหเป3น ตัวหนังสือที่ สามารถแกไขเพิ่มเติมได
  • 4. การถ.ายทอดขอมูลในระยะต.อมา จะถ.ายทอดผ.านทางแป]นพิมพ และประมวลผลออกมาเป3นตัวหนังสือ และขอความดวยคอมพิวเตอร ดังนั้นหนากระดาษก็เปลี่ยนรูปแบบไปเป3นแฟ]มขอมูล (files) แทน ทั้งยังมีความ สะดวกต.อการเผยแพร.และจัดพิมพเป3นเอกสาร (documents printing) รูปแบบของหนังอิเล็กทรอนิกสยุคแรกๆ มีลักษณะเป3นเอกสารประเภท .doc, .txt, .rtf, และ .pdf ไฟล ต.อมาเมื่อมีการพัฒนาภาษา HTML (Hypertext Markup Language) ขอมูลต.างๆ ก็จะถูกออกแบบและ ตกแต.งในรูปของเว็บไซต โดยในแต.ละหนาของเว็บไซตเราเรียกว.า "web page" โดยสามารถเปjดดูเอกสาร เหล.านั้นไดดวยเว็บเบราวเซอร (web browser) ซึ่งเป3นโปรแกรมประยุกตที่สามารถแสดงผลขอความ ภาพ และการปฏิสัมพันธผ.านระบบเครือข.ายอินเทอรเน็ต เมื่ออินเทอรเน็ตไดรับความนิยมมากขึ้น บริษัทไมโครซอฟต (Microsoft) ไดผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกส ขึ้นมาเพื่อคอยแนะนําในรูปแบบ HTML Help ขึ้นมา มีรูปแบบของไฟลเป3น .CHM โดยมีตัวอ.านคือ Microsoft Reader (.LIT) หลังจากนั้นต.อมามีบริษัทผูผลิตโปรแกรมคอมพิวเตอรจํานวนมาก ไดพัฒนา โปรแกรมจนกระทั่งสามารถผลิตเอกสารอิเล็กทรอนิกสออกมาเป3นลักษณะ เหมือนกับหนังสือทั่วไปได เช.น สามารถแทรกขอความ แทรกภาพ จัดหนาหนังสือไดตามความตองการของผูผลิต และที่พิเศษกว.านั้นคือ หนังสืออิเล็กทรอนิกสเหล.านี้ สามารถสรางจุดเชื่อมโยงเอกสาร (Hypertext) ไปยังเว็บไซตที่เกี่ยวของอื่นๆ ทั้ง ภายในและภายนอกได อีกทั้งยังสามารถแทรกเสียง ภาพเคลื่อนไหวต.างๆ ลงไปในหนังสือได โดยคุณสมบัติ เหล.านี้ไม.สามารถทําไดในหนังสือทั่วไป ความหมายของ e-Book “อีบุoค” (e-book, e-Book, eBook, EBook,) เป3นคําภาษาต.างประเทศ ย.อมาจากคําว.า electronic book หมายถึง หนังสือที่สรางขึ้นดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรมีลักษณะเป3นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส โดยปกติ มักจะเป3นแฟ]มขอมูลที่สามารถอ.านเอกสารผ.านทางหนาจอคอมพิวเตอร ทั้งในระบบออฟไลนและออนไลน คุณลักษณะของหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถเชื่อมโยงจุดไปยังส.วนต.างๆ ของหนังสือ เว็บไซตต.างๆ ตลอดจนมีปฏิสัมพันธและโตตอบกับผูเรียนได นอกจากนั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถแทรกภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว แบบทดสอบ และสามารถสั่งพิมพเอกสารที่ตองการออกทางเครื่องพิมพได อีกประการหนึ่งที่ สําคัญก็คือ หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยไดตลอดเวลา ซึ่งคุณสมบัติเหล.านี้จะไม.มีใน หนังสือธรรมดาทั่วไป
  • 5. วิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกส* ไดมีการกล.าวถึงประวัติความเป3นมาหรือวิวัฒนาการของหนังสืออิเล็กทรอนิกสไวว.าความคิดใน เรื่อง หนังสืออิเล็กทรอนิกสไดปรากฏในนิยายทางวิทยาศาสตรมาตั้งแต.ภายหลังปW ค.ศ. 1940 เป3นหลัก การใหม.ของ คอมพิวเตอรตามแบบแผน IBM มีผลิตภัณฑ คือ Book Master เนื้อหาหนังสือ อิเล็กทรอนิกสในปW 1980 และ ก.อนปW 1990 ในช.วงแรก มี 2 ส.วน คือ เรื่องเกี่ยวกับคู.มืออางอิง และการ ศึกษาบันเทิง งานที่เกี่ยวกับอางอิง มักจะเป3นเรื่องเกี่ยวกับการผลิตและการเผยแพร.เอกสารทางวิชาการ พรอม ๆ กับการผลิตผลิตภัณฑที่ซับซอน เช.น Silicon Graphics , Novell และผูผลิตไดผลิตคู.มือ Dynatext ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส จํานวน 12 ชื่อ ตามรูปแบบเทคโนโลยีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส และในช.วงสิบปWมานี้ก็ไดเห็นความพยายามที่จะนําผลิตภัณฑ ที่คลายกับเป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสเขามา จําหน.ายในโลกแห.งความจริง แต.ส.วนมากก็ลมเหลว แต.ก็มีบางที่ ยังพอยู.ในตลาด เช.น Book man หรือ Franklin Bookman ซี่งการใชงานยังคงห.างไกลที่จะเขามาเชื่อมโยงใน ตลาดกระแสแมนสตีมได ป{ญหา ของอุปกรณเหล.านี้ก็คือ จอภาพขนาดเล็กที่สามารถอ.านออกไดยาก อายุการ ใชงานแบตเตอรี่ที่ค.อนขาง สั้น อีกทั้งไม.มีเทคโนโลยีในการแปลงรหัส (encryption) เพื่อป]องกันขอมูลของผู พิมพในเรื่องของ ลิขสิทธิ์ของตัวอักษร อีกทั้งวิธีจัดจําหน.ายและแสดงผลต.างๆ กันก็ยังไม.สะดวกต.อผูใช อย.างเช.นการใช แผ.นซีดีรอมหรือตลับบรรจุแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส พัฒนาการอันหนึ่งที่ไดเขามามีส.วนช.วยให หนังสืออิเล็กทรอนิกสเกิดการรุดหนาเร็วขึ้นจน สามารถบรรลุผลในการเป3นหนังสือที่สมบูรณแบบก็คือ แล็บท็ อปคอมพิวเตอร นั่นก็คือการนําบางส.วน ของแล็บท็อป เช.น สกรีน มาใชในหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่สําคัญก็คือ ในระยะเมื่อไม.กี่ปWมานี้ราคาของ ส.วนประกอบของคอมพิวเตอรไดลดลงไปมาก จนทําใหการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกสมีคุณภาพสูง นอก จากนี้การบูมของอินเตอรเน็ตก็ไดเขามาทําใหมนุษยสามารถส.งสิ่งที่เป3น เอกสารหรือหนังสือไดคราวละ มาก ๆ โดยอาศัยอินเทอรเน็ตและสิ้นเปลืองค.าใชจ.ายนอย และไม.ตองมี ดิสกเก็ตหรือการดสําหรับการใช ในการเก็บขอมูล เช.น นวนิยาย หรือเอกสารตํารา ในกรณีที่มีผูเกรงว.าจะมี การละเมิดลิขสิทธิ์ดวยการ อาศัยไปรษณียอิเล็กทรอนิกสเป3นเครื่องมือในการรับส.งหนังสือ ตํารา หรือนวนิยาย นั้น ก็สามารถป]องกัน ไดดวยการใชรหัส (encryption) เพื่อไม.ใหบรรดาผูใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถใช ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกสในการแจกจ.ายเนื้อหาในหนังสือนวนิยายหรือตํารา โดยไม.ตองไปซื้อหามา อนึ่ง หนังสือ อิเล็กทรอนิกสก็ไดอาศัยหลักการที่ว.าจะนําเทคโนโลยีที่มีความบางเบามากๆ มาใช เช.น สกรีน โดยจะ ละ ทิ้งทุกสิ่งในแล็บท็อปที่มีน้ําหนักมาก เช.น โปรเซสเซอรแบบเฮฟวี่ดิวตี้ งานพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส จึง ไดมุ.งหนักไปในเรื่องของความบางเบาและการพิมพทุกอย.างลงบนแผ.นพลาสติกหรือสิ่งอื่นใดที่จะนํา มาทํา หนาที่คลายกับกระดาษใหมากที่สุดเท.าที่จะทําได อันหมายถึงการพิมพตั้งแต.สิ่งที่เป3นวงจรทาง อิเล็กทรอนิกส จนถึงสิ่งอื่นๆ เช.น หน.วยความจําสํารอง (ภายในหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะไม.มีซีพียู) ลงบน แผ.นบางๆ ที่จะทํา
  • 6. หนาที่เป3นส.วนประกอบของหนังสืออิเล็กทรอนิกสอันเนื่องจากตองการประหยัดน้ํา หนัก นอกจากนี้ลักษณะที่ กล.าวมาของไปรษณียอิเล็กทรอนิกส ก็ยังมีส.วนที่เรียกว.าเนื้อหาดวยซึ่งเนื้อหา ในที่นี้ไดมีกล.าวไวว.า เนื้อหา (content) เป3นเครื่องมือที่สามารถใชประโยชนบนเครือข.ายมีความสามารถ ในการส.งสัญญาณเสียง การ แพร.กระจายของวัสดุ ที่มา : http://agritech.doae.go.th/e-learning/home/ebook.htm ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส* หนังสืออิเล็กทรอนิกส* แบงออกเป5น 10 ประเภท ดังนี้คือ 1) หนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือแบบตํารา (Textbooks) หนังสืออิเล็กทรอนิกส รูปหนังสือปกติที่พบเห็นทั่วไป หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้สามารถกล.าวไดว.าเป3นการแปลงหนังสือจากสภาพสิ่งพิมพปกติเป3นสัญญาณ ดิจิตอล เพิ่มศักยภาพเดิมการนําเสนอ การปฏิสัมพันธ ระหว.างผูอ.านหนังสืออีเล็กทรอนิกส ดวยศักยภาพของ คอมพิวเตอรขั้นพื้นฐาน เช.น การเปjดหนาหนังสือ การสืบคน การคัดเลือก เป3นตน 2) หนังสืออีเล็กทรอนิกส แบบหนังสือเสียงอ.าน มีเสียงคําอ.าน เมื่อเปjดหนังสือจะมีเสียง อ.านหนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทเหมาะสําหรับหนังสือเด็กเริ่มเรียน หรือหนังสือฝ‚กออกเสียง หรึอฝ‚กพูด (Talking Book1) เป3นตน หนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดนี้เป3นการเนนคุณลักษณะดานการนําเสนอเนื้อหาที่เป3น ตัวอักษรและเสียงเป3นคุณลักษณะหลัก นิยมใชกับกลุ.มผูอ.านที่มีระดับลักษณะทางภาษาโดยเฉพาะดานการฟ{ง หรือการอ.านค.อนข.างต่ํา เหมาะสําหรับการเริ่มตนเรียนภาษาของเด็ก ๆ หรือผูที่กําลังฝ‚กภาษาที่สอง หรือฝ‚ก ภาษาใหม.เป3นตน 3) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพนิ่ง หรืออัลบั้มภาพ (static Picture Books) เป3นหนังสือ อิเล็กทรอนิกส ที่มีคุณลักษณะหลักเนนจัดเก็บขอมูล และนําเสนอขอมูลในรูปแบบภาพนิ่ง (static picture) หรืออัลบั้มภาพเป3นหลัก เสริมดวยการนําศักยภาพของคอมพิวเตอรมาใชในการนําเสนอ เช.น การเลือกภาพที่ ตองการ การขยายหรือย.อขนาดของภาพของคอมพิวเตอรมาใชในการนําเสนอ เช.น การเลือกภาพที่ตองการ การขยายหรือย.อขนาดของภาพหรือตัวอักษร การสําเนาหรือการถ.ายโอนภาพ การแต.งเติมภาพ การเลือก เฉพาะส.วนของภาพ (cropping) หรือเพิ่มขอมูล เชื่อมโยงภายใน (Linking information) เช.น เชื่อมขอมูล อธิบายเพิ่มเติม เชื่อมขอมูลเสียงประกอบ เป3นตน
  • 7. 4) หนังสืออิเล็กทรอนิกส แบบหนังสือภาพเคลื่อนไหว (Moving Picture Books) เป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่ เนน การนําเสนอขอมูลในรูปแบบภาพวีดิทัศน (Video Clips) หรือภาพยนตรสั้น ๆ (Films Clips) ผนวกกับ ขอมูลสนเทศที่อยู.ในรูปตัวหนังสือ (Text Information) ผูอ.านสามารถเลือกชมศึกษาขอมูลได ส.วนใหญ.นิยม นําเสนอขอมูลเหตุการณประวัติศาสตร หรือเหตุการณสําคัญ เช.น ภาพเหตุการณสงคราโลก ภาพการกล.าว สุนทรพจนของบุคคลสําคัญ ๆ ของโลกในโอกาสต.าง ๆ ภาพเหตุการณความสําเร็จหรือสูญเสียของโลกเป3นตน 5) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสม (Multimedia) เป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนนเสนอขอมูล เนื้อหาสาระ ในลักษณะแบบสื่อผสมระหว.างสื่อภาพ (Visual Media) เป3นทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวกับ สื่อประเภทเสียง (Audio Media)ในลักษณะต.าง ๆ ผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอรอื่นเช.นเดียวกับหนังสือ อิเล็กทรอนิกสอื่น ๆ ที่กล.าวมาแลว 6) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อหลากหลาย (Polymedia books)) เป3นหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี ลักษณะเช.นเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบสื่อประสม แต.มีความหลากหลายในคุณลักษณะดานความ เชื่อมโยงระหว.างขอมูลภายในเล.มที่บันทึกในลักษณะต.าง ๆ เช.น ตัวหนังสือภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี และอื่น ๆ เป3นตน 7) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือเชื่อมโยง ( Hypermedia Book) เป3นหนังสือที่มีคุณลักษณะสามารถ เชื่อมโยงเนื้อหาสาระภายในเล.ม (Internal Information Linking) ซึ่งผูอ.านสามารถคลิกเพื่อเชื่อมไปสู.เนื้อหา สาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกันภายใน ภารเชื่อมโยงเช.นนี้มีคุณลักษณะเช.นเดียวกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตก กิ่ง ( Branching Programmed Instruction)นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยงกับแหล.งเอกสารภายนอก (External or Information Sources) เมื่อเชื่อมต.อระบบอินเตอรเน็ต 8) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสืออัจฉริยะ ( Intelligent Electronic Books) เป3นหนังสือประสม แต.มีการ ใชโปรแกรมชั้นสูงที่สามารถมีปฏิกิริยา หรือ ปฏิสัมพันธ กับผูอ.านเสมือนหนังสือมีสติป{ญญา (อัจฉริยะ) ในการ ไตร.ตรอง หรือคาดคะเนในการโตตอบ หรือปฏิกิริยากับผูอ.าน 9) หนังสืออิเล็กทรอนิกส แบบสื่อหนังสือทางไกล ( Telemedia Electronic Books) หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีคุณลักษณะหลักต.าง ๆ คลายกับ Hypermedia Electronic Books แต.เนนการเชื่อมโยงกับแหล.งขอมูลภายนอกผ.านระบบเครือข.าย ( Online Information Sourcess) ทั้งที่เป3น เครือข.ายเปjด และเครือข.ายเฉพาะสมาชิกของเครือข.าย
  • 8. 10) หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือไซเบอรเสปซ (Cyberspace books) หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มี ลักษณะเหมือนกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสหลาย ๆ แบบที่กล.าวมาแลวผสมกัน สามารถเชื่อมโยงแหล.งขอมูลทั้ง จากแหล.งภายในและภายนอกสามารถนําเสนอขอมูลในระบบสื่อที่หลากหลาย สามารถปฏิสัมพันธกับผูอ.านได หลากหลาย โปรแกรมที่นิยมใชสราง e-Book โปรแกรมที่นิยมใชสราง e-Book มีอยู.หลายโปรแกรม แต.ที่นิยมใชกันมากในป{จจุบันไดแก. 1. โปรแกรมชุด Flip Album 2. โปรแกรม DeskTop Author 3. โปรแกรม Flash Album Deluxe ชุดโปรแกรมทั้ง 3 จะตองติดตั้งโปรแกรมสําหรับอ.าน e-Book ดวย มิฉะนั้นแลวจะเปjดเอกสารไม.ได ประกอบดวย 1.1 โปรแกรมชุด Flip Album ตัวอ.านคือ FlipViewer 1.2 โปรแกรมชุด DeskTop Author ตัวอ.านคือ DNL Reader 1.3 โปรแกรมชุด Flash Album Deluxe ตัวอ.านคือ Flash Player สําหรับบางท.านที่มีความชํานาญในการใชโปรแกรม Flash Mx ก็สามารถสราง e-Book ไดเช.นกัน แต.ตองมี ความรูในเรื่องการเขียน Action Script และ XML เพื่อสราง e-Book ใหแสดงผลตามที่ตองการได
  • 9. ความแตกตางของหนังสืออิเล็กทรอนิกส* (e-Book) กับหนังสือทั่วไป หนังสืออิเล็กทรอนิกส* หนังสือทั่วไป ไม.ใชกระดาษ (อนุรักษทรัพยากรป‡าไม) ใชกระดาษ สามารถสรางใหมีภาพเคลื่อนไหวได มีขอความและภาพประกอบธรรมดา สามารถใส.เสียงประกอบได ไม.มีเสียงประกอบ สามารถแกไขและปรับปรุงขอมูล (update) ไดง.าย สามารถแกไขปรับปรุงไดยาก สามารถสรางจุดเชื่อมโยง (links) ออกไปยังขอมูลภายนอกได มีความสมบูรณในตัวเอง มีตนทุนในการผลิตหนังสือต่ํา มีตนทุนการผลิตสูง ไม.มีขีดจํากัดในการจัดพิมพ สามารถทําสําเนาไดง.ายไม.จํากัด มีขีดจํากัดในการจัดพิมพ สามารถอ.านผ.านคอมพิวเตอร และสั่งพิมพผลได สามารถเปjดอ.านจากเล.ม อ.านไดอย.าง เดียว หนังสืออิเล็กทรอนิกส 1 เล.ม สามารถอ.านพรอมกันไดจํานวนมาก (ออนไลนผ.านระบบเครือข.ายอินเทอรเน็ต) สามารถอ.านได 1 คนต.อหนึ่งเล.ม สามารถพกพาสะดวกไดครั้งละจํานวนมากในรูปแบบของไฟล คอมพิวเตอร และสามารถเขาถึงโดยไม.จํากัดเรื่องสถานที่และเวลา พกพาลําบากและตองเดินทางไปใชที่ หองสมุดและศูนยสารนิเทศต.าง ๆ โครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส* (e-Book Construction) ลักษณะโครงสรางของหนังสืออิเล็กทรอนิกสจะมีความคลายคลึงกับหนังสือทั่วไป ที่พิมพดวยกระดาษ หากจะ มีความแตกต.างที่เห็นไดชัดเจนก็คือกระบวนการผลิต รูปแบบ และวิธีการอ.านหนังสือ สรุปโครงสรางทั่วไปของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ประกอบดวย • หนาปก (Front Cover) • คํานํา (Introduction) • สารบัญ (Contents) • สาระของหนังสือแต.ละหนา (Pages Contents) • อางอิง (Reference) • ดัชนี (Index) • ปกหลัง (Back Cover) หนาปก หมายถึง ปกดานหนาของหนังสือซึ่งจะอยู.ส.วนแรก เป3นตัวบ.งบอกว.าหนังสือเล.มนี้ชื่ออะไร ใครเป3นผู แต.ง คํานํา หมายถึง คําบอกกล.าวของผูเขียนเพื่อสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับขอมูล และเรื่องราวต.างๆ ของ
  • 10. หนังสือเล.มนั้น สารบัญ หมายถึง ตัวบ.งบอกหัวเรื่องสําคัญที่อยู.ภายในเล.มว.าประกอบดวยอะไรบาง อยู.ที่หนาใดของหนังสือ สามารถเชื่อมโยงไปสู.หนาต.างๆ ภายในเล.มได สาระของหนังสือแต.ละหนา หมายถึง ส.วนประกอบสําคัญในแต.ละหนา ที่ปรากฏภายในเล.ม ประกอบดวย • หนาหนังสือ (Page Number) • ขอความ (Texts) • ภาพประกอบ (Graphics) .jpg, .gif, .bmp, .png, .tiff • เสียง (Sounds) .mp3, .wav, .midi • ภาพเคลื่อนไหว (Video Clips, flash) .mpeg, .wav, .avi • จุดเชื่อมโยง (Links) โปรแกรม Desktop Author++++ 1. ไฟลมีขนาดเล็ก ช.วยใหง.ายในการดาวนโหลด และส.งขอมูล 2. มีลักษณะคลายกับหนังสือซึ่งเป3นรูปแบบที่อ.านแลวเขาใจไดง.าย 3. สามารถสั่งพิมพหนาแต.ละหนา หรือทั้งหมดของหนังสือได 4. ผูใชสามารถส.งต.อไดง.ายโดยการส.งผ.านอีเมล หรือระบบเครือข.าย 5. สามารถใชไดทั้งเครื่องคอมพิวเตอร PC และ Note Book คุณสมบัติของ desktop author ผลงานเป3นไดทั้งสื่อ Offline ในรูปแบบ .exe สื่อออนไลน .html + .dnl ที่มีขนาดเล็กเหมาะสําหรับการ นําเสนอผ.านเว็บไซต แต.การเรียกดูจําเป3นตองติดตั้ง DNL Reader ก.อนจึงจะแสดงผลได และ Screen Saver (.scr) สําหรับการรักษาอายุจอภาพคอมพิวเตอรดวยสื่อที่สรางสรรคไดดวยตัวเอง
  • 12. 1. คลิกปุ‡ม Start 2. เลือก Programs 3. เลือก Desktop Author 4. เลือก Desktop Author 4 สวนประกอบของโปรแกรม desktop author ++++++++++ 1. New ใชสําหรับการสรางงานใหม. 2. Open ใชสําหรับเปjดงานที่มีอยู.แลวเพื่อดูหรือแกไข 3. Save ใชสําหรับบันทึกไฟลงานที่ไดทําขึ้น 4. Page ใชสําหรับชมตัวอย.าง (Preview) งานที่ไดทําขึ้นมา 5. Package (EXE) ใชบีบอัดไฟลงานทั้งหมดที่ทําขึ้นมาใหรวมเป3นไฟลเดียวโดยมีนามสกุลเป3น
  • 13. .EXE 6. Package (DNL) ใชบีบอัดไฟลงานทั้งหมดที่ทําขึ้นมาใหรวมเป3นไฟลเดียวโดยมีนามสกุลเป3น .DNL สําหรับการทําเวบไซด 7. Package (DRM) ใชป]องกันไฟลงานทั้งหมดที่ทําขึ้นมาเพื่อนําเสนอในเวบไซดไฟลเดียวโดยมี นามสกุลเป3น .DRM 8. Package (SCR) ใชในการทํา Screen Saver 9. Publish ใชสําหรับใส.ไฟล DNL ลงในเวบไซด 10. Upload ใชสําหรับ Upload ไฟลที่ไดทําขึ้นเวบไซด 11. Multimedia ใชในการแทรกไฟลมัลติมีเดียต.างๆ ไม.ว.าจะเป3นเพลง หรือ มิวสิควีดีโอ หรือ ภาพยนตร สนับสนุนไฟลนามสกุล .swf, .wma, .wav เป3นตน 12. Eazyform ใชในการแทรกคําถาม คําตอบ และเพิ่ม Object ต.างๆลงในงาน 13. Refresh ใชสําหรับ Refresh งานที่ทํา 14. Properties ใชตั้งค.าต.างๆของ งานที่ทํา 15. Template ใชเลือกรูปแบบต.างๆ ใหกับชิ้นงาน 16. Buttonsใชเลือกปุ‡มต.างๆที่จะใหมีในงานของเรา
  • 14.
  • 15. แบบทดสอบหน.วยที่ 1 เรื่อง รูจัก desktop author คําสั่ง ใหนักเรียนคลิกเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 1) ขอใดไม.ใช.คุณสมบัติของโปรแกรม Desktop Author ไฟลมีขนาดใหญ. สามารถดาวนโหลดและส.งขอมูลไดชา มีลักษณะคลายกับหนังสือซึ่งเป3น รูปแบบที่อ.านแลวเขาใจไดง.าย สามารถส.งต.อไดง.ายโดยการส.ง ผ.านอีเมล หรือระบบเครือข.าย สามารถแทรกเสียงเพลง ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียงบรรยายได -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 2) มีวิธีการเรียกใชโปรแกรม Desktop Author อย.างไร Start -> Program -> DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4 Program -> Start -> DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4 DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4 -> Program -> Start Program -> DeskTopAuthor -> DeskTopAuthor4 -> Start -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 3) ขอใดเป3นการเตรียมงานเบื้องตนก.อนการสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส
  • 16. ย.อไฟลภาพใหมีขนาดเหมาะสมก.อน นําไปใชงาน กําหนดการเชื่อมโยงเพื่อไม.ใหมี ป{ญหาในการนําเสนอผ.านเว็บไซต สรางโฟลเดอรสําหรับหนังสือ อิเล็กเล็กทรอนิกส 1 โฟลเดอร ต.อ หนังสือ 1 เล.ม เตรียมไฟลประกอบโดยตั้งชื่อเป3น ภาษาอังกฤษหรือผสมตัวเลขและหามเวนวรรค -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 4) ขอใดใหความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกสไดถูกตองที่สุด หนังสือที่ประกอบไปดวยขอความ ภาพและเสียง หนังสือที่สามารถสั่งพิมพทาง เครื่องพิมพได หนังสือที่สามารถเปjดอ.านไดใน เครื่องคอมพิวเตอร หนังสือที่สรางดวยโปรแกรม คอมพิวเตอรและเปjดอ.านไดเหมือนหนังสือจริง -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 5) e-book ย.อมาจากคําภาษาอังกฤษในขอใด electron book etraining book electrolux book electronic book -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 6) ซอฟตแวร reader เกี่ยวของอย.างไรกับหนังสืออิเล็คทรอนิกส ซอฟตแวรสําหรับการอ.าน
  • 17. ซอฟตแวรสําหรับการเขียน ซอฟตแวรสําหรับการออกแบบ ซอฟตแวรสําหรับการถอดรหัส ขอที่ 7) ขอใดคือความสามารถของหนังสืออิเล็คทรอนิกสที่แตกต.างจากหนังสือจริง อ.านผ.านคอมพิวเตอรและสั่งพิมพได พกพาไดสะดวกไม.จํากัดสถานที่และเวลา มีขอความและภาพประกอบ สามารถอ.านได 1 คน ต.อ 1 เล.ม ขอที่ 8)ขอใด ไม. ใช. ความสามารถของโปรแกรม Desktop Author สราง Screen Sever สําหรับการรักษาอายุจอภาพคอมพิวเตอร ดาวนโหลดหนังสืออิเล็กทรอนิกส จากเครือข.ายอินเทอรเน็ต สรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี ลักษณะเหมือนหนังสือจริง สรางสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกสใน รูปแบบหนาพลิก 3 มิติ -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 9) กลุ.มแถบเครื่องมือ page ใชสําหรับ การเพิ่ม / ลบ เปjดหนากระดาษ
  • 18. แทรกขอความ รูปภาพ มัลติมีเดีย การตัด / คัดลอก / ลบไฟล การเปลี่ยนแปลงค.าต.าง ๆ -------------------------------------------------------------------------------- ขอที่ 10) ไฟลที่ผ.านการบีบอัด (Package) แบบใดที่จําเป3นตองติดตั้งโปรแกรมสําหรับอ.าน (Reader) ก.อนจึง จะใชงานหนังสืออิเล็กทรอนิกสได EXE DNL DML DRM