SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
การจัดหาเงินทุนระยะยาวของธุรกิจ
คณะผู้จัดทา
นส.ฐิติวรดา จรรยา 5706104348
นส.ณภาภัช นิยมจันทร์ 5706104350
นส.ณัฎฐา รักษ์ธรรม 5706104352
☺เงินทุนระยะยาว (Long Term Capital)
เงินทุนระยะยาว คือ การจัดหาเงินทุนใน
รูปแบบต่างๆ เพื่อนาเงินมาลงทุนในกิจการ โดย
เงินทุนที่นามาใช้ประโยชน์ให้แก่กิจการต้องมี
ระยะเวลานานกว่า 1ปี
☺ตลาดการเงิน (Financial Markets)
ตลาดการเงิน คือ ตลาดที่อานวยความสะดวก
ในการโอนหรือเปลี่ยนมือของทรัพย์สินทางการเงิน
จากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยทรัพย์สิน
ทางการเงินอาจออกโดยหน่วยธุรกิจหรือรัฐบาลก็ได้
☺บทบาทของตลาดการเงิน
บุคคล : จัดหาเพื่อที่อยู่อาศัย หรือสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ เช่น
รถยนต์
ธุรกิจ : จัดหาเงินทุนระยะยาวเพื่อขยายกิจการ
จัดหาเงินทุนระยะสั้นเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนของกิจการ
รัฐบาล : เพื่อใช้ในโครงการสาธารณูปโภคต่างๆ
►บทบาทของตลาดการเงิน (ต่อ)
ตลาดการเงินยังมีบทบาทสาคัญอีกด้านหนึ่ง คือ ช่วยบุคคล
หรือธุรกิจในด้านการลงทุนในทรัพย์สินทางการเงิน (หลักทรัพย์)
ซึ่งตลาดการเงินจะเสนอทางเลือกที่เป็นโอกาสในการลงทุนให้แก่
บุคคลหรือธุรกิจที่มีเงินทุนส่วนเกินเหลืออยู่
►การจัดหาเงินทุนของธุรกิจ : การโยกย้ายเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ
การโยกย้ายเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ คือ การโยกย้ายเงินออมสู่ผู้ที่
ต้องการใช้เงินทุนในระบบเศรษฐกิจ สามารถแบ่งออกได้3ลักษณะ
1.การจัดหาเงินทุนโดยตรง
เป็นลักษณะของการโยกย้ายเงินทุนโดยตรง ซึ่งบริษัทต้องการ
เงินทุนออกหุ้นจาหน่ายโดยตรงให้กับนักลงทุนและคาดหวังผลตอบแทน
ในอัตราที่สมเหตุสมผล บริษัทใหม่อาจจะทาการจัดหาเงินทุนโดยตรง ซึ่ง
เงินทุนในลักษณะนี้เรียกว่า เงินทุนร่วม (venture capital)
►การจัดหาเงินทุนของธุรกิจ : การโยกย้ายเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ต่อ)
2.การจัดหาเงินทุนผ่านกิจการวานิชธนกิจ
โดยบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ขายหลักทรัพย์ให้แก่
กิจการวานิชธนกิจ ซึ่งกิจการวานิชธนกิจจะทาหน้าที่ขาย
หลักทรัพย์เหล่านั้นแก่นักลงทุนอีกทีหนึ่ง
►การจัดหาเงินทุนของธุรกิจ : การโยกย้ายเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ (ต่อ)
3.การจัดหาเงินทุนโดยผ่านสถาบันการเงิน
เช่น บริษัทประกันชีวิตและกองทุนรวมอาจระดม
เงินทุนจากผู้มีเงินออม โดยการออกหลักทรัพย์จาหน่ายเอง
เมื่อได้เงินทุนจากการจาหน่ายก็จะนาเงินทุนเหล่านั้นไปลงทุน
ในหลักทรัพย์ของธุรกิจอื่นๆอีกทีหนึ่ง
☺องค์ประกอบของตลาดการเงิน
►การเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชนทั่วไปและการเสนอ
ขายหลักทรัพย์แบบเจาะจง
●การเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชนทั่วไป
เป็นการให้โอกาสแก่นักลงทุนรายย่อยหรือนักลงทุน
ประเภทสถาบันในการซื้อหลักทรัพย์ของบริษัท โดย
หลักทรัพย์ที่เสนอขายนี้กระทาผ่านโดยกิจการวานิชธนกิจ
☺องค์ประกอบของตลาดการเงิน (ต่อ)
►การเสนอขายหลักทรัพย์แก่ประชาชนทั่วไปและการเสนอ
ขายหลักทรัพย์แบบเจาะจง
●การเสนอขายหลักทรัพย์แบบเจาะจง
เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์เฉพาะนักลงทุนบางกลุ่ม
ส่วนใหญ่มักจะเป็นนักลงทุนประเภทสถาบันและเป็นการ
จาหน่ายหลักทรัพย์ให้แก่นักลงทุนโดยตรง
☺องค์ประกอบของตลาดการเงิน (ต่อ)
►ตลาดแรกและตลาดรอง
●ตลาดแรก
คือ ตลาดการเงินที่มีการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่นัก
ลงทุนเป็นครั้งแรก โดยหลักทรัพย์นั้นต้องไม่มีการซื้อขายมา
ก่อน
►ตลาดแรกและตลาดรอง
●ตลาดรอง
คือ ตลาดการเงินที่มีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ซึ่งผ่น
การขายมาแล้วจากตลาดแรก
☺องค์ประกอบของตลาดการเงิน (ต่อ)
☺องค์ประกอบของตลาดการเงิน (ต่อ)
►ตลาดเงินและตลาดทุน
●ตลาดเงิน
คือ สถานที่ที่มีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ระยะสั้นที่มี
กาหนดระยะเวลาไถ่ถอนไม่เกิน1ปี องค์กรที่ออกหลักทรัพย์
ระยะสั้นจาหน่ายนี้มักถูกจัดอยู่ในลาดับเครดิตที่ดีมาก เช่น
ตั๋วเงินคลัง ตั๋วเงินที่ธนาคารรับรอง
☺องค์ประกอบของตลาดการเงิน (ต่อ)
►ตลาดเงินและตลาดทุน
●ตลาดทุน
คือ สถานที่ที่มีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ระยะยาวซึ่ง
มีกาหนดระยะเวลาไถ่ถอนเกินกว่า1ปี หลักทรัพย์ที่มีการซื้อ
ขายในตลาดทุนนี้อาจออกโดยภาครัฐและเอกชน
☺หน้าที่ของกิจการวานิชธนกิจ
1.การรับประกันการจาหน่ายหลักทรัพย์ (underwriting)
กิจการวานิชธนกิจจะทาหน้าที่ในการนาหลักทรัพย์ของบริษัทที่จัดหา
เงินทุนนั้นออกจาหน่าย โดยช่วยรับประกันจาหน่ายหลักทรัพย์
2.การจัดจาหน่าย (distributing)
เมื่อกลุ่มกิจการวานิชธนกิจรับประกันการจาหน่ายหลักทรัพย์แล้ว
หลังจากนั้นต้องนาหลักทรัพย์ไปจาหน่ายให้แก่นักลงทุนทั่วไป โดยเป็น
หน้าที่ของกิจการวานิชธนกิจ เพราะมีสาขาทั่วประเทศ
☺หน้าที่ของกิจการวานิชธนกิจ (ต่อ)
3.การให้คาปรึกษา (advising)
กิจการวานิชธนกิจเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านการตลาดและการให้
คาปรึกษาในการออกหลักทรัพย์จาหน่าย เพราะทราบถึงสภาวะของตลาด
และสามารถให้คาแนะนาเกี่ยวกับลักทรัพย์ที่ควรจะออกจาหน่ายใน
ช่วงเวลานั้นๆได้
☺วิธีการจัดจาหน่ายหลักทรัพย์
1.วิธีการเจรจาต่อรอง
บริษัทผู้ออกหลักทรัพย์เจรจาต่อรองโดยตรงกับกิจการวานิช
ธนกิจเกี่ยวกับเงื่อนไขต่างๆ
2.วิธีการประมูลราคาหลักทรัพย์
กิจการวานิชธนกิจหลายๆกลุ่มเข้าแข่งขันประมูลราคา
หลักทรัพย์
☺วิธีการจัดจาหน่ายหลักทรัพย์ (ต่อ)
3.วิธีการจาหน่ายหลักทรัพย์แบบพยายามที่สุด
กิจการวานิชธนกิจจะเป็นเพียงตัวแทนจาหน่ายเท่านั้น จะไม่
รับประกันการจาหน่าย
4.วิธีการจาหน่ายหลักทรัพย์privileged subscription
กิจการวานิชธนกิจจาหน่ายหลักทรัพย์ให้แก่นักลงทุนเฉพาะ
กลุ่ม เช่น ผู้ถือหุ้นปัจจุบัน พนักงานบริษัท
☺วิธีการจัดจาหน่ายหลักทรัพย์
5.วิธีการขายตรง
เป็นวิธีการจาหน่ายหลักทรัพย์ให้แก่นักลงทุนเฉพาะกลุ่มเช่น
เดียวแบบ privileged subscription แต่ต่างกันตรงวิธีการ
ขายตรงจะขายให้แก่นักลงทุนโดยตรงโดยไม่ผ่านกิจการวานิชธนกิจ
☺ค่าใช้จ่ายในการออกและจาหน่ายหลักทรัพย์
►ค่าใช้จ่ายในการออกหลักทรัพย์จาหน่าย
-ค่าจัดพิมพ์หลักทรัพย์
-ค่าที่ปรึกษาทางกฎหมาย
-ค่าจัดทาบัญชี
-ค่าผู้ดูแลผลประโยชน์
-ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
►ผลต่างของค่าสัมประสิทธิ์การขายหลักทรัพย์
ค่าใช้จ่ายในการออก = มูลค่าหลักทรัพย์ที่ขายได้ – ต้นทุนการขาย
และจาหน่ายหลักทรัพย์ หลักทรัพย์
☺ค่าใช้จ่ายในการออกและจาหน่ายหลักทรัพย์ (ต่อ)
คาถามท้ายบท
1.กิจการวานิชธนกิจคืออะไร และทาหน้าที่อะไรบ้าง
ตอบ กิจการวาณิชธนกิจ หรือ ธนาคารเพื่อการลงทุน หน้าที่ของกิจการวาณิชธนกิจ
สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 หน้าที่ดังนี้
1.การรับประกันการจาหน่ายหลักทรัพย์ กิจการวานิชธนกิจจะทาหน้าที่ในการนา
หลักทรัพย์ของบริษัทที่จัดหาเงินทุนนั้นออกจาหน่าย โดยช่วยรับประกันจาหน่าย
หลักทรัพย์
2.การจัดจาหน่าย เมื่อกลุ่มกิจการวานิชธนกิจรับประกันการจาหน่ายหลักทรัพย์
แล้ว หลังจากนั้นต้องนาหลักทรัพย์ไปจาหน่ายให้แก่นักลงทุนทั่วไป โดยเป็นหน้าที่ของ
กิจการวานิชธนกิจ เพราะมีสาขาทั่วประเทศ
3.การให้คาปรึกษา กิจการวานิชธนกิจเป็นผู้เชี่ยวชาญในด้านการตลาดและการให้
คาปรึกษาในการออกหลักทรัพย์จาหน่าย เพราะทราบถึงสภาวะของตลาดและสามารถให้
คาแนะนาเกี่ยวกับลักทรัพย์ที่ควรจะออกจาหน่ายในช่วงเวลานั้นๆได้
2.องค์ประกอบของตลาดการเงิน "ตลาดแรกและตลาดรอง" คืออะไร
ตอบ •ตลาดแรก คือตลาดการเงินที่มีการเสนอขายหลักทรัพย์ให้แก่
นักลงทุนเป็นครั้งแรกแบะหลักทรัพย์ที่เสนอขายนั้นยังไม่เคยมีการซื้อขายมา
ก่อน
•ตลาดรอง คือ ตลาดการเงินที่มีการซื้อหรือขายหลักทรัพย์ผ่าน
การขายมาแล้วจากตลาดแรก
3.การจัดหาเงินทุนโดยตรง เป็นลักษณะแบบใด
ตอบ การจัดหาเงินทุนโดยตรง เป็นลักษณะของการโยกย้ายเงินทุน
โดยตรง ซึ่งบริษัทที่ต้องการเงินทุนออกหุ้นจาหน่ายโดยตรงให้กับนักลงทุนผู้
ที่ที่ต้องการลงทุนและคาดหวังตอบแทนที่ได้จากการลงทุนในอัตราที่
สมเหตุสมผล ในลักษณะเช่นนี้บริษัทใหม่อาจจะทาการจัดหาเงินทุนโดยตรง
ซึ่งเงินทุนในลักษณะนี้เรียกว่า 'เงินทุนร่วมทุน'
4.ตลาดการเงินคืออะไร
ตอบ ตลาดที่อานวยความสะดวกในการโอนหรือเปลี่ยนมือหรือทรัพย์สิน
ทางการเงิน จากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง โดยทรัพย์สินทางการเงิน
อาจจะออกโดยหน่วยธุรกิจหรือสถาบันการเงินและรัฐบาลก็ได้
5.ตลาดหลักทรัพย์ช่วยธุรกิจในการจัดหาเงินทุนเพิ่ม เนื่องจากอะไร
ตอบ เนื่องจากตลาดหลักทรัพย์เป็นตลาดรอง ดังนั้นจึงมีการซื้อขาย
หลักทรัพย์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะทาให้ราคาของหลักทรัพย์เป็นไปตาม
สภาวะการแข่งขันของตลาด เพราะฉะนั้นถ้าบริษัทออกหลักทรัพย์ใหม่จาหน่าย
เพื่อเพิ่มทุนก็สามารถทาได้ง่ายขึ้น เนื่องจากกลไกลของราคาหลักทรัพย์ในตลาด
หลักทรัพย์จะช่วยให้ง่ายต่อการกาหนดราคาหลักทรัพย์ใหม่ในการจัดจาหน่าย
ซึ่งหมายความว่าทาให้บริษัทผู้ออกหลักทรัพย์ใหม่สามารถเปรียบเทียบราคาของ
หลักทรัพย์ได้ง่ายขึ้นนั่นเอง

More Related Content

Viewers also liked

การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินtumetr1
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจOrawonya Wbac
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mailtumetr1
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilitiestumetr1
 
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังการคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังtumetr1
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารtumetr1
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐtumetr1
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นtumetr1
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 
Inventory management-1224844053656038-9
Inventory management-1224844053656038-9Inventory management-1224844053656038-9
Inventory management-1224844053656038-9jetromarquez
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คtumetr1
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
Inventory management -Aparna Lakshmanan
Inventory management  -Aparna LakshmananInventory management  -Aparna Lakshmanan
Inventory management -Aparna LakshmananSidharth SiD
 

Viewers also liked (20)

การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงินการพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
การพยากรณ์และการวางแผนทางการเงิน
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
retrieving the mail
retrieving the mailretrieving the mail
retrieving the mail
 
file transfer and access utilities
file transfer and access utilitiesfile transfer and access utilities
file transfer and access utilities
 
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลังการคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
การคลังรัฐบาลและนโยบายการคลัง
 
การเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคารการเงินและการธนาคาร
การเงินและการธนาคาร
 
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
ความยืดหยุ่น การแทรกแซงของรัฐ
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
Financial Management for NEC
Financial Management for NECFinancial Management for NEC
Financial Management for NEC
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Inventory management-1224844053656038-9
Inventory management-1224844053656038-9Inventory management-1224844053656038-9
Inventory management-1224844053656038-9
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
Inventory management -Aparna Lakshmanan
Inventory management  -Aparna LakshmananInventory management  -Aparna Lakshmanan
Inventory management -Aparna Lakshmanan
 

การจัดหาเงินทุนระยะยาว