SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
ระบบระบบ
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
สาระสำาคัญสาระสำาคัญ
ระบบคอมพิวเตอร์ คือองค์
ประกอบหลัก ที่จะทำาให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ สามารถทำางานได้อย่าง
สมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใด
ส่วนหนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่
สามารถที่จะทำางานได้
คอมพิวเตอคอมพิวเตอ
ร์ร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึงเครื่องจักรกลทางด้าน
อิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมา เพื่ออำานวยความสะดวก ในด้าน
ต่าง ๆ เช่น การคำานวณ การออกแบบ การเก็บข้อมูล โดยมนุษย์
สามารถเขียนโปรแกรมหรือคำาสั่ง สั่งให้คอมพิวเตอร์ ทำางานตามขั้น
ตอนที่กำาหนด และประมวลผลออกมาตามที่ต้องการได้
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบหลัก ที่จะ
ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำางาน ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาด
องค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะ
ทำางานได้
องค์ประกอบระบบขององค์ประกอบระบบของ
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ระบบของคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบหลักที่
สำาคัญ 3 ส่วนคือ
1. ฮาร์ดแวร์ คืออุปกรณ์หรือชิ้นส่วน
ของคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่ภายใน
2. ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำา
สั่ง ที่ใช้ในการสั่งและควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ทำางาน
ขบวนการทำางานของคอมพิวเตอร์ เริ่มจากป้อน
ข้อมูลเข้าหน่วยป้อนข้อมูล ผ่านการประมวลผล
จากซีพียู และส่งผลลัพธ์ออกหน่วยแสดงผล
3. พีเพิลแวร์ คือ บุคคลที่มีส่วน
เกี่ยวข้องกับการทำางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
((HARDWAREHARDWARE))คืออุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้า อยู่ภายใน
เป็นส่วนใหญ่ สามารถจับต้องได้ เช่น
กล่องซีพียู (Case) จอภาพ (Monitor)
แป้นพิมพ์ (Keyboard) สแกนเนอ
ร์(Scanner) เมนบอร์ด (Mainboard)
ฮาร์ดดิสก์(Harddisk)
เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นต้น
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์คืออุปกรณ์และชิ้นส่วนของ
คอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่
ภายในเป็นส่วนใหญ่ และสามารถ
จับต้องได้ ตัวอย่างเช่น ซีพียู เมาส์
คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์
ลำาโพง แผงเมนบอร์ดฮาร์ดดิสก์
ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม เป็นต้น
หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)หน่วยประมวลผลกลาง
( CPU : Central Processing Unit ) หรือมักจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล
ในลักษณะของการคำานวณและเปรียบเทียบ โดยจะ
ทำางานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เรียกว่าสัญญาณ Clock
เมื่อมีการเคาะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง
เราเรียกหน่วย ที่ใช้ในการวัดความเร็วของซีพียูว่า
“เฮิร์ท”(Herzt) หมายถึงการทำางานได้กี่ครั้งในจำานวน 1
วินาที เช่น ซีพียู Pentium4 มีความเร็ว 2.5 GHz หมายถึง
ทำางานเร็ว 2,500 ล้านครั้ง ในหนึ่งวินาที กรณีที่สัญญาณ
Clock เร็วก็จะทำาให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีความเร็วสูง
ตามไปด้วย ซีพียูที่ทำางานเร็วมาก ราคาก็จะแพงขึ้นมาก
หน่วยความจำา (Memory Unit)หน่วยความจำา
(Memory Unit) มีหน้าที่ในการจำาข้อมูล ให้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดคือ หน่วยความถาวร
(ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำาที่
สามารถจำาข้อมูลได้ตลอดเวลา ส่วนหน่วยความจำาอีก
ประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจำาชั่วคราว (RAM :
Random Access Memory) หน่วยความจำาประเภทนี้
จะจำาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิดไฟเข้าเครื่อง
คอมพิวเตอร์เท่านั้น หน่วยความจำาชั่วคราว ถือว่าเป็น
หน่วยความจำาหลักภายในเครื่อง สามารถซื้อมาติดตั้ง
แผงวงจรหลัก (Mainboard)แผงวงจรหลัก หรือ
นิยมเรียกว่าแผงเมนบอร์ด คือแผงวงจร ที่ติดตั้ง
ภายในเคสของคอมพิวเตอร์ แผงเมนบอร์ดเป็นที่ติดตั้ง
อุปกร์คอมพิวเตอร ์์และอิเล็กทรอนิกส์ให้เชื่อมต่อ
ถึงกัน เป็นที่ติดตั้งซีพียู หน่วยความจำารอม หน่วย
ความจำาแรม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ และพอร์ตเชื่อม
ต่อออกไปภายนอก แผงวงจรนี้เป็นแผงวงจรหลัก ที่
หน่วยความจำาสำารอง (Storage Unit)หน่วย
ความจำาสำารองคืออุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เก็บข้อมูล
ไว้ใช้ในโอกาสต่อไป เนื่องจากหน่วยความจำา
แรม จำาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มีการเปิดไฟ เข้า
เครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ถ้าต้องการเก็บ
ข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป จะต้องบันทึกข้อมูล
ลงในหน่วยความจำาสำารอง ซึ่งหน่วยความจำา
หน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit)หน่วยป้อน
ข้อมูล (Input Unit) ทำาหน้าที่ในการป้อนข้อมูล
เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่ใน
การป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่
แป้นพิมพ์ สำาหรับพิมพ์ตัวอักษรและอักขระต่าง
ๆ เมาส์สำาหรับคลิกสั่งงานโปรแกรม สแกนเนอร์
สำาหรับสแกนรูปภาพ จอยสติ๊ก สำาหรับเล่น
เกมส์ ไมโครโฟนสำาหรับพูดอัดเสียง และกล้อง
หน่วยแสดงผล (Output Unit)หน่วยแสดงผล
(Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผ่าน
การประมวลผลในรูปของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพ
เคลื่อนไหวหรือ เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่ใน
การแสดงผลได้แก่ จอภาพ(Monitor) สำาหรับแสดง
ตัวอักษรและรูปภาพ เครื่องพิมพ์ (Printer) สำาหรับ
พิมพ์ข้อมูลที่อยู่ในเครื่อง ออกทางกระดาษพิมพ์
ลำาโพง (Speaker) แสดงเสียงเพลงและคำาพูด เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
((SOFTWARESOFTWARE))คือโปรแกรม หรือชุดคำำสั่ง ที่สั่งควบคุมให้
ฮำร์ดแวร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ทำำงำน ตำมที่
ผู้ใช้ต้องกำร ซอฟต์แวร์จะถูกบรรจุอยู่ในสื่อ
หรือวัสุดที่ใช้ในกำรเก็บข้อมูล เช่น ฟอบปี้ดิสก์,
ฮำร์ดดิสก์, ซีดีรอม, เทปไดร์ฟ และ ดีวีดีรอม
เป็นต้น
ชนิดของซอฟต์แวร์
โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (OPERATING
SYSTEM)
เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่ำง ๆ
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบ
ของดิสก์ กำรบริหำรหน่วยควำมจำำของระบบ กล่ำว
โดยสรุปคือ หำกจะทำำงำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในกำรทำำงำน แล้วจะต้อง
ติดต่อกับซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้ำขำดซอฟต์แวร์ชนิด
นี้ จะทำำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่สำมำรถทำำงำนได้
ตัวอย่ำงของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรม
ระบบปฏิบัติกำร DOS UnixWindows (เวอร์ชั่นต่ำง
ๆ เช่น 95 98 me 2000 NT) Sun OS/2 Warp
Netware และ Linux
ตัวแปลภำษำจำก SOURCE CODE ให้เป็น
OBJECT CODE
(แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ ให้เป็นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ
เปรียบเสมือนล่ำมแปลภำษำ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำร
แปลภำษำระดับสูง ซึ่ง เป็นภำษำใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้
เป็นภำษำเครื่องก่อนที่จะนำำไปประมวลผล ตัวแปลภำษำ
แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler)
และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปล
คำำสั่งในโปรแกรมทั้งหมดก่อน แล้วทำำกำรลิ้ง (Link) เพื่อ
ให้ได้คำำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีท
เตอร์จะแปลทีละประโยคคำำสั่ง แล้วทำำงำนตำมประโยคคำำ
สั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับ
ภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม เช่น ภำษำเบสิก
(Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) ภำษำ
ยูติลิตี้ โปรแกรม (UTILITY PROGRAM)
คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทำำงำนมี
ประสิทธิภำพ มำกขึ้น เช่น ช่วยในกำรตรวจ
สอบดิสก์ ช่วยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วย
สำำเนำข้อมูล ช่วยซ่อมอำกำรชำำรุดของดิสก์
ช่วยค้นหำและกำำจัดไวรัส ฯลฯ เป็นต้น
โปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton
Winzip Scan virus Sidekick Scandisk
Screen Saver ฯลฯ เป็นต้น
ติดตั้งและปรับปรุงระบบ
(DIAGONOSTIC PROGRAM)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้งระบบ เพื่อให้
คอมพิวเตอร์สำมำรถติดต่อและใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ
ที่นำำมำติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setupและ
Driver ต่ำง ๆ เช่น โปรแกรม Setup Windows
Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver
SoundDriver CD-ROM Driver Printer Driver
Scanner ฯลฯ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (APPLICATION
SOFTWARE)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกจัดทำำขึ้น เพื่อใช้งำนเฉพำะด้ำนหรือ
เฉพำะองค์กรใดองค์กรหนึ่ง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้มัก
สร้ำงขึ้น โดยบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ที่มีควำมชำำนำญ
ด้ำนนั้น ๆ โดยเฉพำะ หรือออกแบบและสร้ำงโดยบุคคล
ำกร ในฝ่ำยคอมพิวเตอร์ขององค์กรก็ได้ ต้องมีทีมงำน
ในกำรดำำเนินกำรวิเครำะห์ และออกแบบระบบงำน
อย่ำงรอบคอบ เมื่อออกแบบระบบงำนใหม่ได้แล้ว จึง
ลงมือสร้ำงโปรแกรมจนเสร็จ แล้วทำำกำรทดสอบ
โปรแกรม ให้สำมำรถทำำงำนได้ถูกต้องแน่นอน จน
สำมำรถทำำงำนได้จริง ตัวอย่ำงซอฟต์แวร์ประเภทนี้
ได้แก่
ซอฟต์แวร์ด้ำนงำนบุคคลำกร ซอฟต์แวร์ระบบงำน
บัญชี ซอฟต์แวร์ระบบสินค้ำคงคลัง ซอฟต์แวร์ของกำร
โปรแกรมสำำเร็จรูป (PACKAGE
SOFTWARE)
คือซอฟต์แวร์ที่สร้ำงขึ้นเพื่อใช้ในสำำนักงำนทั่ว
ๆ ไป สร้ำงโดยบริษัทที่มีควำมชำำนำญในด้ำน
นั้น ๆ โดยเฉพำะ มีกำรปรับปรุงรุ่น (Version)
ของซอฟต์แวร์ให้มีประสิทธิภำพสูงขึ้นอยู่เสมอ
สำมำรถแบ่งออกเป็นประเภท ตำมลักษณะ
หน้ำที่กำรกำรทำำงำนได้ดังนี้คือ
- โปรแกรมประมวลผลคำำ ใช้สำำหรับพิมพ์
เอกสำรรำยงำนหรือสร้ำงตำรำงแบบต่ำง ๆ
- โปรแกรมตำรำงงำน ใช้สำำหรับคำำนวณ สร้ำง
กรำฟ และจัดกำรด้ำนฐำนข้อมูล
- โปรแกรมนำำเสนอผลงำน ใช้ในกำรนำำเสนอ
ผลงำนและนำำเสนอข้อมูลในรูปแบบสไลด์
- โปรแกรมจัดกำรฐำนข้อมูล คือโปรแกรมที่ทำำ
หน้ำที่ในกำรจัดกำรฐำนข้อมูล
- โปรแกรมเว็บเพ็จ ใช้ในกำรเขียนเว็บเพ็จเพื่อใช้
งำนในเว็บไซค์ของอินเทอร์เน็ต
- โปรแกรมสื่อสำรระยะไกล ใช้ในกำรติดต่อ
สื่อสำรทำงอินเทอร์เน็ต
- โปรแกรมเขียนแบบ ใช้ในกำรออกแบบและ
เขียนแบบด้ำนต่ำง ๆ เช่น ชิ้นงำน อำคำร
- โปรแกรมกรำฟิกส์ ใช้ในกำรสร้ำงและจัดกำร
รูปภำพในคอมพิวเตอร์
- โปรแกรมเพื่อควำมบันเทิง ได้เกมส์ ภำพยนต์
และเสียงเพลงต่ำง ๆ
ขบวนกำรทำำงำนของ
คอมพิวเตอร์
กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์ เริ่มจำกกำรป้อนข้อมูล
เข้ำทำงหน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit) ผ่ำนไปยัง
หน่วยประมวลผลข้อมูล (CPU : Central
Processing Unit) โดยหน่วยประมวลผลข้อมูล
กลำงจะทำำงำนร่วมกับหน่วยควำมจำำ (Memory
Unit) เมื่อได้ผลลัพธ์ที่ต้องกำร จะส่งข้อมูลออกไป
ยังหน่วยแสดงผล (Output Unit) ขบวนกำรทำำงำน
สำมำรถเขียนเป็นแผนภำพได้ดังนี้
รูปแสดงขบวนกำรทำำงำนของ
คอมพิวเตอร์
รูปแสดงข้อมูลรูปแสดงข้อมูล
และสำรสนเทศและสำรสนเทศ
ข้อมูล (DATA)
 หมายถึงข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล
สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่บุคคล
หรือองค์กรให้ความสนใจศึกษา ยังไม่ผ่าน
กระบวนการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบที่
สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ ฉะนั้นข้อมูลทาง
คอมพิวเตอร์ จึงหมายถึง ข้อมูลดิบ (Raw
Data)ที่นำาเข้าสู่ระบบการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์
สารสนเทศ
(INFORMATION)
 หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้ผ่านการประมวลผล
ในหน่วยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร์มา
แล้ว ได้แก่ ผ่านการคำานวณ การจัดเรียง การ
เปรียบเทียบ การแบ่งกลุ่มเป็นต้น ผลลัพธ์ที่ได้
สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องได้
เรียกว่า สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศที่ได้จาก
การประมวลผล ในขั้นตอนนี้อาจจะเป็นข้อมูล
ดิบสำาหรับกระบวนการอื่น ๆ อีกก็ได้
คอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูลได้หลายรูปแบบ
นำาเข้าสู่ระบบการประมวลผล เพื่อให้ได้
ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ ที่สามารถนำาไปใช้
ประโยชน์ได้ตามความต้องการขององค์กร รูป
รูปแบบของข้อมูลที่นำาเข้าสู่ระบบ
การประมวลผล
ตัวเลข (Numeric) ได้แก่ข้อมูลที่เป็นจำานวนนับ
สามารถนำาไปคำานวณได้ เช่น จำานวนเงินเดือนราคา
 สินค้า ระยะทาง อายุ ความสูง นำ้าหนัก ฯลฯ เป็นต้น
ตัวอักษรและข้อความ (Character and Text)
ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร สัญลักษณ์พิเศษและ
ข้อความ เช่น ชื่อ-สกุล ที่อยู่ เพศ สถานศึกษา
รายการสินค้า เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถคำานวณได้
ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว (Image and
Animation) ได้แก่ข้อมูลประเภทที่เป็นภาพนิ่ง และ
ภาพเคลื่อนไหว ภาพบุคคล สถานที่ เครื่องบิน รถยนต์
ภูเขา นำ้าตก เป็นต้น
การจัดเก็บและดูแล
ข้อมูล
 การจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์จะใช้รหัส
ที่เป็น 0 หรือ 1 ที่เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า
กรณีที่สัญญาณไฟปิดหรือแรงดันไฟฟ้าตำ่า
กำาหนดให้เป็นรหัส 0 สัญญาณไฟเปิด หรือ
แรงดันไฟฟ้าสูงกำาหนดให้เป็นรหัส 1 การจัด
เก็บข้อมูลจะเริ่มตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาด
ใหญ่ดังนี้
 บิต (Bit or Binary Digit) คือหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด
ใช้เลขฐานสองหนึ่งหลักเป็นสัญลักษณ์ คือ 0 หรือ 1
 ไบต์ (Byte) ไบต์ คือกลุ่มของเลขฐานสองหลาย ๆ
ตัว หรือหลายบิตนำามารวมกัน เช่นนำาเลขฐานสอง
จำานวน 8 บิต มารวมกันเป็น 1 ไบต์ ซึ่งข้อมูล 1 ไบต์
สามารถเก็บตัวอักขระที่เป็นตัวอักษร ตัวเลขหรือ
สัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 1 ตัวอักษร เรียกว่า 1
Character ตัวอย่างเช่น 01000001 ใช้เป็นรหัสแทน
ตัวอักษร A รหัส 01000010 ใช้เป็นรหัสแทนตัวอักษร
 คำา (Word) คำา หมายถึง หน่วยของข้อมูลกลุ่ม
หนึ่ง จำานวนหนึ่งไบต์หรือมากกว่า เช่น ถ้า
กำาหนดให้หนึ่งคำาเท่ากับ 2 ไบต์ แสดงว่าหนึ่ง
คำามีค่าเท่ากับ 16 บิต
 ฟิลด์ (Field) ฟิลด์ หมายถึงการเก็บข้อมูล 1 ตัวอักษร
หรือมากกว่าที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกันไว้ สามารถ
สื่อความหมายและบอกคุณลักษณะที่เราสนใจได้ เช่น
ใช้ตัวอักขระจำานวน 8 ตัว มาประกอบกันเป็นชื่อคน
เช่น ชื่อบุญสืบ ประกอบด้วยตัวอักษร BOONSUEP
ตั้งชื่อฟิลด์นี้ว่าฟิลด์ NAME เพื่อใช้ในการเก็บชื่อ ข้อ
มูลชนิดฟิล์นี้จะใช้แทนข้อเท็จจริง คุณลักษณะของสิ่ง
ที่เราสนใจศึกษา เช่น รหัสพนักงานชื่อ ที่อยู่ วันเกิด
 เรคอร์ด (Record) เรคอร์ด หมายถึงการเก็บข้อมูล
ประเภทฟิล์ที่มีความสัมพันธ์กันหลาย ๆ ฟิลด์ รวมกัน
เป็นชุดข้อมูลเราจะเรียกว่าหนึ่งเรคอร์ด เช่น เรคอร์ด
ของนักศึกษาประกอบด้วย ฟิลด์รหัสนักศึกษา ชื่อ-
 สกุลคะแนน แผนก ฯลฯ เป็นต้น ไฟล์ (File) ไฟล์
หมายถึงการเก็บข้อมูลประเภทเรคอร์ดที่มีความ
สัมพันธ์กันหลาย ๆ เรคอร์ด เช่นไฟล์ที่เก็บข้อมูล
พนักงาน นักศึกษา รายการสินค้า ฯลฯ เป็นต้น
 ฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล หมายถึง การ
รวบรวมไฟล์ ที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บไว้ ด้วยกัน
เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน เพื่อให้เกิดความสะดวก ใน
การจัดการข้อมูลและการนำาไปใช้ อีกทั้งยังช่วยลด
ความซำ้าซ้อนของข้อมูล ขององค์กรอีกด้วย เช่นฐาน
ข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลรายการสินค้า ฐานข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลระบบ
แอสกี้
 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1966 เป็นต้นมา วงการคอมพิวเตอร์ ได้
กำาหนดรหัสที่ใช้เก็บแทนข้อมูล ที่เรียกว่าระบบแอสกี้
(ASCII : American Standard Code for Information Interchange) ซึ่งถูก
กำาหนดโดย สถาบันรักษามาตรฐานของสหรัฐอเมริกา
(American National Standards Institute : ANSI) เพื่อให้การแลก
เปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ใน
ปัจจุบัน มีมาตรฐานเดียวกัน ระบบรหัสมาตรฐาน ASCII
ประกอบด้วยตัวเลขฐานสองจำานวน 7 หรือ 8 บิต รวม
เป็นรหัสแทนอักขระ 1 ตัวหรือ 1 ไบต์ ถ้าเป็น 7 บิตไบต์
ใช้แทนอักขระได้ 128 ตัว ถ้าเป็น 8 บิตไบต์ใช้แทน
อักขระได้ 256 ตัวปัจจุบันใช้ 8 บิตไบต์ ในการแลก
เปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
ทั่วไป ตัวอักษรในภาษาไทย มักใช้รหัสแอสกี้ในช่วง
รูปแสดงการจัดเก็บข้อมูลระบบแอสกี้
อุปกรณ์รับส่งข้อมูล
 อุปกรณ์รับส่งข้อมูล หมายถึงสื่อกลางที่ใช้เป็น
เส้นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้รับกับ
ผู้ส่ง ปัจจุบันมีอุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูล
สำาหรับการเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่าย
 คอมพิวเตอร์ ได้หลายประเภทดังนี้
สายโทรศัพท์ (Telephone Line) สาย
โทรศัพท์ เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ใช้กันมา
นาน ในระบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งเป็นสอง
ลักษณะด้วยกันคือ
 สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (Unshield Twisted
Pair : UTP) มีลักษณะเป็นสายทองแดงขนาดเล็ก มี
ฉนวนหุ้ม ในแต่ละคู่บิดเกลียวคู่เข้าด้วยกัน มีฉนวน
หุ้มภายนอก ราคาถูก ติดตั้งง่าย มีความน่าเชื่อถือสูง
ในการเชื่อมต่อแบบ STAR แต่มีข้อเสียคือมีอัตราการ
ส่งข้อมูลตำ่า มีระยะทางการส่งสัญญาณสั้น และ
สัญญาณรบกวนสูง
 สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shield Twisted
Pair : STP) มีลักษณะเป็นสายทองแดงขนาดเล็กตี
เกลียวคู่ แต่ละคู่มีฉนวนหุ้มอีกชั้นเรียกว่า Shield เพื่อ
ลดสัญญาณสอดแทรก(interference) และมีฉนวนหุ้ม
ชั้นนอกเรียกว่า Outer Jacket มีข้อดีคือคุณภาพการ
รับส่งข้อมูลสูงกว่าสายแบบ UTPสัญญาณรบกวนน้อย
 สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียล
เป็นสายที่มีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูล ประกอบด้วย
สายตัวนำาสัญญาณเส้นหนึ่งอยู่ตรงกลาง เรียกว่า Inner
Conductor หุ้มด้วยฉนวน Insulator Filter แล้วล้อม
รอบด้วยตัวนำาอีกชั้นหนึ่งทำาหน้าที่เป็นสายดิน
(Ground) เรียกว่า Outer Conductor สายโคแอกเชีย
ลมีข้อดีเรื่องความเร็วสูงในการส่งข้อมูล สามารถส่งได้
ทั้งสัญญาณเสียงวีดีโอและข้อมูล ติดตั้งง่าย แต่มีข้อเสีย
 สายใยแก้วนำาแสง (Fiber Optic Cable) สายใยแก้วนำา
แสง เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ต้องการความเร็วสูง
มาก ในสภาพแวดล้อมที่มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง
ลักษณะสายสัญญาณประกอบด้วยเส้นใย (Fiber) ทำา
จากใยแก้วสองชนิด ที่มีดัชนีการสะท้อนแสงต่างกัน
ชนิดหนึ่งเป็นแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก การ
ทำางานจะมีไดโอดเปล่งแสง (LED : Light Emited Diode) หรือ
ไดโอดแบบเลเซอร์ (Laser Diode) ปล่อยแสงที่เข้ารหัส
ข้อมูล โดยใช้ความถี่จึงสามารถส่งรหัสข้อมูล ได้
หลายช่องทางตามความถี่ต่าง ๆ กัน อุปกรณ์รับส่ง
ข้อมูลแบบเส้นใยแก้วนำาแสง มีข้อดีคือรับส่งข้อมูลด้วย
ความเร็วสูง ใช้แสงในการส่งข้อมูล จึงไม่ต้อง
 คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นไมโครเวฟ
เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ใช้คลื่นวิทยุชนิดความถี่สูง
เรียกว่าคลื่นไมโครเวฟ โดยอาศัยอากาศเป็นสื่อกลาง
เหมาะสำาหรับการสื่อสารระยะใกล้ ที่ไม่มีตึกหรือภูเขา
ระดับสูง บังการเดินทางของคลื่น ระหว่างอาคาร โดย
ต้องมีจานสัญญาณ ติดตั้งไว้บนเสาหรืออาคารสูง ๆ
การรับส่งข้อมูลแบบนี้ เหมาะสำาหรับบริเวณที่เดินสาย
ลำาบาก มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง ข้อเสียคือรับส่ง
สัญญาณได้ไม่ไกลมากนัก และต้องติดตั้งจานรับส่ง
 ดาวเทียม (Satellite) ดาวเทียม เป็นอุปกรณ์รับส่ง
ข้อมูลที่ใช้ดาวเทียม เป็นสถานีในการรับส่งสัญญาณ
ข้อมูล กับสถานีทวนสัญญาณภาคพื้นดิน รับส่ง
สัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว่า 22,300 ตารางไมล์ เพื่อ
หลีกเลี่ยงปัญหาการกีดขวาง สัญญาณของภูมิประเทศ
เช่น ภูเขา อาคารสูง สามารถ ส่งสัญญาณครอบคลุม
ได้ทุกพื้นที่ มีข้อเสียคือต้องลงทุน และใช้เทคโนโลยี
รูปแบบการรับส่งข้อมูล
รับส่งข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Line) เป็นการรับส่ง
ข้อมูลได้ทิศทางเดียว ช่องทางสื่อสารทำาหน้าที่รับหรือ
ส่งข้อมูล ได้เพียงอย่างเดียว เช่นช่องทางการส่งข้อมูล
จาก ซีพียูไปยังเครื่องพิมพ์ หรือจากซีพียูไปยังจอภาพ
เป็นต้น
รับส่งข้อมูลสองทางโดยสลับเวลารับส่ง (Half-Duplex
Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้สองทิศทาง แต่ต้องสลับ
เวลาในการรับส่งข้อมูล จะส่งและรับในเวลาเดียวกัน
ไม่ได้ เช่น การรับส่งข้อมูลวิทยุ ผู้รับและผู้ส่งต้องสลับ
กัน ส่งสัญญาณการรับส่งข้อมูลระหว่าง เครื่องสถานี
ปลายทางไปยังหน่วยประมวลผล เป็นต้น
รับส่งข้อมูลสองทางในเวลาเดียวกัน (Full -Duplex
สรุปหน่วยที่ 2
ระบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบหลัก ที่จะ
ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้
อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วน
หนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะทำางาน
ได้ ระบบของคอมพิวเตอร์นี้ ประกอบไปด้วย
องค์ประกอบหลักที่สำาคัญ 3 ส่วนคือ ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์ ฮาร์ดแวร์ คืออุปกรณ์
หรือชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่
ภายใน ส่วนซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำา
สั่ง ที่ใช้ในการสั่งและควบคุมให้ฮาร์ดแวร์
ทำางาน ขบวนการทำางานของคอมพิวเตอร์ เริ่ม
จากป้อนข้อมูลเข้าหน่วยป้อนข้อมูล ผ่านการ
ประมวลผลจากซีพียู และส่งผลลัพธ์ออกหน่วย
แสดงผลข้อมูล ทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง
ข้อมูลดิบ (Raw Data) ส่วนสารสนเทศ (Information)
หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้ผ่านการประมวลผล ใน
หน่วยประมวลผลกลาง ของคอมพิวเตอร์มาแล้ว
กิจกรรมหน่วยที่ 2
1.) ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้ว
2.) ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอ
3.) การจัดเก็บข้อมูล เก็บอยู่ในรูปแบบใด
4.) อุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรบ้าง
5.) ข้อมูลและสารสนเทศต่างกันอย่างไร
6.) คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำางานอย่างไ
7.) รูปแบบการรับส่งข้อมูลมีกี่ชนิด อะไรบ
าสั่ง ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ
ลือกทำารายงานดังต่อไปนี้
1.ระบบปฏิบัติการ Window XP
2.ระบบปฏิบัติการ Window 7
3.ระบบปฏิบัติการ Unix
4.ระบบปฏิบัติการ Linux

More Related Content

What's hot

การทำงานคอม
การทำงานคอมการทำงานคอม
การทำงานคอมAbdul Mahama
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1wachiradej
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์jennysarida
 
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมณัฐพล บัวพันธ์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์sapol tamgsongcharoen
 
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างsrilakorn
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Thidarat Hiruntho
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นRogozo Joosawa
 
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)Supaksorn Tatongjai
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศFfurn Leawtakoon
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 

What's hot (15)

การทำงานคอม
การทำงานคอมการทำงานคอม
การทำงานคอม
 
ตอนที่ 1
ตอนที่ 1ตอนที่ 1
ตอนที่ 1
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
หน่วยนำเข้าข้อมูล Present 4-11 (Group1)
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
หน่วยรับเข้า Present 4-10 (Group1)
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 

Similar to หน่วยที่2 (20)

Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
จีระวรรณ มูลสาร
จีระวรรณ  มูลสารจีระวรรณ  มูลสาร
จีระวรรณ มูลสาร
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอม คอม
คอม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

หน่วยที่2

  • 2. สาระสำาคัญสาระสำาคัญ ระบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ ประกอบหลัก ที่จะทำาให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ สามารถทำางานได้อย่าง สมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใด ส่วนหนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่ สามารถที่จะทำางานได้
  • 3. คอมพิวเตอคอมพิวเตอ ร์ร์ คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ หมายถึงเครื่องจักรกลทางด้าน อิเล็กทรอนิกส์ ที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมา เพื่ออำานวยความสะดวก ในด้าน ต่าง ๆ เช่น การคำานวณ การออกแบบ การเก็บข้อมูล โดยมนุษย์ สามารถเขียนโปรแกรมหรือคำาสั่ง สั่งให้คอมพิวเตอร์ ทำางานตามขั้น ตอนที่กำาหนด และประมวลผลออกมาตามที่ต้องการได้ ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบหลัก ที่จะ ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำางาน ได้อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาด องค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะ ทำางานได้
  • 4. องค์ประกอบระบบขององค์ประกอบระบบของ คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์ระบบของคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบหลักที่ สำาคัญ 3 ส่วนคือ 1. ฮาร์ดแวร์ คืออุปกรณ์หรือชิ้นส่วน ของคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่ภายใน 2. ซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำา สั่ง ที่ใช้ในการสั่งและควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ทำางาน ขบวนการทำางานของคอมพิวเตอร์ เริ่มจากป้อน ข้อมูลเข้าหน่วยป้อนข้อมูล ผ่านการประมวลผล จากซีพียู และส่งผลลัพธ์ออกหน่วยแสดงผล 3. พีเพิลแวร์ คือ บุคคลที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับการทำางาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 5. ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์ ((HARDWAREHARDWARE))คืออุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้า อยู่ภายใน เป็นส่วนใหญ่ สามารถจับต้องได้ เช่น กล่องซีพียู (Case) จอภาพ (Monitor) แป้นพิมพ์ (Keyboard) สแกนเนอ ร์(Scanner) เมนบอร์ด (Mainboard) ฮาร์ดดิสก์(Harddisk) เครื่องพิมพ์(Printer) เป็นต้น
  • 6. ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คืออุปกรณ์และชิ้นส่วนของ คอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่ ภายในเป็นส่วนใหญ่ และสามารถ จับต้องได้ ตัวอย่างเช่น ซีพียู เมาส์ คีย์บอร์ด สแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์ ลำาโพง แผงเมนบอร์ดฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม ดีวีดีรอม เป็นต้น
  • 7. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)หน่วยประมวลผลกลาง ( CPU : Central Processing Unit ) หรือมักจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ไมโครโปรเซสเซอร์ มีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคำานวณและเปรียบเทียบ โดยจะ ทำางานตามจังหวะเวลาที่แน่นอน เรียกว่าสัญญาณ Clock เมื่อมีการเคาะจังหวะหนึ่งครั้ง ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครั้ง เราเรียกหน่วย ที่ใช้ในการวัดความเร็วของซีพียูว่า “เฮิร์ท”(Herzt) หมายถึงการทำางานได้กี่ครั้งในจำานวน 1 วินาที เช่น ซีพียู Pentium4 มีความเร็ว 2.5 GHz หมายถึง ทำางานเร็ว 2,500 ล้านครั้ง ในหนึ่งวินาที กรณีที่สัญญาณ Clock เร็วก็จะทำาให้คอมพิวเตอร์เครื่องนั้น มีความเร็วสูง ตามไปด้วย ซีพียูที่ทำางานเร็วมาก ราคาก็จะแพงขึ้นมาก
  • 8. หน่วยความจำา (Memory Unit)หน่วยความจำา (Memory Unit) มีหน้าที่ในการจำาข้อมูล ให้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ มีอยู่ 2 ชนิดคือ หน่วยความถาวร (ROM : Read Only Memory) เป็นหน่วยความจำาที่ สามารถจำาข้อมูลได้ตลอดเวลา ส่วนหน่วยความจำาอีก ประเภทหนึ่งคือ หน่วยความจำาชั่วคราว (RAM : Random Access Memory) หน่วยความจำาประเภทนี้ จะจำาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มี การเปิดไฟเข้าเครื่อง คอมพิวเตอร์เท่านั้น หน่วยความจำาชั่วคราว ถือว่าเป็น หน่วยความจำาหลักภายในเครื่อง สามารถซื้อมาติดตั้ง
  • 9. แผงวงจรหลัก (Mainboard)แผงวงจรหลัก หรือ นิยมเรียกว่าแผงเมนบอร์ด คือแผงวงจร ที่ติดตั้ง ภายในเคสของคอมพิวเตอร์ แผงเมนบอร์ดเป็นที่ติดตั้ง อุปกร์คอมพิวเตอร ์์และอิเล็กทรอนิกส์ให้เชื่อมต่อ ถึงกัน เป็นที่ติดตั้งซีพียู หน่วยความจำารอม หน่วย ความจำาแรม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ และพอร์ตเชื่อม ต่อออกไปภายนอก แผงวงจรนี้เป็นแผงวงจรหลัก ที่
  • 10. หน่วยความจำาสำารอง (Storage Unit)หน่วย ความจำาสำารองคืออุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่เก็บข้อมูล ไว้ใช้ในโอกาสต่อไป เนื่องจากหน่วยความจำา แรม จำาข้อมูลได้เฉพาะช่วงที่มีการเปิดไฟ เข้า เครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น ถ้าต้องการเก็บ ข้อมูลไว้ใช้ในโอกาสต่อไป จะต้องบันทึกข้อมูล ลงในหน่วยความจำาสำารอง ซึ่งหน่วยความจำา
  • 11. หน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit)หน่วยป้อน ข้อมูล (Input Unit) ทำาหน้าที่ในการป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่ใน การป้อนข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้แก่ แป้นพิมพ์ สำาหรับพิมพ์ตัวอักษรและอักขระต่าง ๆ เมาส์สำาหรับคลิกสั่งงานโปรแกรม สแกนเนอร์ สำาหรับสแกนรูปภาพ จอยสติ๊ก สำาหรับเล่น เกมส์ ไมโครโฟนสำาหรับพูดอัดเสียง และกล้อง
  • 12. หน่วยแสดงผล (Output Unit)หน่วยแสดงผล (Output Unit) มีหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูล ที่ผ่าน การประมวลผลในรูปของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพ เคลื่อนไหวหรือ เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ที่ทำาหน้าที่ใน การแสดงผลได้แก่ จอภาพ(Monitor) สำาหรับแสดง ตัวอักษรและรูปภาพ เครื่องพิมพ์ (Printer) สำาหรับ พิมพ์ข้อมูลที่อยู่ในเครื่อง ออกทางกระดาษพิมพ์ ลำาโพง (Speaker) แสดงเสียงเพลงและคำาพูด เป็นต้น
  • 13. ซอฟต์แวร์ซอฟต์แวร์ ((SOFTWARESOFTWARE))คือโปรแกรม หรือชุดคำำสั่ง ที่สั่งควบคุมให้ ฮำร์ดแวร์ และเครื่องคอมพิวเตอร์ทำำงำน ตำมที่ ผู้ใช้ต้องกำร ซอฟต์แวร์จะถูกบรรจุอยู่ในสื่อ หรือวัสุดที่ใช้ในกำรเก็บข้อมูล เช่น ฟอบปี้ดิสก์, ฮำร์ดดิสก์, ซีดีรอม, เทปไดร์ฟ และ ดีวีดีรอม เป็นต้น
  • 15. โปรแกรมระบบปฏิบัติกำร (OPERATING SYSTEM) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุม และติดต่อกับอุปกรณ์ต่ำง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเฉพำะกำรจัดกำรระบบ ของดิสก์ กำรบริหำรหน่วยควำมจำำของระบบ กล่ำว โดยสรุปคือ หำกจะทำำงำนใดงำนหนึ่ง โดยใช้ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ ในกำรทำำงำน แล้วจะต้อง ติดต่อกับซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้ำขำดซอฟต์แวร์ชนิด นี้ จะทำำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่สำมำรถทำำงำนได้ ตัวอย่ำงของซอฟต์แวร์ประเภทนี้ได้แก่ โปรแกรม ระบบปฏิบัติกำร DOS UnixWindows (เวอร์ชั่นต่ำง ๆ เช่น 95 98 me 2000 NT) Sun OS/2 Warp Netware และ Linux
  • 16. ตัวแปลภำษำจำก SOURCE CODE ให้เป็น OBJECT CODE (แปลจำกภำษำที่มนุษย์เข้ำใจ ให้เป็นภำษำที่เครื่องเข้ำใจ เปรียบเสมือนล่ำมแปลภำษำ) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำร แปลภำษำระดับสูง ซึ่ง เป็นภำษำใกล้เคียงภำษำมนุษย์ ให้ เป็นภำษำเครื่องก่อนที่จะนำำไปประมวลผล ตัวแปลภำษำ แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปล คำำสั่งในโปรแกรมทั้งหมดก่อน แล้วทำำกำรลิ้ง (Link) เพื่อ ให้ได้คำำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ำใจ ส่วนอินเตอร์พีท เตอร์จะแปลทีละประโยคคำำสั่ง แล้วทำำงำนตำมประโยคคำำ สั่งนั้น กำรจะเลือกใช้ตัวแปลภำษำแบบใดนั้น จะขึ้นอยู่กับ ภำษำที่ใช้ในกำรเขียนโปรแกรม เช่น ภำษำเบสิก (Basic) ภำษำปำสคำล (Pascal) ภำษำซี (C) ภำษำ
  • 17. ยูติลิตี้ โปรแกรม (UTILITY PROGRAM) คือซอฟต์แวร์เสริมช่วยให้เครื่องทำำงำนมี ประสิทธิภำพ มำกขึ้น เช่น ช่วยในกำรตรวจ สอบดิสก์ ช่วยในกำรจัดเก็บข้อมูลในดิสก์ ช่วย สำำเนำข้อมูล ช่วยซ่อมอำกำรชำำรุดของดิสก์ ช่วยค้นหำและกำำจัดไวรัส ฯลฯ เป็นต้น โปรแกรมในกลุ่มนี้ได้แก่ โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick Scandisk Screen Saver ฯลฯ เป็นต้น
  • 18. ติดตั้งและปรับปรุงระบบ (DIAGONOSTIC PROGRAM) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในกำรติดตั้งระบบ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์สำมำรถติดต่อและใช้งำนอุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่นำำมำติดตั้งระบบ ได้แก่ โปรแกรม Setupและ Driver ต่ำง ๆ เช่น โปรแกรม Setup Windows Setup Microsoft Office โปรแกรม Driver SoundDriver CD-ROM Driver Printer Driver Scanner ฯลฯ เป็นต้น
  • 19. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (APPLICATION SOFTWARE) เป็นซอฟต์แวร์ที่ถูกจัดทำำขึ้น เพื่อใช้งำนเฉพำะด้ำนหรือ เฉพำะองค์กรใดองค์กรหนึ่ง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้มัก สร้ำงขึ้น โดยบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ที่มีควำมชำำนำญ ด้ำนนั้น ๆ โดยเฉพำะ หรือออกแบบและสร้ำงโดยบุคคล ำกร ในฝ่ำยคอมพิวเตอร์ขององค์กรก็ได้ ต้องมีทีมงำน ในกำรดำำเนินกำรวิเครำะห์ และออกแบบระบบงำน อย่ำงรอบคอบ เมื่อออกแบบระบบงำนใหม่ได้แล้ว จึง ลงมือสร้ำงโปรแกรมจนเสร็จ แล้วทำำกำรทดสอบ โปรแกรม ให้สำมำรถทำำงำนได้ถูกต้องแน่นอน จน สำมำรถทำำงำนได้จริง ตัวอย่ำงซอฟต์แวร์ประเภทนี้ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ด้ำนงำนบุคคลำกร ซอฟต์แวร์ระบบงำน บัญชี ซอฟต์แวร์ระบบสินค้ำคงคลัง ซอฟต์แวร์ของกำร
  • 20. โปรแกรมสำำเร็จรูป (PACKAGE SOFTWARE) คือซอฟต์แวร์ที่สร้ำงขึ้นเพื่อใช้ในสำำนักงำนทั่ว ๆ ไป สร้ำงโดยบริษัทที่มีควำมชำำนำญในด้ำน นั้น ๆ โดยเฉพำะ มีกำรปรับปรุงรุ่น (Version) ของซอฟต์แวร์ให้มีประสิทธิภำพสูงขึ้นอยู่เสมอ สำมำรถแบ่งออกเป็นประเภท ตำมลักษณะ หน้ำที่กำรกำรทำำงำนได้ดังนี้คือ - โปรแกรมประมวลผลคำำ ใช้สำำหรับพิมพ์ เอกสำรรำยงำนหรือสร้ำงตำรำงแบบต่ำง ๆ - โปรแกรมตำรำงงำน ใช้สำำหรับคำำนวณ สร้ำง กรำฟ และจัดกำรด้ำนฐำนข้อมูล - โปรแกรมนำำเสนอผลงำน ใช้ในกำรนำำเสนอ ผลงำนและนำำเสนอข้อมูลในรูปแบบสไลด์
  • 21. - โปรแกรมจัดกำรฐำนข้อมูล คือโปรแกรมที่ทำำ หน้ำที่ในกำรจัดกำรฐำนข้อมูล - โปรแกรมเว็บเพ็จ ใช้ในกำรเขียนเว็บเพ็จเพื่อใช้ งำนในเว็บไซค์ของอินเทอร์เน็ต - โปรแกรมสื่อสำรระยะไกล ใช้ในกำรติดต่อ สื่อสำรทำงอินเทอร์เน็ต - โปรแกรมเขียนแบบ ใช้ในกำรออกแบบและ เขียนแบบด้ำนต่ำง ๆ เช่น ชิ้นงำน อำคำร - โปรแกรมกรำฟิกส์ ใช้ในกำรสร้ำงและจัดกำร รูปภำพในคอมพิวเตอร์ - โปรแกรมเพื่อควำมบันเทิง ได้เกมส์ ภำพยนต์ และเสียงเพลงต่ำง ๆ
  • 22. ขบวนกำรทำำงำนของ คอมพิวเตอร์ กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์ เริ่มจำกกำรป้อนข้อมูล เข้ำทำงหน่วยป้อนข้อมูล (Input Unit) ผ่ำนไปยัง หน่วยประมวลผลข้อมูล (CPU : Central Processing Unit) โดยหน่วยประมวลผลข้อมูล กลำงจะทำำงำนร่วมกับหน่วยควำมจำำ (Memory Unit) เมื่อได้ผลลัพธ์ที่ต้องกำร จะส่งข้อมูลออกไป ยังหน่วยแสดงผล (Output Unit) ขบวนกำรทำำงำน สำมำรถเขียนเป็นแผนภำพได้ดังนี้
  • 25. ข้อมูล (DATA)  หมายถึงข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่บุคคล หรือองค์กรให้ความสนใจศึกษา ยังไม่ผ่าน กระบวนการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบที่ สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ได้ ฉะนั้นข้อมูลทาง คอมพิวเตอร์ จึงหมายถึง ข้อมูลดิบ (Raw Data)ที่นำาเข้าสู่ระบบการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์
  • 26. สารสนเทศ (INFORMATION)  หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้ผ่านการประมวลผล ในหน่วยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร์มา แล้ว ได้แก่ ผ่านการคำานวณ การจัดเรียง การ เปรียบเทียบ การแบ่งกลุ่มเป็นต้น ผลลัพธ์ที่ได้ สามารถนำาไปใช้ประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องได้ เรียกว่า สารสนเทศ ซึ่งสารสนเทศที่ได้จาก การประมวลผล ในขั้นตอนนี้อาจจะเป็นข้อมูล ดิบสำาหรับกระบวนการอื่น ๆ อีกก็ได้ คอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูลได้หลายรูปแบบ นำาเข้าสู่ระบบการประมวลผล เพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ ที่สามารถนำาไปใช้ ประโยชน์ได้ตามความต้องการขององค์กร รูป
  • 27. รูปแบบของข้อมูลที่นำาเข้าสู่ระบบ การประมวลผล ตัวเลข (Numeric) ได้แก่ข้อมูลที่เป็นจำานวนนับ สามารถนำาไปคำานวณได้ เช่น จำานวนเงินเดือนราคา  สินค้า ระยะทาง อายุ ความสูง นำ้าหนัก ฯลฯ เป็นต้น ตัวอักษรและข้อความ (Character and Text) ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร สัญลักษณ์พิเศษและ ข้อความ เช่น ชื่อ-สกุล ที่อยู่ เพศ สถานศึกษา รายการสินค้า เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถคำานวณได้ ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว (Image and Animation) ได้แก่ข้อมูลประเภทที่เป็นภาพนิ่ง และ ภาพเคลื่อนไหว ภาพบุคคล สถานที่ เครื่องบิน รถยนต์ ภูเขา นำ้าตก เป็นต้น
  • 28. การจัดเก็บและดูแล ข้อมูล  การจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์จะใช้รหัส ที่เป็น 0 หรือ 1 ที่เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า กรณีที่สัญญาณไฟปิดหรือแรงดันไฟฟ้าตำ่า กำาหนดให้เป็นรหัส 0 สัญญาณไฟเปิด หรือ แรงดันไฟฟ้าสูงกำาหนดให้เป็นรหัส 1 การจัด เก็บข้อมูลจะเริ่มตั้งแต่ขนาดเล็กจนถึงขนาด ใหญ่ดังนี้
  • 29.  บิต (Bit or Binary Digit) คือหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ใช้เลขฐานสองหนึ่งหลักเป็นสัญลักษณ์ คือ 0 หรือ 1
  • 30.  ไบต์ (Byte) ไบต์ คือกลุ่มของเลขฐานสองหลาย ๆ ตัว หรือหลายบิตนำามารวมกัน เช่นนำาเลขฐานสอง จำานวน 8 บิต มารวมกันเป็น 1 ไบต์ ซึ่งข้อมูล 1 ไบต์ สามารถเก็บตัวอักขระที่เป็นตัวอักษร ตัวเลขหรือ สัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 1 ตัวอักษร เรียกว่า 1 Character ตัวอย่างเช่น 01000001 ใช้เป็นรหัสแทน ตัวอักษร A รหัส 01000010 ใช้เป็นรหัสแทนตัวอักษร
  • 31.  คำา (Word) คำา หมายถึง หน่วยของข้อมูลกลุ่ม หนึ่ง จำานวนหนึ่งไบต์หรือมากกว่า เช่น ถ้า กำาหนดให้หนึ่งคำาเท่ากับ 2 ไบต์ แสดงว่าหนึ่ง คำามีค่าเท่ากับ 16 บิต
  • 32.  ฟิลด์ (Field) ฟิลด์ หมายถึงการเก็บข้อมูล 1 ตัวอักษร หรือมากกว่าที่มีความสัมพันธ์กันมารวมกันไว้ สามารถ สื่อความหมายและบอกคุณลักษณะที่เราสนใจได้ เช่น ใช้ตัวอักขระจำานวน 8 ตัว มาประกอบกันเป็นชื่อคน เช่น ชื่อบุญสืบ ประกอบด้วยตัวอักษร BOONSUEP ตั้งชื่อฟิลด์นี้ว่าฟิลด์ NAME เพื่อใช้ในการเก็บชื่อ ข้อ มูลชนิดฟิล์นี้จะใช้แทนข้อเท็จจริง คุณลักษณะของสิ่ง ที่เราสนใจศึกษา เช่น รหัสพนักงานชื่อ ที่อยู่ วันเกิด
  • 33.  เรคอร์ด (Record) เรคอร์ด หมายถึงการเก็บข้อมูล ประเภทฟิล์ที่มีความสัมพันธ์กันหลาย ๆ ฟิลด์ รวมกัน เป็นชุดข้อมูลเราจะเรียกว่าหนึ่งเรคอร์ด เช่น เรคอร์ด ของนักศึกษาประกอบด้วย ฟิลด์รหัสนักศึกษา ชื่อ-  สกุลคะแนน แผนก ฯลฯ เป็นต้น ไฟล์ (File) ไฟล์ หมายถึงการเก็บข้อมูลประเภทเรคอร์ดที่มีความ สัมพันธ์กันหลาย ๆ เรคอร์ด เช่นไฟล์ที่เก็บข้อมูล พนักงาน นักศึกษา รายการสินค้า ฯลฯ เป็นต้น
  • 34.  ฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล หมายถึง การ รวบรวมไฟล์ ที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บไว้ ด้วยกัน เป็นฐานข้อมูลเดียวกัน เพื่อให้เกิดความสะดวก ใน การจัดการข้อมูลและการนำาไปใช้ อีกทั้งยังช่วยลด ความซำ้าซ้อนของข้อมูล ขององค์กรอีกด้วย เช่นฐาน ข้อมูลบุคลากร ฐานข้อมูลรายการสินค้า ฐานข้อมูล
  • 35. การจัดเก็บข้อมูลระบบ แอสกี้  ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1966 เป็นต้นมา วงการคอมพิวเตอร์ ได้ กำาหนดรหัสที่ใช้เก็บแทนข้อมูล ที่เรียกว่าระบบแอสกี้ (ASCII : American Standard Code for Information Interchange) ซึ่งถูก กำาหนดโดย สถาบันรักษามาตรฐานของสหรัฐอเมริกา (American National Standards Institute : ANSI) เพื่อให้การแลก เปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ใน ปัจจุบัน มีมาตรฐานเดียวกัน ระบบรหัสมาตรฐาน ASCII ประกอบด้วยตัวเลขฐานสองจำานวน 7 หรือ 8 บิต รวม เป็นรหัสแทนอักขระ 1 ตัวหรือ 1 ไบต์ ถ้าเป็น 7 บิตไบต์ ใช้แทนอักขระได้ 128 ตัว ถ้าเป็น 8 บิตไบต์ใช้แทน อักขระได้ 256 ตัวปัจจุบันใช้ 8 บิตไบต์ ในการแลก เปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ทั่วไป ตัวอักษรในภาษาไทย มักใช้รหัสแอสกี้ในช่วง
  • 37. อุปกรณ์รับส่งข้อมูล  อุปกรณ์รับส่งข้อมูล หมายถึงสื่อกลางที่ใช้เป็น เส้นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้รับกับ ผู้ส่ง ปัจจุบันมีอุปกรณ์ในการรับส่งข้อมูล สำาหรับการเชื่อมต่อ เป็นระบบเครือข่าย  คอมพิวเตอร์ ได้หลายประเภทดังนี้ สายโทรศัพท์ (Telephone Line) สาย โทรศัพท์ เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่ใช้กันมา นาน ในระบบการสื่อสารข้อมูล แบ่งเป็นสอง ลักษณะด้วยกันคือ
  • 38.  สายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (Unshield Twisted Pair : UTP) มีลักษณะเป็นสายทองแดงขนาดเล็ก มี ฉนวนหุ้ม ในแต่ละคู่บิดเกลียวคู่เข้าด้วยกัน มีฉนวน หุ้มภายนอก ราคาถูก ติดตั้งง่าย มีความน่าเชื่อถือสูง ในการเชื่อมต่อแบบ STAR แต่มีข้อเสียคือมีอัตราการ ส่งข้อมูลตำ่า มีระยะทางการส่งสัญญาณสั้น และ สัญญาณรบกวนสูง
  • 39.  สายคู่ตีเกลียวแบบมีฉนวนหุ้ม (Shield Twisted Pair : STP) มีลักษณะเป็นสายทองแดงขนาดเล็กตี เกลียวคู่ แต่ละคู่มีฉนวนหุ้มอีกชั้นเรียกว่า Shield เพื่อ ลดสัญญาณสอดแทรก(interference) และมีฉนวนหุ้ม ชั้นนอกเรียกว่า Outer Jacket มีข้อดีคือคุณภาพการ รับส่งข้อมูลสูงกว่าสายแบบ UTPสัญญาณรบกวนน้อย
  • 40.  สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable) สายโคแอกเชียล เป็นสายที่มีความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูล ประกอบด้วย สายตัวนำาสัญญาณเส้นหนึ่งอยู่ตรงกลาง เรียกว่า Inner Conductor หุ้มด้วยฉนวน Insulator Filter แล้วล้อม รอบด้วยตัวนำาอีกชั้นหนึ่งทำาหน้าที่เป็นสายดิน (Ground) เรียกว่า Outer Conductor สายโคแอกเชีย ลมีข้อดีเรื่องความเร็วสูงในการส่งข้อมูล สามารถส่งได้ ทั้งสัญญาณเสียงวีดีโอและข้อมูล ติดตั้งง่าย แต่มีข้อเสีย
  • 41.  สายใยแก้วนำาแสง (Fiber Optic Cable) สายใยแก้วนำา แสง เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ต้องการความเร็วสูง มาก ในสภาพแวดล้อมที่มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง ลักษณะสายสัญญาณประกอบด้วยเส้นใย (Fiber) ทำา จากใยแก้วสองชนิด ที่มีดัชนีการสะท้อนแสงต่างกัน ชนิดหนึ่งเป็นแกนกลาง อีกชนิดหนึ่งอยู่ด้านนอก การ ทำางานจะมีไดโอดเปล่งแสง (LED : Light Emited Diode) หรือ ไดโอดแบบเลเซอร์ (Laser Diode) ปล่อยแสงที่เข้ารหัส ข้อมูล โดยใช้ความถี่จึงสามารถส่งรหัสข้อมูล ได้ หลายช่องทางตามความถี่ต่าง ๆ กัน อุปกรณ์รับส่ง ข้อมูลแบบเส้นใยแก้วนำาแสง มีข้อดีคือรับส่งข้อมูลด้วย ความเร็วสูง ใช้แสงในการส่งข้อมูล จึงไม่ต้อง
  • 42.  คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นไมโครเวฟ เป็นอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ใช้คลื่นวิทยุชนิดความถี่สูง เรียกว่าคลื่นไมโครเวฟ โดยอาศัยอากาศเป็นสื่อกลาง เหมาะสำาหรับการสื่อสารระยะใกล้ ที่ไม่มีตึกหรือภูเขา ระดับสูง บังการเดินทางของคลื่น ระหว่างอาคาร โดย ต้องมีจานสัญญาณ ติดตั้งไว้บนเสาหรืออาคารสูง ๆ การรับส่งข้อมูลแบบนี้ เหมาะสำาหรับบริเวณที่เดินสาย ลำาบาก มีสัญญาณไฟฟ้ารบกวนสูง ข้อเสียคือรับส่ง สัญญาณได้ไม่ไกลมากนัก และต้องติดตั้งจานรับส่ง
  • 43.  ดาวเทียม (Satellite) ดาวเทียม เป็นอุปกรณ์รับส่ง ข้อมูลที่ใช้ดาวเทียม เป็นสถานีในการรับส่งสัญญาณ ข้อมูล กับสถานีทวนสัญญาณภาคพื้นดิน รับส่ง สัญญาณครอบคลุมพื้นที่กว่า 22,300 ตารางไมล์ เพื่อ หลีกเลี่ยงปัญหาการกีดขวาง สัญญาณของภูมิประเทศ เช่น ภูเขา อาคารสูง สามารถ ส่งสัญญาณครอบคลุม ได้ทุกพื้นที่ มีข้อเสียคือต้องลงทุน และใช้เทคโนโลยี
  • 44. รูปแบบการรับส่งข้อมูล รับส่งข้อมูลทิศทางเดียว (Simplex Line) เป็นการรับส่ง ข้อมูลได้ทิศทางเดียว ช่องทางสื่อสารทำาหน้าที่รับหรือ ส่งข้อมูล ได้เพียงอย่างเดียว เช่นช่องทางการส่งข้อมูล จาก ซีพียูไปยังเครื่องพิมพ์ หรือจากซีพียูไปยังจอภาพ เป็นต้น รับส่งข้อมูลสองทางโดยสลับเวลารับส่ง (Half-Duplex Line) เป็นการรับส่งข้อมูลได้สองทิศทาง แต่ต้องสลับ เวลาในการรับส่งข้อมูล จะส่งและรับในเวลาเดียวกัน ไม่ได้ เช่น การรับส่งข้อมูลวิทยุ ผู้รับและผู้ส่งต้องสลับ กัน ส่งสัญญาณการรับส่งข้อมูลระหว่าง เครื่องสถานี ปลายทางไปยังหน่วยประมวลผล เป็นต้น รับส่งข้อมูลสองทางในเวลาเดียวกัน (Full -Duplex
  • 45. สรุปหน่วยที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ คือองค์ประกอบหลัก ที่จะ ทำาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำางานได้ อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วน หนึ่งแล้ว คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถที่จะทำางาน ได้ ระบบของคอมพิวเตอร์นี้ ประกอบไปด้วย องค์ประกอบหลักที่สำาคัญ 3 ส่วนคือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และพีเพิลแวร์ ฮาร์ดแวร์ คืออุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่ ภายใน ส่วนซอฟต์แวร์ คือโปรแกรมหรือชุดคำา สั่ง ที่ใช้ในการสั่งและควบคุมให้ฮาร์ดแวร์ ทำางาน ขบวนการทำางานของคอมพิวเตอร์ เริ่ม จากป้อนข้อมูลเข้าหน่วยป้อนข้อมูล ผ่านการ ประมวลผลจากซีพียู และส่งผลลัพธ์ออกหน่วย แสดงผลข้อมูล ทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง ข้อมูลดิบ (Raw Data) ส่วนสารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลดิบที่ได้ผ่านการประมวลผล ใน หน่วยประมวลผลกลาง ของคอมพิวเตอร์มาแล้ว
  • 46. กิจกรรมหน่วยที่ 2 1.) ระบบคอมพิวเตอร์คืออะไร ประกอบด้ว 2.) ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เกี่ยวข้องกันอ 3.) การจัดเก็บข้อมูล เก็บอยู่ในรูปแบบใด 4.) อุปกรณ์รับส่งข้อมูลที่รู้จักมีอะไรบ้าง 5.) ข้อมูลและสารสนเทศต่างกันอย่างไร 6.) คอมพิวเตอร์มีขบวนการทำางานอย่างไ 7.) รูปแบบการรับส่งข้อมูลมีกี่ชนิด อะไรบ
  • 47. าสั่ง ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ ลือกทำารายงานดังต่อไปนี้ 1.ระบบปฏิบัติการ Window XP 2.ระบบปฏิบัติการ Window 7 3.ระบบปฏิบัติการ Unix 4.ระบบปฏิบัติการ Linux