SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th
เทคโนโลยีที่สรางใหเกิดแหลงพลังงานทางเลือกและลดการปลอยมลพิษ
การดึงกาซจากหลุมฝงกลบ
(Landfill Gas Recovery)
การดึงกาซจากหลุมฝงกลบ (Landfill Gas Recovery) เปนการรวบรวมกาชมีเทนจากขยะอินทรียในหลุมฝงกลบ
เปนผลพลอยไดจากการยอยสลายในหลุมฝงกลบขยะอินทรีย อาทิ เศษอาหาร เศษหญา และใบไม
Landfill Gas ประกอบดวยมีเทนประมาณ 50% คารบอนไดออกไซด 50%
อัตราการผลิตขึ้นอยูกับองคประกอบของขยะและรูปทรงของหลุมฝงกลบ
ขนาดตลาดโลกของ Landfill Gas Recovery
ระหวางป 2017–2022
อัตราการเติบโตแบบทบตนของตลาด Landfill Gas Recovery
ในชวงป 2017-2022 จะมีอัตราการเติบโตของตลาดอยูที่ 5.4%
โดยภูมิภาคเอเชียแปซิฟกเปนตลาดที่เติบโตมากที่สุด เนื่องมาจาก
นโยบายการสนับสนุนของภาครัฐในการรักษาสิ่งแวดลอม
จากการลดการปลอยมลพิษ
แนวโนมอัตราการใชกาซจากหลุมฝงกลบ
เปนเชื้อเพลิงในยานพาหนะโดยตรงจะเพิ่มมากขึ้น
0.63
2017 2020 2022
ขนาดตลาด
(หนึ
่
ง
พั
น
ล
า
นดอลลาร
)
0.74
0.82
CAGR : 5.4%
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th
การพัฒนาเทคโนโลยีในแตละภูมิภาค
North America:
Dominate the Market
Asia-Pacific (APAC):
Substantial Growth Potential
ทวีปอเมริการเหนือเปนผูนําระดับโลกในการใชงานระบบการดึงกาซจากหลุมฝงกลบ
เนนการใชกาซจากหลุมฝงกลบขยะโดยตรงและผลิตพลังงาน โดยภาครัฐริเริ่ม
สนับสนุนโครงการ EPA’s Landfill Methane Outreach Program
ทวีปยุโรปเปนตลาดเทคโนโลยีการดึงกาซจากหลุมฝงกลบที่ใหญเปนอันดับสองของโลก
เนนเทคโนโลยีกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบที่ใชเปนเชื้อเพลิงของกังหันกาซ (Gas Turbines)
โดยตรง รวมถึงมีโครงการนํากาซจากหลุมฝงกลบมาใชกับยานยนต เปนพลังงานหมุนเวียน
ในการขนสง 10% ภายในป 2020
ทวีปเอเชียแปซิฟกเปนทวีปที่มีอัตราการเติบโตดานเทคโนโลยีกาชจากหลุมฝงกลบสูงสุด
เนื่องมาจากการเกิดของเสียและมลพิษทางสิ่งแวดลอมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศจีน
ที่สะทอนความนาสนใจของตลาด (Market Attractiveness) หรือ อัตราการเติบโต
ของตลาดสินคา (Market Growth Rate)  สูงขึ้น จากการขับเคลื่อนการปกปองสิ่งแวดลอม
ของรัฐบาล รวมถึงประเทศออสเตรเลีย ญี่ปุน และอินเดีย
Europe:
Keen focus on Power and Vehicles
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th
การลงทุนที่สําคัญในการพัฒนา Landfill Gas Recovery ที่ดําเนินการโดยกองทุนสาธารณะ
การลงทุนภาคเอกชน ระบบการเงินคารบอน และกองทุนอื่นๆ ดานสิ่งแวดลอมทั่วโลก
มีเปาหมายเพื่อลดปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect)
ที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน (Global Warming)
ธนาคารพาณิชย จัดทําโปรแกรมสนับสนุนโครงการ Landfill Gas Recovery
โดยการทําสัญญาซื้อขายกาซเรือนกระจก (Emission Reduction Purchase
Agreement) ในการซื้อขายคารบอนเครดิตในตลาดภาคบังคับ กระตุนใหเกิด
การยอมรับและนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อแปรรูปขยะใหเปนพลังงาน (Waste-to-energy)
แนวโนมการลงทุนที่นาสนใจ
รัฐบาลออสเตรเลีย จัดสรรงบประมาณ 2.38 ลานดอลลาร เพื่อพัฒนาปฏิบัติการ
การจัดการขยะที่เพิ่มขึ้น และสนับสนุนโครงการเปลี่ยน 5 ขยะเปนพลังงาน
โดยกําลังการผลิตพลังงานทดแทน (Renewable Energy) 1 MW
European Bank for Reconstruction and Development มอบเงินทุน 2 ลานดอลลาร
ใหแกเทศบาลนครอัมมาน (The Greater Amman Municipality) ประเทศจอรแดน
เพื่อพัฒนาระบบการผลิตกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบขยะชุมชน (Landfill Gas
to Energy) เพื่อใชแทนนํ้ามันเตาในการผลิตกระแสไฟฟา
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th
โอกาสและศักยภาพในแตละอุตสาหกรรม
พลังงานและสาธารณูปโภค
(Energy & Utilities)
นํ้ามันและกาช
(Oil & Gas)
การขนสง
(Transportation)
ภาคพลังงานและสาธารณูปโภคเปนตลาดที่ใหญที่สุดในอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติ
(Natural Gas) ในการใชเพื่อผลิตไฟฟาและความรอน ซึ่งการใชกาซจากหลุมฝงกลบ
ที่สะอาดชวยเพิ่มการใชประโยชนจากขยะมูลฝอยชุมชนในการผลิตกาซมีเทน
เปนพลังงานทดแทนซึ่งเปนโอกาสในการพัฒนา
กาซจากหลุมฝงกลบสามารถใชเปนเชื้อเพลิงในรถยนตไดเชนเดียวกับกาซธรรมชาติ
โดยโครงการกาซจากหลุมฝงกลบสําหรับยานยนต (Landfill Gas-to-vehicles)
ชวยลดการใชเชื้อเพลิงฟอสซิล และขับเคลื่อนการพัฒนาการขนสงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
มากขึ้น ซึ่งการติดตั้งสถานีเติมเชื้อเพลิงใกลกับสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย
ทําใหมีความไดเปรียบในการพัฒนา Gas-to-Bio CNG Fuelling
ราคาของกาซธรรมชาติ นํ้ามันเบนซิน และนํ้ามันดีเซลที่สูงขึ้น รวมถึงคุณภาพอากาศที่แยลง
ทําใหความตองการเชื้อเพลิงสะอาดทางเลือกใหมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการสงกาซจากหลุมฝงกลบ
ลงสูเครือขายกาซเดิมชวยทดแทนสวนประกอบเชื้อเพลิงฟอสซิลของกาซธรรมชาติ
และลดการพึ่งพาการนําเขาพลังงาน
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th
โอกาสและศักยภาพในแตละอุตสาหกรรม
สิ่งแวดลอมและสภาพภูมิอากาศ
(Environment & Climate)
การสังเคราะหทางเคมี
(chemical synthesis)
กาชมีเทน 50% และคารบอนไดออกไซด 50% ที่เกิดจากหลุมฝงกลบ
เปนหนึ่งในสาเหตุสําคัญของปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect)
ซึ่งการนํากาชมีเทนจากหลุมฝงกลบมาใชประโยชนเปนการรักษาสิ่งแวดลอม
ลดการปลอยมีเทน และบรรเทาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Climate Change)
กาซจากหลุมฝงกลบสามารถใชเปนวัตถุดิบตั้งตน (Feedstocks)
ในการผลิตสารประกอบอินทรีย (Organic Compound) ในอุตสาหกรรม
การผลิตหมึกพิมพ ผลิตภัณฑยาง แอมโมเนีย นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันสังเคราะห
และตัวทําละลาย (Solvents) และยังสามารถใชประโยชนในการผลิต
ไฮโดรเจนชีวภาพ (Biohydrogen) ได
CH4
Co2
กระบวนการเทคนิคทางจุลชีววิทยาที่เหนือกวา
สามารถทําประโยชนจากการกูคืนกาซจากหลุมฝงกลบได
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th
กระบวนการทางจุลชีววิทยาและการหมุนเวียนนํ้าชะขยะที่ดีกวา
สามารถเรงการยอยสลายขยะในหลุมฝงกลบ และเพิ่ม
เสถียรภาพของการผลิตกาชมีเทน ในการลด
การปลอยกาซเรือนกระจกไดตลอดอายุหลุมฝงกลบ
การใชกาซจากหลุมฝงกลบเปนเชื้อเพลิงรถยนตจะเพิ่มมากขึ้น
ทําใหเทคโนโลยีการปรับปรุงกรรมวิธีการแยก
และการทําใหกาซบริสุทธิ์เปนสิ่งจําเปน อาทิ การดูดซึม
(Absorption) การแยกดวยเยื่อแผน (Membrane Separation)
การพัฒนาเซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cells) อาทิ เซลลเชื้อเพลิง
แบบกรดฟอสฟอริก (Phosphoric Acid Fuel Cell)
เซลลเชื้อเพลิงชนิดคารบอเนตหลอมเหลว (Molten
Carbonate Fuel Cell) และเซลลเชื้อเพลิงโซลิดออกไซด
(Solid Oxide Fuel Cell) จากกาซจากหลุมฝงกลบ
จะชวยใหลดการสรางมลภาวะตํ่าพิเศษ
แนวโนมการใชประโยชนจากเทคโนโลยี
Landfill Gas Recovery
2018
2019
2020
เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากกาซชีวภาพ
จากการฝงกลบขยะมูลฝอย
แบบ Bioreactor Landfills
เซลลเชื้อเพลิงจากกาซจากหลุมฝงกลบ
(Fuel Cells Powered by Landfill Gas)
เทคโนโลยีการปรับปรุงกระบวนการผลิตกาซชีวภาพ
จากหลุมฝงกลบ
(Enhanced Landfill Biogas Upgradation)
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th
บริษัทนวัตกรในระบบนิเวศ (Innovator Ecosystem)
BioCNG พัฒนาเทคโนโลยีแปลงกาซชีวภาพ
เพื่อใชกับรถยนตที่ใชกาซธรรมชาติ กําลังการผลิต
เชื้อเพลิงแบบผสมผสานอยูที่ 100-10,000 เทียบเทา
แกลลอนของเบนซิน (Gasoline Gallon
Equivalents:GGEs) ตอวัน
Waste Management เปนผูนําในการจัดการขยะ
แบบครบวงจร ผลิตกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบ
ขยะชุมชน (Landfill Gas to Energy) สําหรับผลิตไฟฟา
และพลังงานอื่นๆ รวมถึงใชเปนเชื้อเพลิงรถบรรทุก
A.R.C. เปนผูออกแบบเทคโนโลยีและผลิตระบบ Advanced
Gas Separation ในกระบวนการสงกระแสกาซมีเทน
จากหลุมฝงกลบหรือชีวมวล (Biomass) บริสุทธิ์
ผานกระบวนการดูดซับสลับความดัน สารปนเปอน
โดยใชคารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนซัลไฟด ออกซิเจน
หรือไนโตรเจนเปนตัวดูดซับกาชมีเทนที่มีหนวยความรอนสูง
FuelCell Energy ไดออกแบบโรงไฟฟา SureSource™
จากการใชประโยชนจากเซลลเชื้อเพลิงแบบเกลือ
คารบอเนตหลอม (Molten Carbonate Fuel Cell)
ในขั้นตอนการพัฒนาวิจัย
Veolia เปนผูนําในการจัดการนํ้า การจัดการขยะ
และใหบริการดานพลังงานในยุโรป พัฒนาเทคโนโลยี
นวัตกรรมสําหรับการผลิตไฟฟาจากกาซจากหลุมฝงกลบ
และการติดตั้งระบบรวบรวมและบําบัดกาซชีวภาพ
HERU พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพลังงานขนาดเล็ก
ที่เรียกวา Home Energy Resources Unit เพื่อผลิต
พลังงานความรอนสําหรับใชงานในครัวเรือนจากของเสีย
แตละประเภท (Waste Stream) ผานกระบวนการ
การสลายตัวดวยความรอน
NIA : National Innovation Agency
www.nia.or.th
: @niathailand : NIA Channel
02-017 5555
info@nia.or.th

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

190522113011-0000001637.pdf

  • 1. NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th เทคโนโลยีที่สรางใหเกิดแหลงพลังงานทางเลือกและลดการปลอยมลพิษ การดึงกาซจากหลุมฝงกลบ (Landfill Gas Recovery) การดึงกาซจากหลุมฝงกลบ (Landfill Gas Recovery) เปนการรวบรวมกาชมีเทนจากขยะอินทรียในหลุมฝงกลบ เปนผลพลอยไดจากการยอยสลายในหลุมฝงกลบขยะอินทรีย อาทิ เศษอาหาร เศษหญา และใบไม Landfill Gas ประกอบดวยมีเทนประมาณ 50% คารบอนไดออกไซด 50% อัตราการผลิตขึ้นอยูกับองคประกอบของขยะและรูปทรงของหลุมฝงกลบ
  • 2. ขนาดตลาดโลกของ Landfill Gas Recovery ระหวางป 2017–2022 อัตราการเติบโตแบบทบตนของตลาด Landfill Gas Recovery ในชวงป 2017-2022 จะมีอัตราการเติบโตของตลาดอยูที่ 5.4% โดยภูมิภาคเอเชียแปซิฟกเปนตลาดที่เติบโตมากที่สุด เนื่องมาจาก นโยบายการสนับสนุนของภาครัฐในการรักษาสิ่งแวดลอม จากการลดการปลอยมลพิษ แนวโนมอัตราการใชกาซจากหลุมฝงกลบ เปนเชื้อเพลิงในยานพาหนะโดยตรงจะเพิ่มมากขึ้น 0.63 2017 2020 2022 ขนาดตลาด (หนึ ่ ง พั น ล า นดอลลาร ) 0.74 0.82 CAGR : 5.4% NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th
  • 3. การพัฒนาเทคโนโลยีในแตละภูมิภาค North America: Dominate the Market Asia-Pacific (APAC): Substantial Growth Potential ทวีปอเมริการเหนือเปนผูนําระดับโลกในการใชงานระบบการดึงกาซจากหลุมฝงกลบ เนนการใชกาซจากหลุมฝงกลบขยะโดยตรงและผลิตพลังงาน โดยภาครัฐริเริ่ม สนับสนุนโครงการ EPA’s Landfill Methane Outreach Program ทวีปยุโรปเปนตลาดเทคโนโลยีการดึงกาซจากหลุมฝงกลบที่ใหญเปนอันดับสองของโลก เนนเทคโนโลยีกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบที่ใชเปนเชื้อเพลิงของกังหันกาซ (Gas Turbines) โดยตรง รวมถึงมีโครงการนํากาซจากหลุมฝงกลบมาใชกับยานยนต เปนพลังงานหมุนเวียน ในการขนสง 10% ภายในป 2020 ทวีปเอเชียแปซิฟกเปนทวีปที่มีอัตราการเติบโตดานเทคโนโลยีกาชจากหลุมฝงกลบสูงสุด เนื่องมาจากการเกิดของเสียและมลพิษทางสิ่งแวดลอมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศจีน ที่สะทอนความนาสนใจของตลาด (Market Attractiveness) หรือ อัตราการเติบโต ของตลาดสินคา (Market Growth Rate)  สูงขึ้น จากการขับเคลื่อนการปกปองสิ่งแวดลอม ของรัฐบาล รวมถึงประเทศออสเตรเลีย ญี่ปุน และอินเดีย Europe: Keen focus on Power and Vehicles NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th
  • 4. การลงทุนที่สําคัญในการพัฒนา Landfill Gas Recovery ที่ดําเนินการโดยกองทุนสาธารณะ การลงทุนภาคเอกชน ระบบการเงินคารบอน และกองทุนอื่นๆ ดานสิ่งแวดลอมทั่วโลก มีเปาหมายเพื่อลดปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน (Global Warming) ธนาคารพาณิชย จัดทําโปรแกรมสนับสนุนโครงการ Landfill Gas Recovery โดยการทําสัญญาซื้อขายกาซเรือนกระจก (Emission Reduction Purchase Agreement) ในการซื้อขายคารบอนเครดิตในตลาดภาคบังคับ กระตุนใหเกิด การยอมรับและนําเทคโนโลยีมาใชเพื่อแปรรูปขยะใหเปนพลังงาน (Waste-to-energy) แนวโนมการลงทุนที่นาสนใจ รัฐบาลออสเตรเลีย จัดสรรงบประมาณ 2.38 ลานดอลลาร เพื่อพัฒนาปฏิบัติการ การจัดการขยะที่เพิ่มขึ้น และสนับสนุนโครงการเปลี่ยน 5 ขยะเปนพลังงาน โดยกําลังการผลิตพลังงานทดแทน (Renewable Energy) 1 MW European Bank for Reconstruction and Development มอบเงินทุน 2 ลานดอลลาร ใหแกเทศบาลนครอัมมาน (The Greater Amman Municipality) ประเทศจอรแดน เพื่อพัฒนาระบบการผลิตกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบขยะชุมชน (Landfill Gas to Energy) เพื่อใชแทนนํ้ามันเตาในการผลิตกระแสไฟฟา NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th
  • 5. โอกาสและศักยภาพในแตละอุตสาหกรรม พลังงานและสาธารณูปโภค (Energy & Utilities) นํ้ามันและกาช (Oil & Gas) การขนสง (Transportation) ภาคพลังงานและสาธารณูปโภคเปนตลาดที่ใหญที่สุดในอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติ (Natural Gas) ในการใชเพื่อผลิตไฟฟาและความรอน ซึ่งการใชกาซจากหลุมฝงกลบ ที่สะอาดชวยเพิ่มการใชประโยชนจากขยะมูลฝอยชุมชนในการผลิตกาซมีเทน เปนพลังงานทดแทนซึ่งเปนโอกาสในการพัฒนา กาซจากหลุมฝงกลบสามารถใชเปนเชื้อเพลิงในรถยนตไดเชนเดียวกับกาซธรรมชาติ โดยโครงการกาซจากหลุมฝงกลบสําหรับยานยนต (Landfill Gas-to-vehicles) ชวยลดการใชเชื้อเพลิงฟอสซิล และขับเคลื่อนการพัฒนาการขนสงที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มากขึ้น ซึ่งการติดตั้งสถานีเติมเชื้อเพลิงใกลกับสถานที่ฝงกลบขยะมูลฝอย ทําใหมีความไดเปรียบในการพัฒนา Gas-to-Bio CNG Fuelling ราคาของกาซธรรมชาติ นํ้ามันเบนซิน และนํ้ามันดีเซลที่สูงขึ้น รวมถึงคุณภาพอากาศที่แยลง ทําใหความตองการเชื้อเพลิงสะอาดทางเลือกใหมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งการสงกาซจากหลุมฝงกลบ ลงสูเครือขายกาซเดิมชวยทดแทนสวนประกอบเชื้อเพลิงฟอสซิลของกาซธรรมชาติ และลดการพึ่งพาการนําเขาพลังงาน NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th
  • 6. โอกาสและศักยภาพในแตละอุตสาหกรรม สิ่งแวดลอมและสภาพภูมิอากาศ (Environment & Climate) การสังเคราะหทางเคมี (chemical synthesis) กาชมีเทน 50% และคารบอนไดออกไซด 50% ที่เกิดจากหลุมฝงกลบ เปนหนึ่งในสาเหตุสําคัญของปรากฏการณเรือนกระจก (Greenhouse Effect) ซึ่งการนํากาชมีเทนจากหลุมฝงกลบมาใชประโยชนเปนการรักษาสิ่งแวดลอม ลดการปลอยมีเทน และบรรเทาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) กาซจากหลุมฝงกลบสามารถใชเปนวัตถุดิบตั้งตน (Feedstocks) ในการผลิตสารประกอบอินทรีย (Organic Compound) ในอุตสาหกรรม การผลิตหมึกพิมพ ผลิตภัณฑยาง แอมโมเนีย นํ้ามันเบนซิน นํ้ามันสังเคราะห และตัวทําละลาย (Solvents) และยังสามารถใชประโยชนในการผลิต ไฮโดรเจนชีวภาพ (Biohydrogen) ได CH4 Co2 กระบวนการเทคนิคทางจุลชีววิทยาที่เหนือกวา สามารถทําประโยชนจากการกูคืนกาซจากหลุมฝงกลบได NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th
  • 7. กระบวนการทางจุลชีววิทยาและการหมุนเวียนนํ้าชะขยะที่ดีกวา สามารถเรงการยอยสลายขยะในหลุมฝงกลบ และเพิ่ม เสถียรภาพของการผลิตกาชมีเทน ในการลด การปลอยกาซเรือนกระจกไดตลอดอายุหลุมฝงกลบ การใชกาซจากหลุมฝงกลบเปนเชื้อเพลิงรถยนตจะเพิ่มมากขึ้น ทําใหเทคโนโลยีการปรับปรุงกรรมวิธีการแยก และการทําใหกาซบริสุทธิ์เปนสิ่งจําเปน อาทิ การดูดซึม (Absorption) การแยกดวยเยื่อแผน (Membrane Separation) การพัฒนาเซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cells) อาทิ เซลลเชื้อเพลิง แบบกรดฟอสฟอริก (Phosphoric Acid Fuel Cell) เซลลเชื้อเพลิงชนิดคารบอเนตหลอมเหลว (Molten Carbonate Fuel Cell) และเซลลเชื้อเพลิงโซลิดออกไซด (Solid Oxide Fuel Cell) จากกาซจากหลุมฝงกลบ จะชวยใหลดการสรางมลภาวะตํ่าพิเศษ แนวโนมการใชประโยชนจากเทคโนโลยี Landfill Gas Recovery 2018 2019 2020 เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากกาซชีวภาพ จากการฝงกลบขยะมูลฝอย แบบ Bioreactor Landfills เซลลเชื้อเพลิงจากกาซจากหลุมฝงกลบ (Fuel Cells Powered by Landfill Gas) เทคโนโลยีการปรับปรุงกระบวนการผลิตกาซชีวภาพ จากหลุมฝงกลบ (Enhanced Landfill Biogas Upgradation) NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th
  • 8. บริษัทนวัตกรในระบบนิเวศ (Innovator Ecosystem) BioCNG พัฒนาเทคโนโลยีแปลงกาซชีวภาพ เพื่อใชกับรถยนตที่ใชกาซธรรมชาติ กําลังการผลิต เชื้อเพลิงแบบผสมผสานอยูที่ 100-10,000 เทียบเทา แกลลอนของเบนซิน (Gasoline Gallon Equivalents:GGEs) ตอวัน Waste Management เปนผูนําในการจัดการขยะ แบบครบวงจร ผลิตกาซชีวภาพจากหลุมฝงกลบ ขยะชุมชน (Landfill Gas to Energy) สําหรับผลิตไฟฟา และพลังงานอื่นๆ รวมถึงใชเปนเชื้อเพลิงรถบรรทุก A.R.C. เปนผูออกแบบเทคโนโลยีและผลิตระบบ Advanced Gas Separation ในกระบวนการสงกระแสกาซมีเทน จากหลุมฝงกลบหรือชีวมวล (Biomass) บริสุทธิ์ ผานกระบวนการดูดซับสลับความดัน สารปนเปอน โดยใชคารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจนซัลไฟด ออกซิเจน หรือไนโตรเจนเปนตัวดูดซับกาชมีเทนที่มีหนวยความรอนสูง FuelCell Energy ไดออกแบบโรงไฟฟา SureSource™ จากการใชประโยชนจากเซลลเชื้อเพลิงแบบเกลือ คารบอเนตหลอม (Molten Carbonate Fuel Cell) ในขั้นตอนการพัฒนาวิจัย Veolia เปนผูนําในการจัดการนํ้า การจัดการขยะ และใหบริการดานพลังงานในยุโรป พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมสําหรับการผลิตไฟฟาจากกาซจากหลุมฝงกลบ และการติดตั้งระบบรวบรวมและบําบัดกาซชีวภาพ HERU พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพลังงานขนาดเล็ก ที่เรียกวา Home Energy Resources Unit เพื่อผลิต พลังงานความรอนสําหรับใชงานในครัวเรือนจากของเสีย แตละประเภท (Waste Stream) ผานกระบวนการ การสลายตัวดวยความรอน NIA : National Innovation Agency www.nia.or.th : @niathailand : NIA Channel 02-017 5555 info@nia.or.th