SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
MOCK BIO BY พี่วาพี่อยากสอน
ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คำตอบที่ถูกตองที่สุด จำนวน 35 ขอ ขอละ 2.4 คะแนน
รวม 84 คะแนน
1. ในพื้นที่แหงหนึ่งเหยี่ยวคางคาวเปนผูลาที่กินคางคาวเล็บกุดเปนอาหาร สวนคางคาวเล็บกุดเปนสัตวที่กินน้ำหวาน
จากเกสรดอกทุเรียน นอกจากนี้คางคาวเล็บกุดยังเปนพาหะถายเรณู (pollinator) หลักใหแกตนทุเรียน
จากขอมูล พิจารณาขอความตอไปนี้
A. ผูบริโภคลำดับที่ 1 คือ ทุเรียน ผูบริโภคลำดับที่ 2 คือ คางคาวเล็บกุด และผูบริโภคลำดับสุดทายคือ
เหยี่ยวคางคาว
B. โซอาหารของสิ่งมีชีวิต 3 ชนิดนี้ คือ ทุเรียน —> คางคาวเล็บกุด —> เหยี่ยวคางคาว
C. ถาคางคาวเล็บกุดถูกลาเปนอาหารโดยมนุษยมากขึ้น ในระยะยาวจะสงผลทำใหประชากรทุเรียนเพิ่มขึ้น
ขอใดกลาวถูกตอง
1. B
2. C
3. A และ B
4. B และ C
5. A B และ C
2. นักวิจัยไดไปสำรวจพื้นที่แหงหนึ่ง พบวาพื้นที่มีตนไมขึ้นหนาแนน ประกอบดวยไมพื้นลาง เชน เฟรน มอส หวาย
และพบไมตนขนาดใหญ เชน ยางนา ตะเคียน พืชเดนเปนไมตนใบกวางไมผลัดใบขึ้นปกคลุมหนาแนน พบนกและ
สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนมอาศัยอยูหลายชนิด และมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายเดือนแสดงดังตาราง
เดือน ปริมาณหยาดน้ำฟาเฉลี่ย (เซนติเมตร)
มกราคม 27
กุมภาพันธ 16
มีนาคม 47
เมษายน 9
พฤษภาคม 14
มิถุนายน 16
กรกฎาคม 30
สิงหาคม 32
กันยายน 12
ตุลาคม 37
พฤศจิกายน 35
ธันวาคม 14
กำหนดให ปริมาณหยาดน้ำฟาเฉลี่ยของแตละไบโอมเปนดังตาราง
จากขอมูล นักเรียนคิดวาพื้นที่นี้อยูในไบโอมใด
1. ทุนดรา
2. ทุงหญาเขตอบอุน
3. ปาผลัดใบเขตอบอุน
4. ทะเลทราย
5. ปาเขตรอน
ไบโอม ปริมาณหยาดน้ำฟาเฉลี่ยตอป (เซนติเมตร)
ทุนดรา 20-60
ปาสน 30-70
ทุงหญาเขตอบอุน 30-100
ซาปารรัล 30-50
ปาผลัดใบเขตอบอุน 70-200
ทะเลทราย < 30
สะวันนา 30-50
ปาเขตรอน 200-400
3. นักวิทยาศาสตรศึกษาประชากรของทากบก (Geomalacus maculosus) ซึ่งเปนทากบกหายากของทวีปยุโรป
พบในสวนสนซึ่งมีตนสนขนาดใหญขึ้นอยูอยางหนาแนน และพื้นที่เปดโลงซึ่งมีไมพุมและหญาจำนวนมาก โดย
วางแผนในการเก็บขอมูลประชากรของทากบกดวยวิธีการทำเครื่องหมายและจับซ้ำ โดยการจับทากบกมาทำ
เครื่องหมายดวยการแตมสีกอนปลอย ไดผลดังตาราง
จากขอมูล พิจารณาขอความตอไปนี้
A. ขนาดประชากรทากบกในสวนสน เทากับ
B. ความหนาแนนประชากรทากบกในสวนสน เทากับ
C. ความหนาแนนประชากรทากบกในพื้นที่เปดโลง เทากับ
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A
2. C
3. A และ B
4. A และ C
5. B และ C
4. ชาวบานในหมูบานแหงหนึ่งสังเกตวาโรงงานอุตสาหกรรมในหมูบานทำใหทำใหคุณภาพน้ำในบึงทั้ง 4 แหลงใน
หมูบานลดลง จึงไดรองเรียนใหเจาหนาที่มาตรวจสอบ ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ำ ไดผลตาราง
จากผลการวิเคราะหคุณภาพแหลงน้ำ ถานักเรียนอาศัยอยูในหมูบานนี้ จะแนะนำใหคนในหมูบานนำน้ำจากบึง
แหลงใดมาใช
1. บึงแหลงที่ 1 และ 3
2. บึงแหลงที่ 1 และ 4
3. บึงแหลงที่ 2 และ 3
4. บึงแหลงที่ 2 และ 4
5. บึงแหลงที่ 3 และ 4
บริเวณ
ขนาดพื้นที่
(ตารางเมตร)
จับครั้งที่ 1
จับครั้งที่ 2
จำนวนทากบกที่มี
เครื่องหมาย
(ตัว)
จำนวนทากบกที่ไมมี
เครื่องหมาย
(ตัว)
สวนสน a b c d
พื้นที่เปดโลง w x y z
b(c + d )
a
a c
b(c + d )
x (y + z)
w y
ผลการวิเคราะห บึงแหลงที่ 1 บึงแหลงที่ 2 บึงแหลงที่ 3 บึงแหลงที่ 4
pH 6.0 6.5 7.0 7.5
อุณหภูมิ (°C) 26 27 27 26
คา BOD (mg/L) 2.0 5.0 3.0 8.0
คา DO (mg/L) 6.0 2.5 5.0 2.0
5. A B C และ D เปนสัตว 4 สปชีส โดยขอมูลทางอนุกรรมวิธานของสัตว 4 สปชีส แสดงดังตารางตอไปนี้
กำหนดให เครื่องหมาย ? แทนขอมูลที่ไมทราบ
จากขอมูล พิจารณาขอความตอไปนี้
A. สปชีส A เทานั้นที่อยูในไฟลัม Chordata
B. สปชีส A C และ D อยูในแฟมิลีเดียวกัน
C. สปชีส A และ D มีความสัมพันธใกลชิดทางวิวัฒนาการมากที่สุด
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A
2. C
3. A และ B
4. B และ C
5. A B และ C
สปชีส A สปชีส B สปชีส C สปชีส D
ไฟลัม Chordata ? ? ?
คลาส Mammalia ? ? ?
ออรเดอร Carnivora Carnivora ? ?
แฟมิลี Felidae ? Felidae ?
จีนัส Felis ? ? Felis
สปชีส Felis catus ? ? ?
6. ไดโคโทมัสคียที่ใชระบุกลุมของสัตวในกลุมคอรเดตเปนดังนี้
1ก ไมมีขากรรไกร A
1ข มีขากรรไกร ดูขอ 2
2ก หายใจดวยเหงือกตลอดชีวิต ดูขอ 3
2ข หายใจดวยปอดในตัวเต็มวัย ดูขอ 4
3ก มีกระดูกออน B
3ข มีกระดูกแข็ง C
4ก ปอดยังไมเจริญดี ตัวออนหายใจดวยเหงือก D
4ข ปอดเจริญดี ดูขอ 5
5ก ไขมีเปลือกหุม ตัวออนเจริญนอกตัวแม ดูขอ 6
5ข ไขไมมีเปลือกหุม ตัวออนเจริญในตัวแม E
6ก ผิวหนังมีเกล็ด F
6ข ผิวหนังไมมีเกล็ด G
จากไดโคโทมัสคีย ขอใดกลาวถูกตอง
A B C D E F G
1. ปลาแฮกฟช ปลาฉลาม ปลาการตูน เขียดงู ลิง เตา นกเพนกวิน
2. ปลาแฮกฟช ปลาการตูน ปลาฉลาม เขียดงู ลิง เตา นกเพนกวิน
3. ปลาแฮกฟช ปลาฉลาม ปลาการตูน เตา ลิง เขียดงู นกเพนกวิน
4. ปลาแฮกฟช ปลาฉลาม ปลาการตูน เตา นกเพนกวิน เขียดงู ลิง
5. ปลาแฮกฟช ปลาการตูน ปลาฉลาม เขียดงู นกเพนกวิน เตา ลิง
7. น้ำตาล 5 ชนิด คือ A B C D และ E ถูกยอยใหเปนมอโนแซ็กคาไรด เมื่อนำผลิตภัณฑที่ไดมาแยกดวยเทคนิค
paper chromatography ไดผลการทดลอง ดังรูป
กำหนดใหจุด A คือ ผลจากการยอยแล็กโทส
ขอใดระบุชนิดของน้ำตาลในแตละตัวอักษรไดถูกตอง
B C D E
1. กาแล็กโทส มอลโทส ซูโครส ฟรักโทส
2. กาแล็กโทส ซูโครส มอลโทส ฟรักโทส
3. ฟรักโทส มอลโทส ซูโครส กาแล็กโทส
4. ฟรักโทส ซูโครส มอลโทส กาแล็กโทส
5. ฟรักโทส กลูโคส มอลโทส กาแล็กโทส
8. สมมติใหวิถีเมแทบอลิซึมหนึ่งมี 3 ขั้นตอน โดยมีเอนไซม E1 E2 และ E3 เกี่ยวของในวิถีเมแทบอลิซึมนี้ มีสาร A
เปนสารตั้งตน มีสาร B และ C เกิดขึ้นระหวางวิถีเมแทบอลิซึม และมีสาร D เปนสารผลิตภัณฑสุดทาย
เมื่อทำการทดลองเพื่อหาลำดับของปฏิกิริยาตาง ๆ ในวิถีเมแทบอลิซึมนี้ ไดเติมตัวยับยั้งเอนไซมแตละชนิด ไดผล
การทดลองดังแสดงในกราฟดานลางนี้
ลำดับของการเกิดสารในปฏิกิริยาเปนดังนี้
V X Z
A —> W —> Y —> D
ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. W คือ สาร C และ Y คือ สาร B
2. V คือ เอนไซม E3 X คือ เอนไซม E2 และ Z คือ เอนไซม E1
3. หลังจากเอนไซม E3 ทำใหสาร A เปลี่ยนไปเปนสาร C จะถูกสลายทิ้งทันที
4. ถามีสารหนึ่งที่มีลักษณะคลายกับสาร C เพิ่มขึ้น จะพบวาปริมาณของสาร D ลดลง
5. ถาตัวยับยั้งเอนไซม E3 เปนตัวยับยั้งแบบแขงขัน เมื่อเพิ่มปริมาณของสาร A ซึ่งเปนสารตั้งตนในวิถีนี้ จะ
พบวาปริมาณของสาร D เพิ่มขึ้น
9. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. ถาวัตถุมีความยาว 4 ไมโครเมตร เมื่อนำมาศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนจะมีความยาวประมาณ 4
มิลลิเมตร กลองนี้มีกำลังขยาย 1,000 เทา
2. เมื่อนำสาหรายหางกระรอกไปศึกษาดวยกลองจุลทรรศนที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางของจอภาพประมาณ
1,600 ไมโครเมตร พบเซลลสาหรายหางกระรอกเรียงตอกันตามยาว 8 เซลล ความยาวของ
เซลลสาหรายหางกระรอก 1 เซลล จะเทากับ 0.2 มิลลิเมตร
3. ถาพารามีเซียมมีขนาดยาว 100 ไมโครเมตร เมื่อนำไปศึกษาดวยกลองจุลทรรศนที่มีเลนสใกลตา
กำลังขยาย 10x และเลนสใกลวัตถุกำลังขยาย 10x จะเห็นภาพพารามีเซียมมีความยาวเปน 100 เทา
ของขนาดจริง และภาพของพารามีเซียมมีความยาวเทากับ 1 เซนติเมตร
4. กลองจุลทรรศนที่มีกำลังขยาย 40 เทา เมื่อใชไมบรรทัดใสวัดเสนผานศูนยกลางของจอภาพได 3.75
มิลลิเมตร เมื่อกำลังขยายของกลองเปลี่ยนเปน 100 เทา เสนผานศูนยกลางของจอภาพเทากับ 1,500
ไมโครเมตร และเมื่อกำลังขยายของกลองเปลี่ยนเปน 400 เทา เสนผานศูนยกลางของจอภาพเทากับ
375 ไมโครเมตร
5. จากการสังเกตไมบรรทัดภายใตกลองจุลทรรศนใชแสงเชิงประกอบที่มีกำลังขยาย 100 เทา พบวา
เสนผานศูนยกลางของจอภาพยาว 1.6 มิลลิเมตร เมื่อนำพารามีเซียมมาศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนที่มี
กำลังขยาย 400 เทา พบวา พารามีเซียมยาว 1/4 ของเสนผานศูนยกลางของจอภาพ ดังนั้น
พารามีเซียมมีความยาว 1 มิลลิเมตร
10. จากตารางรอยละของพื้นที่ผิวของเยื่อหุมในสวนตาง ๆ ของเซลล 2 เซลล ไดแก เซลล A และเซลล B
ขอใดกลาวถูกตอง
1. เซลล A มีการสรางสารกลุมลิพิดมากกวาเซลล B
2. เซลล A มีการสรางสารกลุมโปรตีนนอยกวาเซลล B
3. เซลล A มีความตองการพลังงานนอยกวาเซลล B
4. เซลล A ควรเปนเซลลตับ เพราะมีเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระมากเพื่อกำจัดสารพิษ
5. เซลล B ควรเปนเซลลตับออน เพราะมีเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบมากเพื่อสรางเอนไซม
11. นักเรียนคนหนึ่งทำการทดลองโดยนำเซลลเม็ดเลือดแดงมาใสลงในสารละลาย โดยในแตละหลอดทดลองมีความ
เขมขนไมเทากัน 3 หลอด ไดผลดังภาพ
ขอใดกลาวถูกตอง
1. สารละลาย A เปนสารละลายที่มีความเขมขนต่ำกวาความเขมขนภายในเซลล
2. ในหลอดทดลองที่บรรจุสารละลาย B น้ำจะไมมีการเคลื่อนที่เขาออกเซลล
3. สารละลาย C เปนสารละลายที่มีความเขมขนสูงกวาความเขมขนภายในเซลล
4. หลอดทดลองที่บรรจุสารละลาย C จะเห็นเปนสีแดงเขมที่สุด
5. สารละลาย A มีโอกาสเปน 0.45% NaCl
เยื่อหุมในสวนตาง ๆ ของเซลล
รอยละของพื้นที่ผิว
เซลล A เซลล B
เยื่อหุมเซลล 5.0 2.0
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ 60.0 35.0
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ < 1.0 16.0
กอลจิคอมเพล็กซ 10.0 7.0
เยื่อหุมชั้นนอกของไมโทคอนเดรีย 4.0 7.0
เยื่อหุมชั้นในของไมโทคอนเดรีย 17.0 32.0
นิวเคลียส 0.7 0.2
12. การผลิตไวนผลไมในประเทศไทยนิยมนำยีสต Saccharomyces cerevisiae มาใชเปนหัวเชื้อในกระบวนการหมัก
เพื่อใหไดแอลกอฮอล กระบวนการหมักไวนจะทำในภาชนะปดสนิทเพื่อไมใหอากาศจากภายนอกเขาไปภายในระบบ
และจะหมักไวจนกวาน้ำตาลในผลไมถูกใชไปจนเกือบหมดและไดปริมาณแอลกอฮอลประมาณ 10-14 % โดย
ปริมาตร จึงจะถือวาเสร็จสิ้นกระบวนการหมักไวน
จากตารางการเปลี่ยนแปลงองคประกอบตาง ๆ ระหวางการหมักไวนผลไมเปนระยะเวลา 14 วัน
กำหนดให ตัวเลขที่มากในหนวย องศาบริกซ แสดงวามีน้ำตาลมาก
จากขอมูล ถานักเรียนตองการผลิตไวนผลไมเพื่อนำไปขาย นักเรียนควรหมักไวนไมเกินกี่วันจึงจะเหมาะสมที่สุด
1. 2 วัน เพราะเปนชวงที่มียีสตนอย ทำใหไมเปนอันตรายตอผูบริโภค
2. 4 วัน เพราะเปนชวงที่มีปริมาณแอลกอฮอลเพิ่มขึ้นอยางกาวกระโดด
3. 8 วัน เพราะเปนชวงที่มีปริมาณยีสตมากที่สุด
4. 10 วัน เพราะเปนชวงที่มีปริมาณแอลกอฮอลมากที่สุดในเวลาที่นอยที่สุด
5. 14 วัน เพราะเปนชวงที่ปริมาณน้ำตาลเหลือนอยที่สุด
เวลาการหมัก
(วัน)
ปริมาณน้ำตาล
(องศาบริกซ)
ปริมาณยีสต
(x107 เซลลตอ mL)
ปริมาณแอลกอฮอล
(% โดยปริมาตร)
0 22.5 0.20 0
2 20.0 0.88 1.6
4 14.5 5.60 11.6
6 10.7 9.20 12.9
8 8.0 11.30 13.7
10 8.0 9.65 13.9
12 7.8 8.80 13.9
14 7.8 8.85 13.9
13. Cytochalasin เปนสารสกัดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง มีผลทำใหเสนใยแอกทินไมสามารถรวมตัวเปนพอลิเมอรได
จากกราฟแสดงปริมาณ DNA ของเซลลชนิดหนึ่งในวัฏจักรเซลล
ขั้นตอนชวงใดของการแบงเซลลจะเกิดความผิดปกติขึ้น
1. ชวง B
2. ชวง C
3. ชวง D
4. ชวง A และ B
5. ชวง B และ D
14. นาย ก. หายออกจากบานไปตอนหลังรับประทานอาหารกลางวันของวันที่ 1 จนกระทั่งเชาวันที่ 3 มีผูพบศพใน
หองเย็นสำหรับแชอาหารทะเล ซึ่งเมื่อดูจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของศพไมสามารถบอกไดวาเสียชีวิตเมื่อใด
เนื่องจากศพถูกแชไวในหองเย็น แตจากการผาศพพบชิ้นเนื้ออยูในกระเพาะอาหารหลายชิ้น ซึ่งเปนอาหารชนิดเดียว
กับที่นาย ก. รับประทานตอนกลางวัน โดยภรรยาของ นาย ก. แจงวานาย ก. รับประทานอาหารกลางวันเสร็จ
เมื่อเวลาประมาณ 12.00 น.
ระยะเวลาที่อาหารอยูในสวนตาง ๆ ของทางเดินอาหารเปนดังตาราง
นักเรียนคิดวานาย ก. เสียชีวิตเมื่อใด
1. 13.00 น. ของวันที่ 1
2. 16.00 น. ของวันที่ 1
3. 17.00 น. ของวันที่ 1
4. 00.00 น. ของวันที่ 2
5. 05.00 น. ของวันที่ 2
สวนของทางเดินอาหาร ระยะเวลาที่อาหารอยู
ปาก 1 นาที
กระเพาะอาหารสวนบน 30-60 นาที
กระเพาะอาหารสวนลาง 1-3 ชั่วโมง
ลำไสเล็กสวนดูโอดีนัม 30-60 นาที
15. เสนผานศูนยกลางของหลอดเลือดเปนดังตาราง
จากตาราง พิจารณาขอความตอไปนี้
A. A คือ หลอดเลือดเวน
B. B คือ หลอดเลือดอารเทอรี
C. C คือ หลอดเลือดฝอย
ขอใดกลาวถูกตอง
1. B
2. C
3. A และ B
4. A และ C
5. A B และ C
หลอดเลือด
คาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลาง
ภายนอก (µm)
คาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลาง
ภายใน (µm)
A 3,500 3,000
B 3,000 1,000
C 10 8
16. กราฟแสดงผลการเจาะเลือดของผูปวยรายหนึ่งที่ไดรับเชื้อ HIV ควรมีแนวโนมเปนดังกราฟใด
1.
2.
3.
4.
5.
17. ปริมาตรของของเหลวและความเขมขนของสารตาง ๆ ที่พบในพลาสมา ของเหลวที่ผานการกรองและปสสาวะเปน
ดังตาราง
ครีเอทินีน คือ สารที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของเซลลกลามเนื้อโครงราง ซึ่งบงบอกถึงประสิทธิภาพการทำงานของไต
จากตาราง พิจารณาขอความตอไปนี้
A. ถาผนังของโกลเมอรูลัสและโบวแมนสแคปซูลถูกทำลายหรือฉีกขาดจะพบกลูโคสในปสสาวะ
B. ปริมาณครีเอทินีนที่พบในปสสาวะมีมากกวาที่พบในของเหลวที่ผานการกรอง
C. รางกายมีการดูดกลับยูเรียวันละ 19.5 กรัม และดูดกลับกรดยูริกวันละ 47.7 กรัม
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A
2. B
3. A และ B
4. B และ C
5. A B และ C
สาร พลาสมา ของเหลวที่ผานการกรอง ปสสาวะ
ของเหลว (L) 180 180 1.5
สารประกอบคารบอน (mg/100mL)
โปรตีน
กลูโคส
ยูเรีย
กรดยูริก
ครีเอทินีน
3,900-5,000
100
26
3
1.1
6-11
100
26
3
1.1
0
0
1,820
42
196
ไอออน (mmol/L)
โซเดียมไอออน
คลอไรดไอออน
ไฮโดรเจนคารบอเนตไอออน
โพแทสเซียมไอออน
142
103
28
5
142
103
28
5
128
134
14
60
18. ผลการศึกษาความแตกตางระหวางขณะพักและหลังออกกำลังกายอยางหนักเปนดังตาราง
จากตาราง พิจารณาขอความตอไปนี้
A. A < B
B. C < D
C. E > F
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A
2. B
3. A และ B
4. B และ C
5. A B และ C
19. Botox เปนโปรตีนชนิดหนึ่งที่สรางจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium botulinum สารชนิดนี้ประกอบขึ้นจากโปรตีน
2 สาย คือสายหนัก และสายเบา เชื่อมกันดวยพันธะไดซัลไฟด สายหนักทำลายโปรตีนที่ปลายแอกซอนของเซลล
ประสาท สวนสายเบาทำลายโปรตีนบนเวสิเคิลที่บรรจุสารสื่อประสาท ทำใหไมสามารถเกิดการเอกโซไซโทซิสได
จากขอมูล เมื่อรางกายไดรับ Botox จะสงผลอยางไร
1. เซลลประสาทไมเกิดกระบวนการดีโพลาไรเซชัน
2. เยื่อหุมเซลลประสาทฉีกขาด
3. กลามเนื้อหดเกร็ง
4. กลามเนื้อหดตัวไมได
5. เกิดการไซแนปสไฟฟา
หัวขอที่ศึกษา ขณะพัก หลังออกกำลังกายอยางหนัก
อัตราการหายใจ A B
ความดันยอยของ O2 ในหลอดเลือดเวน C D
ความดันยอยของ CO2 ในหลอดเลือดเวน E F
20. จากตารางแสดงสมบัติของเสนใยประสาท
กำหนดให เสนใยประสาท A และ B มีความยาวเทากัน
พิจารณาขอความตอไปนี้
A. a คือ มี และ b คือ ไมมี
B. c > d
C. e < f
D. g > h
E. i > j
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A และ B
2. A และ D
3. B และ C
4. A B และ D
5. A B และ E
สมบัติ เสนใยประสาท A เสนใยประสาท B
ความเร็วของกระแสประสาท เร็วกวา ชากวา
เยื่อไมอีลินหุมแอกซอน a b
จำนวนเยื่อไมอีลิน c d
ระยะหางระหวาง node of Ranvier e f
เสนผานศูนยกลางแอกซอน g h
จำนวนครั้งในการไซแนปส i j
21. จากไวรัลฮิตสงทายป 2565 ที่ Krit Tone นักลงเสียงชื่อดังชวนชาว TikTok ลองเปนนักลงเสียงโฆษณา โดยใช
บทจริงที่เขาเคยลงเสียง “ดุดันไมเกรงใจใคร Ford Ranger Raptor เจเนอเรขันใหม” ใหออกมาในแบบของตัว
เอง ไมมีผิดไมมีถูก ดังภาพ
จากภาพ พิจารณาขอความตอไปนี้
A. กลามเนื้อ A และกลามเนื้อ B ทำงานเปนคูในสภาวะตรงกันขาม
B. กลามเนื้อ A คือ กลามเนื้อไบเซพที่อยูในสภาวะคลายตัว
C. กลามเนื้อ B คือ กลามเนื้อไตรเซพที่อยูในสภาวะหดตัว
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A
2. B
3. A และ B
4. B และ C
5. A B และ C
22. แบบแผนการเติบโตของสิ่งมีชีวิตเปนดังกราฟ
จากกราฟ พิจารณาขอความตอไปนี้
A. กราฟ A เปนแบบแผนการเติบโตของแมลงที่มีเมทามอรโฟซิส
B. กราฟ B เปนแบบแผนการเติบโตของสัตวทั่วไป
C. สาเหตุที่กราฟ A มีลักษณะคลายขั้นบันได คือ กอนการลอกคราบ สัตวจะหยุดกินอาหาร ทำใหการ
เติบโตหยุดชะงัก และหลังการลอกคราบจะกินอาหาร ทำใหเติบโตขึ้น
ขอใดกลาวถูกตอง
1. C
2. A และ B
3. B และ C
4. A และ C
5. A B และ C
23. ฮอรโมนชนิดหนึ่งมีโครงสรางดังภาพ
จากภาพ พิจารณาขอความตอไปนี้
A. ฮอรโมนชนิดนี้เปนสารประเภทเพปไทด
B. ฮอรโมนชนิดนี้จะจับกับตัวรับที่เยื่อหุมเซลล
C. ฮอรโมนชนิดนี้สามารถนำเขาสูรางกายดวยวิธีการรับประทานหรือฉีดก็ได
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A
2. B
3. A และ B
4. A และ C
5. A B และ C
24. ปายุทธและปาวิตรถูกตรวจพบวาเปนโรคเบาหวาน หลังจากพบแพทย แพทยไดนัดใหปายุทธมาฉีดอินซูลินทุกวัน
เพื่อควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือด รวมทั้งควบคุมอาหารและออกกำลังกายเพิ่มขึ้น สวนปาวิตร แพทยแนะนำให
ควบคุมอาหารและออกกำลังกายเพิ่มขึ้น แตไมฉีดอินซูลิน ทำใหปาวิตรรูสึกไมพอใจที่ตนไมไดรับการรักษาโดยการ
ฉีดอินซูลินเหมือนปายุทธ
จากขอมูล จงพิจารณาขอความตอไปนี้
A. ปายุทธปวยเปนเบาหวานชนิดที่ตับไมสามารถสรางอินซูลินได
B. ปาวิตรปวยเปนเบาหวานชนิดที่ตับสามารถสรางอินซูลินไดปกติ แตตัวรับอินซูลินผิดปกติ
C. การทำงานของอินซูลิน คือ กระตุนใหเซลลตับและเซลลกลามเนื้อนำกลูโคสเขาไปในเซลลมากขึ้น และ
เปลี่ยนกลูโคสใหเปนไกลโคเจนเพื่อสะสมไว
ขอใดกลาวถูกตอง
1. B
2. C
3. A และ B
4. B และ C
5. A B และ C
25. ในป พ.ศ. 2560 ฟรานเซสกา โซลดาติ (Francesca Soldati) และคณะ ไดทดสอบพฤติกรรมการเลือกกินอาหาร
ของเตาตีนแดง (Chelonoidis carbonaria) ทีมวิจัยไดฝกเตาสปชีสนี้โดยใชอาหาร 2 ชนิดที่แตกตางกันในเรื่อง
คุณภาพและปริมาณซึ่งอาหารชนิดที่คุณภาพสูงกวาจะใหพลังงานสูงกวา โดยใชแผนพลาสติกสีตางกัน 2 สีเปน
ตัวแทนความแตกตางของอาหาร ทำการฝกเตาใหเลือกแผนพลาสติก เมื่อเตาคลานเขาหาพลาสติกสีใด เตาจะไดรับ
อาหารตามขอมูลสีของแผนพลาสติก เมื่อผานการฝก 90 ครั้ง พบวาเตาจะคลานเขาหาแผนพลาสติกสีที่เชื่อมโยง
กับอาหารที่มีคุณภาพสูงและมีปริมาณมากเปนสวนใหญ แลวทำการทดลองซ้ำอีกครั้ง หลังจากผานไป 18 เดือน
เตายังคงมีพฤติกรรมเลือกแผนพลาสติกสีที่เชื่อมโยงกับอาหารที่มีคุณภาพสูงและมีปริมาณมากอยูเชนเดิม แสดงให
เห็นวาเตาสามารถจดจำสิ่งที่เรียนรูในระยะยาวได
จากขอมูล การเลือกกินอาหารของเตาตีนแดงเปนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรูแบบใด
1. แฮบิชูเอชัน
2. การฝงใจ
3. การเชื่อมโยงแบบการมีเงื่อนไข
4. การเชื่อมโยงแบบแบบการลองผิดลองถูก
5. การใชเหตุผล
26. การปฏิสนธิของพืชดอกเปนการปฏิสนธิคู (double fertilization) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
A. หลอดเรณูเขาไปในซินเนอรจิด สเปรมนิวเคลียสเขาไปในไซโทพลาซึมของซินเนอรจิด จากนั้นซินเนอรจิด
จะสลาย
B. หลอดเรณูงอกลงไปในกานเกสรเพศเมีย
C. สเปรมนิวเคลียสปฏิสนธิกับเซลลไขไดเปนไซโกต สวนสเปรมนิวเคลียสปฏิสนธิกับโพลารนิวคลีไอไดเปน
เอนโดสเปรมนิวเคลียส
D. หลอดเรณูเขาไปในออวุลผานทางไมโครไพล
ขอใดเรียงลำดับขั้นตอนการปฏิสนธิคูไดถูกตอง
1. B —> A —> D —> C
2. B —> D —> A —> C
3. B —> C —> D —> A
4. D —> B —> A —> C
5. D —> A —> C —> B
27. จากรูปเนื้อเยื่อพืชตัดตามขวาง แสดงโครงสรางภายในของใบพืชชนิดหนึ่ง
จากภาพ หมายเลขใดคือโครงสรางที่มีหนาที่สำคัญในการสังเคราะหดวยแสง เปนชั้นที่มีชองอากาศขนาดใหญ
จำนวนมากสำหรับเก็บอากาศ และโครงสรางจากหมายเลขดังกลาวคือโครงสรางอะไร
1. หมายเลข 1 — เอพิเดอรมิส
2. หมายเลข 2 — แพลิเซดมีโซฟลล
3. หมายเลข 3 — สปองจีมีโซฟลล
4. หมายเลข 6 — แพลิเซดมีโซฟลล
5. หมายเลข 8 — สปองจีมีโซฟลล
28. กําหนดสถานการณ 2 สถานการณตอไปนี้
สถานการณ 1 พืช X มีความเขมขนของ CO2 ในใบพืชต่ํากวาในบรรยากาศ
สถานการณ 2 พืช Y มีอัตราการหายใจระดับเซลลสูงและมีอัตราการสังเคราะหดวยแสงต่ํา
พิจารณาขอความตอไปนี้
A. ในพืช X CO2 จะแพรจากอากาศภายนอกเขาสูใบ
B. ในพืช Y O2 จะแพรจากใบพืชออกสูอากาศภายนอก
C. ความเขมขนของ CO2 ในใบพืช Y สูงกวาในบรรยากาศ
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A เทานั้น
2. B เทานั้น
3. A และ B
4. A และ C
5. B และ C
29. ขอใดจับคูธาตุอาหารที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืชกับขอความไดไมสัมพันธกัน
1. K – การควบคุมแรงดันเตงของเซลล
2. P – องคประกอบสําคัญของสารพลังงานสูง (ATP) และ คลอโรฟลล
3. N – องคประกอบของกรดแอมิโนทุกชนิด
4. Fe – องคประกอบของเอนไซมท่ีเก่ียวของกับการเคล่ือนยายอิเล็กตรอนในเซลล
5. Ca – องคประกอบของมิดเดิลลาเมลลา
30. นักเรียน 4 คน นําขอมูลเรื่องการถายทอดอิเล็กตรอนในพืชที่ไดสืบคนมาแลกเปลี่ยนกัน ดังนี้
นักเรียน A การถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรจะได NADPH ATP และ O2
นักเรียน B การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรเกี่ยวของกับระบบแสง I และ ระบบแสง II
นักเรียน C การถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรจะเกิดเพียง ATP เทานั้น
นักเรียน D การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรไมมีการแตกตัวของโมเลกุลน้ํา
ขอมูลของนักเรียนคนใดผิดจากความจริง
1. นักเรียน B เทานั้น
2. นักเรียน A และ นักเรียน B
3. นักเรียน B และ นักเรียน C
4. นักเรียน A นักเรียน B และ นักเรียน C
5. นักเรียน B นักเรียน C และ นักเรียน D
31. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช นักวิทยาศาสตรไดกลาวถึงสัดสวนของออกซินและไซโทไคนินตอการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ของยาสูบไววา ถาสัดสวนของออกซินตอไซโทไคนิน
• สูงจะชักนำใหเกิดราก
• ปานกลางจะชักนำใหเกิดแคลลัส
• ต่ำจะชักนำใหเกิดยอด
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของพืชและปริมาณฮอรโมนพืชที่มีอยูภายในเนื้อเยื่อพืช เมื่อนำชิ้นสวนของพืชชนิดหนึ่งมาเลี้ยง
บนอาหารกึ่งแข็งที่เติมออกซินและไซโทไคนินความเขมขนตาง ๆ กัน ผลที่ไดเปนไปตามการทดลองของ
นักวิทยาศาสตร โดยสัดสวนของออกซินตอไซโทไคนินของเนื้อเยื่อพืชที่สามารถชักนำใหเกิดแคลลัสได คือ
ออกซิน 1.00 mg/mL ไซโทไคนิน 1.00 mg/mL
หลังจากเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชชนิดนี้เปนเวลา 3 เดือน ไดผลดังตาราง
พิจารณาขอความตอไปนี้
A. ชิ้นสวน A ไมมีการพัฒนา
B. ชิ้นสวน B มียอดเกิดขึ้น
C. ชิ้นสวน C มีรากเกิดขึ้น
ขอใดกลาวถูกตอง
1. A
2. B
3. A และ B
4. B และ C
5. A B และ C
32. ถาสิ่งมีชีวิตสปชีสหนึ่งมีสารพันธุกรรมเปนดีเอ็นเอสายคู (double strand DNA) และตรวจสารพันธุกรรมตาง ๆ
ในไมโทคอนเดรียพบปริมาณของเบส A เปนรอยละ 20 ของปริมาณเบสในดีเอ็นเอทั้งหมด
จากขอความขางตน ขอใดกลาวถูกตอง
1. สิ่งมีชีวิตชนิดชนิดนี้จัดเปนสิ่งมีชีวิตกลุมโพรแคริโอต
2. กระบวนการถอดรหัสในสิ่งมีชีวิตชนิดนี้จะเกิดขึ้นในไซโทพลาสซึม
3. ปริมาณรอยละของเบส T ในสิ่งมีชีวิตชนิดนี้เทากับรอยละ 30
4. ในสิ่งมีชีวิตชนิดนี้มีปริมาณรอยละของเบสพิวรีนมากกวาปริมาณรอยละของเบสไพริมีดีน
5. ผลรวมปริมาณรอยละของเบส C กับ เบส G ในส่ิงมีชีวิตชนิดนี้เทากับรอยละ 60
สารสังเคราะหที่มีสมบัติคลายฮอรโมนพืช
ความเขมขนของออกซิน (mg/mL)
0.00 1.00
ความเขมขนของไซโทไคนิน
(mg/mL)
0.00 ชิ้นสวน A ชิ้นสวน B
1.00 ชิ้นสวน C ชิ้นสวนพืชมีแคลลัสเกิดขึ้น
33. กําหนดใหตารางรหัสพันธุกรรม เปนดังนี้
จากลําดับนิวคลีโอไทดของสายดีเอ็นเอแมแบบตอไปนี้
5’ - TAAGTCTTGGCGTGGCGATATCCGCACATCG - 3’
ถาดีเอ็นเอเกิดมิวเทชันทําใหคูเบสที่ตําแหนงท่ี 23 (นับจากปลาย 5’) เปลี่ยนเปน T เม่ือเกิดการถอดรหัสและ
แปลรหัส สายพอลิเพปไทดที่ไดจะเปนอยางไร
1. ไมมีการเปลี่ยนแปลง
2. สายพอลิเพปไทดมีขนาดสั้นลง
3. กรดแอมิโนเปลี่ยนไปเพียง 1 ตําแหนง
4. สายพอลิเพปไทดไมถูกสรางข้ึนเพราะไมมีการแปลรหัส
5. กรดแอมิโนตําแหนงที่ 3 เปลี่ยนจากไกลซีนเปนอารจีนีน
34. หมูเลือดระบบ ABO ในมนุษยควบคุมดวยยีนบนออโตโซม โรคตาบอดสีควบคุมดวยแอลลีลดอยบนโครโมโซมเพศ
พอและแมมีเลือดหมู A และตาปกติทั้งคู มีลูกชายคนหนึ่งมีเลือดหมู O และตาบอดสี พอแมคูนี้มีโอกาสให
กําเนิดลูกสาวมีเลือดหมู O และตาปกติในอัตราสวนเปนเทาใด
1. 1/2
2. 1/8
3. 3/8
4. 3/16
5. 5/16
35. ในประชากรหนึ่ง ถาพบวามีสัดสวนของผูที่เปนโรคธาลัสซีเมีย ซ่ึงถูกควบคุมดวยแอลลีลดอยบนออโตโซม (aa)
เทากับ 10 ใน 25,000 คน กําหนดใหประชากรน้ีอยูในสมดุลฮารดี-ไวนเบิรก อยากทราบวาความถี่ของแอลลีลที่
ทําใหเปนโรคธาลัสซีเมียเปนเทาใด
1. 0.02
2. 0.20
3. 0.160
4. 0.625
5. 0.0004
ตอนที่ 2 เลือกตอบเชิงซอน จำนวน 5 ขอ ขอละ 3.2 คะแนน รวม 16 คะแนน
• ตอบถูกทั้ง 3 ขอยอย ไดคะแนนเต็ม 3.2 คะแนน
• ตอบถูก 2 ขอยอย ไดคะแนน 1.6 คะแนน
• หากตอบถูกเพียง 1 ขอยอย จะไมไดคะแนน
36. กําหนดสถานการณ 2 สถานการณตอไปนี้
สถานการณ 1 ปาชายหาดตามชายฝงทะเลจังหวัดพังงาไดถูกสึนามิพัดทําลายไปในป พ.ศ. 2547 หลังจากผาน
เหตุการณน้ีไป 2 ป เริ่มมีพืชโตเร็วขนาดเล็กและไมพื้นลางมาปกคลุมบริเวณนี้
สถานการณ 2 เกาะซึรทเทย (Surtsey) เปนเกาะที่เกิดขึ้นใหมของประเทศไอซแลนด โดยไดโผลพนน้ําครั้งแรกใน
ป พ.ศ. 2510 ซ่ึงในชวงเวลานั้นไมมีสิ่งมีชีวิตใดอาศัยมากอน หลังจากน้ันไดมีการสํารวจจาก
นักวิทยาศาสตรในหลายปใหหลังพบวาเริ่มมีพืชอาศัยอยูหลายชนิด
ขอความตอไปน้ีถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
36.1 สถานการณ 1 เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ ใช/ ไมใช
36.2 สถานการณ 2 ใชเวลานานจึงจะเกิดเปนสังคมสมบูรณ ใช/ ไมใช
36.3 ทั้งสถานการณ 1 และสถานการณ 2 จัดเปนการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบเดียวกันกับ
บริเวณปาซึ่งเคยถูกรุกล้ำเพื่อทำการเกษตรในประเทศเม็กซิโก
ใช/ ไมใช
37. พิจารณาสูตรโครงสรางของกรดไขมัน 2 ชนิดตอไปนี้
ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
38. จากรูปแสดงแบบจําลองที่ทําจากไม (A และ B) และเสนยาง (R1 และ R2) เพื่อแสดงการเคลื่อนที่ของกระดูก
ซี่โครงในการหายใจปกติของมนุษย เมื่อเสนยาง R1 หดตัว พบวาไมชิ้น B เลื่อนขึ้น
กำหนดให A แทนกระดูกสันหลัง และ B แทนกระดูกอก
ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
37.1 น้ำมันพืชมักจะมีกรดไขมัน B อยูปริมาณสูง ใช/ ไมใช
37.2 ในไขมันสัตวมักจะพบกรดไขมัน A สูงกวากรดไขมัน B ใช/ ไมใช
37.3 สูตรโมเลกุลของกรดไขมัน B คือ C17H35COOH ใช/ ไมใช
ขอความ ใช หรือ ไมใช
38.1 เสนยาง R1 แทนกลามเนื้อระหวางกระดูกซี่โครงแถบใน ใช/ ไมใช
38.2 เสนยาง R2 แทนกลามเนื้อระหวางกระดูกซี่โครงแถบนอก ใช/ ไมใช
38.3 การหดตัวของเสนยาง R1 เทียบไดกับการทําใหเกิดการหายใจเขา ใช/ ไมใช
39. จากรูปการลําเลียงน้ําจากดินเขาสูเซลลขนราก และไปยังไซเล็ม
ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
40. จากภาพแสดงพลาสมิดที่มียีนตานยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน (ampR) และยีนตานยาปฏิชีวนะเตตราไซคลิน (tetR) โดย
ท่ีภายในยีน ampR มีตําแหนงตัดจําเพาะของเอนไซม PstI และภายในยีน tetR มีตําแหนงตัดจําเพาะของเอนไซม
BamHI ถามีชิ้นดีเอ็นเอแทรกภายในยีนตานยาปฏิชีวนะใด ๆ ตรงตําแหนงที่เอนไซมตัด จะทําใหยีนนั้นไมทํางาน
ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม
ขอความ ใช หรือ ไมใช
39.1 การลําเลียงน้ําแบบ B เรียกวา แบบซิมพลาสต เปนการลําเลียงน้ําจากเซลลหน่ึงไปสู
อีกเซลลหน่ึงผานมิดเดิลลาเมลลาเขาสูเซลลช้ันในจนถึงไซเล็ม
ใช/ ไมใช
39.2 การลําเลียงน้ําแบบ C เรียกวา แบบอโพพลาสต เปนการลําเลียงน้ําไปตามผนังเซลล ใช/ ไมใช
39.3 โมเลกุลน้ําที่เขาสูรากดวยการลําเลียงน้ําแบบ D จะตองเปลี่ยนมาเคล่ือนที่ผาน
เยื่อหุมเซลลเพื่อเขาสูเซลลกอนที่จะผานเอนโดเดอรมิสเขาสูไซเล็ม
ใช/ ไมใช
ขอความ ใช หรือ ไมใช
40.1 ถาตัดพลาสมิดดวยเอนไซม HaeIII และ PstI พรอมกัน จะไดดีเอ็นเอ 2 ชิ้น ใช/ ไมใช
40.2 ถาตัดพลาสมิดดวยเอนไซม PstI แลวใสดีเอ็นเอที่ตัดดวยเอนไซมชนิดเดียวกัน
แบคทีเรียที่ไดรับพลาสมิดนี้จะเจริญไดในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใสยาปฏิชีวนะเตตราไซคลิน
ใช/ ไมใช
40.3 ถาตัดพลาสมิดดวยเอนไซม HaeIII แลวใสดีเอ็นเอที่ตัดดวยเอนไซมชนิดเดียวกัน
แบคทีเรียที่ไดรับพลาสมิดนี้จะเจริญไมไดในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใสยาปฏิชีวนะแอมพิเซลลิน
ใช/ ไมใช

More Related Content

Similar to Mock Biology By พี่ว่าพี่อยากสอน - ข้อสอบ.pdf

005 q sci o-net
005 q sci o-net005 q sci o-net
005 q sci o-net
wikanet
 
005 q sci o-net
005 q sci o-net005 q sci o-net
005 q sci o-net
wikanet
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
eakaratkk
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Eakarat Sumpavaman
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Eakarat Sumpavaman
 
ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48
Unity' Aing
 
06 09-2012-631418014
06 09-2012-63141801406 09-2012-631418014
06 09-2012-631418014
naoon
 
06 09-2012-631418014
06 09-2012-63141801406 09-2012-631418014
06 09-2012-631418014
naoon
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
dnavaroj
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
Unity' Aing
 

Similar to Mock Biology By พี่ว่าพี่อยากสอน - ข้อสอบ.pdf (20)

Q sci o net
Q sci o netQ sci o net
Q sci o net
 
005 q sci o-net
005 q sci o-net005 q sci o-net
005 q sci o-net
 
005 q sci o-net
005 q sci o-net005 q sci o-net
005 q sci o-net
 
Biology m4
Biology m4Biology m4
Biology m4
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
ปะการัง (IS-2)
ปะการัง (IS-2)ปะการัง (IS-2)
ปะการัง (IS-2)
 
Onet science
Onet scienceOnet science
Onet science
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48ชีวะ Ent48
ชีวะ Ent48
 
06 09-2012-631418014
06 09-2012-63141801406 09-2012-631418014
06 09-2012-631418014
 
06 09-2012-631418014
06 09-2012-63141801406 09-2012-631418014
06 09-2012-631418014
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
แบบทดสอบตอบสนองพืช
แบบทดสอบตอบสนองพืชแบบทดสอบตอบสนองพืช
แบบทดสอบตอบสนองพืช
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 

Mock Biology By พี่ว่าพี่อยากสอน - ข้อสอบ.pdf

  • 1. MOCK BIO BY พี่วาพี่อยากสอน ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก เลือก 1 คำตอบที่ถูกตองที่สุด จำนวน 35 ขอ ขอละ 2.4 คะแนน รวม 84 คะแนน 1. ในพื้นที่แหงหนึ่งเหยี่ยวคางคาวเปนผูลาที่กินคางคาวเล็บกุดเปนอาหาร สวนคางคาวเล็บกุดเปนสัตวที่กินน้ำหวาน จากเกสรดอกทุเรียน นอกจากนี้คางคาวเล็บกุดยังเปนพาหะถายเรณู (pollinator) หลักใหแกตนทุเรียน จากขอมูล พิจารณาขอความตอไปนี้ A. ผูบริโภคลำดับที่ 1 คือ ทุเรียน ผูบริโภคลำดับที่ 2 คือ คางคาวเล็บกุด และผูบริโภคลำดับสุดทายคือ เหยี่ยวคางคาว B. โซอาหารของสิ่งมีชีวิต 3 ชนิดนี้ คือ ทุเรียน —> คางคาวเล็บกุด —> เหยี่ยวคางคาว C. ถาคางคาวเล็บกุดถูกลาเปนอาหารโดยมนุษยมากขึ้น ในระยะยาวจะสงผลทำใหประชากรทุเรียนเพิ่มขึ้น ขอใดกลาวถูกตอง 1. B 2. C 3. A และ B 4. B และ C 5. A B และ C 2. นักวิจัยไดไปสำรวจพื้นที่แหงหนึ่ง พบวาพื้นที่มีตนไมขึ้นหนาแนน ประกอบดวยไมพื้นลาง เชน เฟรน มอส หวาย และพบไมตนขนาดใหญ เชน ยางนา ตะเคียน พืชเดนเปนไมตนใบกวางไมผลัดใบขึ้นปกคลุมหนาแนน พบนกและ สัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนมอาศัยอยูหลายชนิด และมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายเดือนแสดงดังตาราง เดือน ปริมาณหยาดน้ำฟาเฉลี่ย (เซนติเมตร) มกราคม 27 กุมภาพันธ 16 มีนาคม 47 เมษายน 9 พฤษภาคม 14 มิถุนายน 16 กรกฎาคม 30 สิงหาคม 32 กันยายน 12 ตุลาคม 37 พฤศจิกายน 35 ธันวาคม 14
  • 2. กำหนดให ปริมาณหยาดน้ำฟาเฉลี่ยของแตละไบโอมเปนดังตาราง จากขอมูล นักเรียนคิดวาพื้นที่นี้อยูในไบโอมใด 1. ทุนดรา 2. ทุงหญาเขตอบอุน 3. ปาผลัดใบเขตอบอุน 4. ทะเลทราย 5. ปาเขตรอน ไบโอม ปริมาณหยาดน้ำฟาเฉลี่ยตอป (เซนติเมตร) ทุนดรา 20-60 ปาสน 30-70 ทุงหญาเขตอบอุน 30-100 ซาปารรัล 30-50 ปาผลัดใบเขตอบอุน 70-200 ทะเลทราย < 30 สะวันนา 30-50 ปาเขตรอน 200-400
  • 3. 3. นักวิทยาศาสตรศึกษาประชากรของทากบก (Geomalacus maculosus) ซึ่งเปนทากบกหายากของทวีปยุโรป พบในสวนสนซึ่งมีตนสนขนาดใหญขึ้นอยูอยางหนาแนน และพื้นที่เปดโลงซึ่งมีไมพุมและหญาจำนวนมาก โดย วางแผนในการเก็บขอมูลประชากรของทากบกดวยวิธีการทำเครื่องหมายและจับซ้ำ โดยการจับทากบกมาทำ เครื่องหมายดวยการแตมสีกอนปลอย ไดผลดังตาราง จากขอมูล พิจารณาขอความตอไปนี้ A. ขนาดประชากรทากบกในสวนสน เทากับ B. ความหนาแนนประชากรทากบกในสวนสน เทากับ C. ความหนาแนนประชากรทากบกในพื้นที่เปดโลง เทากับ ขอใดกลาวถูกตอง 1. A 2. C 3. A และ B 4. A และ C 5. B และ C 4. ชาวบานในหมูบานแหงหนึ่งสังเกตวาโรงงานอุตสาหกรรมในหมูบานทำใหทำใหคุณภาพน้ำในบึงทั้ง 4 แหลงใน หมูบานลดลง จึงไดรองเรียนใหเจาหนาที่มาตรวจสอบ ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ำ ไดผลตาราง จากผลการวิเคราะหคุณภาพแหลงน้ำ ถานักเรียนอาศัยอยูในหมูบานนี้ จะแนะนำใหคนในหมูบานนำน้ำจากบึง แหลงใดมาใช 1. บึงแหลงที่ 1 และ 3 2. บึงแหลงที่ 1 และ 4 3. บึงแหลงที่ 2 และ 3 4. บึงแหลงที่ 2 และ 4 5. บึงแหลงที่ 3 และ 4 บริเวณ ขนาดพื้นที่ (ตารางเมตร) จับครั้งที่ 1 จับครั้งที่ 2 จำนวนทากบกที่มี เครื่องหมาย (ตัว) จำนวนทากบกที่ไมมี เครื่องหมาย (ตัว) สวนสน a b c d พื้นที่เปดโลง w x y z b(c + d ) a a c b(c + d ) x (y + z) w y ผลการวิเคราะห บึงแหลงที่ 1 บึงแหลงที่ 2 บึงแหลงที่ 3 บึงแหลงที่ 4 pH 6.0 6.5 7.0 7.5 อุณหภูมิ (°C) 26 27 27 26 คา BOD (mg/L) 2.0 5.0 3.0 8.0 คา DO (mg/L) 6.0 2.5 5.0 2.0
  • 4. 5. A B C และ D เปนสัตว 4 สปชีส โดยขอมูลทางอนุกรรมวิธานของสัตว 4 สปชีส แสดงดังตารางตอไปนี้ กำหนดให เครื่องหมาย ? แทนขอมูลที่ไมทราบ จากขอมูล พิจารณาขอความตอไปนี้ A. สปชีส A เทานั้นที่อยูในไฟลัม Chordata B. สปชีส A C และ D อยูในแฟมิลีเดียวกัน C. สปชีส A และ D มีความสัมพันธใกลชิดทางวิวัฒนาการมากที่สุด ขอใดกลาวถูกตอง 1. A 2. C 3. A และ B 4. B และ C 5. A B และ C สปชีส A สปชีส B สปชีส C สปชีส D ไฟลัม Chordata ? ? ? คลาส Mammalia ? ? ? ออรเดอร Carnivora Carnivora ? ? แฟมิลี Felidae ? Felidae ? จีนัส Felis ? ? Felis สปชีส Felis catus ? ? ?
  • 5. 6. ไดโคโทมัสคียที่ใชระบุกลุมของสัตวในกลุมคอรเดตเปนดังนี้ 1ก ไมมีขากรรไกร A 1ข มีขากรรไกร ดูขอ 2 2ก หายใจดวยเหงือกตลอดชีวิต ดูขอ 3 2ข หายใจดวยปอดในตัวเต็มวัย ดูขอ 4 3ก มีกระดูกออน B 3ข มีกระดูกแข็ง C 4ก ปอดยังไมเจริญดี ตัวออนหายใจดวยเหงือก D 4ข ปอดเจริญดี ดูขอ 5 5ก ไขมีเปลือกหุม ตัวออนเจริญนอกตัวแม ดูขอ 6 5ข ไขไมมีเปลือกหุม ตัวออนเจริญในตัวแม E 6ก ผิวหนังมีเกล็ด F 6ข ผิวหนังไมมีเกล็ด G จากไดโคโทมัสคีย ขอใดกลาวถูกตอง A B C D E F G 1. ปลาแฮกฟช ปลาฉลาม ปลาการตูน เขียดงู ลิง เตา นกเพนกวิน 2. ปลาแฮกฟช ปลาการตูน ปลาฉลาม เขียดงู ลิง เตา นกเพนกวิน 3. ปลาแฮกฟช ปลาฉลาม ปลาการตูน เตา ลิง เขียดงู นกเพนกวิน 4. ปลาแฮกฟช ปลาฉลาม ปลาการตูน เตา นกเพนกวิน เขียดงู ลิง 5. ปลาแฮกฟช ปลาการตูน ปลาฉลาม เขียดงู นกเพนกวิน เตา ลิง
  • 6. 7. น้ำตาล 5 ชนิด คือ A B C D และ E ถูกยอยใหเปนมอโนแซ็กคาไรด เมื่อนำผลิตภัณฑที่ไดมาแยกดวยเทคนิค paper chromatography ไดผลการทดลอง ดังรูป กำหนดใหจุด A คือ ผลจากการยอยแล็กโทส ขอใดระบุชนิดของน้ำตาลในแตละตัวอักษรไดถูกตอง B C D E 1. กาแล็กโทส มอลโทส ซูโครส ฟรักโทส 2. กาแล็กโทส ซูโครส มอลโทส ฟรักโทส 3. ฟรักโทส มอลโทส ซูโครส กาแล็กโทส 4. ฟรักโทส ซูโครส มอลโทส กาแล็กโทส 5. ฟรักโทส กลูโคส มอลโทส กาแล็กโทส
  • 7. 8. สมมติใหวิถีเมแทบอลิซึมหนึ่งมี 3 ขั้นตอน โดยมีเอนไซม E1 E2 และ E3 เกี่ยวของในวิถีเมแทบอลิซึมนี้ มีสาร A เปนสารตั้งตน มีสาร B และ C เกิดขึ้นระหวางวิถีเมแทบอลิซึม และมีสาร D เปนสารผลิตภัณฑสุดทาย เมื่อทำการทดลองเพื่อหาลำดับของปฏิกิริยาตาง ๆ ในวิถีเมแทบอลิซึมนี้ ไดเติมตัวยับยั้งเอนไซมแตละชนิด ไดผล การทดลองดังแสดงในกราฟดานลางนี้ ลำดับของการเกิดสารในปฏิกิริยาเปนดังนี้ V X Z A —> W —> Y —> D ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. W คือ สาร C และ Y คือ สาร B 2. V คือ เอนไซม E3 X คือ เอนไซม E2 และ Z คือ เอนไซม E1 3. หลังจากเอนไซม E3 ทำใหสาร A เปลี่ยนไปเปนสาร C จะถูกสลายทิ้งทันที 4. ถามีสารหนึ่งที่มีลักษณะคลายกับสาร C เพิ่มขึ้น จะพบวาปริมาณของสาร D ลดลง 5. ถาตัวยับยั้งเอนไซม E3 เปนตัวยับยั้งแบบแขงขัน เมื่อเพิ่มปริมาณของสาร A ซึ่งเปนสารตั้งตนในวิถีนี้ จะ พบวาปริมาณของสาร D เพิ่มขึ้น 9. ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. ถาวัตถุมีความยาว 4 ไมโครเมตร เมื่อนำมาศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนจะมีความยาวประมาณ 4 มิลลิเมตร กลองนี้มีกำลังขยาย 1,000 เทา 2. เมื่อนำสาหรายหางกระรอกไปศึกษาดวยกลองจุลทรรศนที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางของจอภาพประมาณ 1,600 ไมโครเมตร พบเซลลสาหรายหางกระรอกเรียงตอกันตามยาว 8 เซลล ความยาวของ เซลลสาหรายหางกระรอก 1 เซลล จะเทากับ 0.2 มิลลิเมตร 3. ถาพารามีเซียมมีขนาดยาว 100 ไมโครเมตร เมื่อนำไปศึกษาดวยกลองจุลทรรศนที่มีเลนสใกลตา กำลังขยาย 10x และเลนสใกลวัตถุกำลังขยาย 10x จะเห็นภาพพารามีเซียมมีความยาวเปน 100 เทา ของขนาดจริง และภาพของพารามีเซียมมีความยาวเทากับ 1 เซนติเมตร 4. กลองจุลทรรศนที่มีกำลังขยาย 40 เทา เมื่อใชไมบรรทัดใสวัดเสนผานศูนยกลางของจอภาพได 3.75 มิลลิเมตร เมื่อกำลังขยายของกลองเปลี่ยนเปน 100 เทา เสนผานศูนยกลางของจอภาพเทากับ 1,500 ไมโครเมตร และเมื่อกำลังขยายของกลองเปลี่ยนเปน 400 เทา เสนผานศูนยกลางของจอภาพเทากับ 375 ไมโครเมตร 5. จากการสังเกตไมบรรทัดภายใตกลองจุลทรรศนใชแสงเชิงประกอบที่มีกำลังขยาย 100 เทา พบวา เสนผานศูนยกลางของจอภาพยาว 1.6 มิลลิเมตร เมื่อนำพารามีเซียมมาศึกษาภายใตกลองจุลทรรศนที่มี กำลังขยาย 400 เทา พบวา พารามีเซียมยาว 1/4 ของเสนผานศูนยกลางของจอภาพ ดังนั้น พารามีเซียมมีความยาว 1 มิลลิเมตร
  • 8. 10. จากตารางรอยละของพื้นที่ผิวของเยื่อหุมในสวนตาง ๆ ของเซลล 2 เซลล ไดแก เซลล A และเซลล B ขอใดกลาวถูกตอง 1. เซลล A มีการสรางสารกลุมลิพิดมากกวาเซลล B 2. เซลล A มีการสรางสารกลุมโปรตีนนอยกวาเซลล B 3. เซลล A มีความตองการพลังงานนอยกวาเซลล B 4. เซลล A ควรเปนเซลลตับ เพราะมีเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระมากเพื่อกำจัดสารพิษ 5. เซลล B ควรเปนเซลลตับออน เพราะมีเอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบมากเพื่อสรางเอนไซม 11. นักเรียนคนหนึ่งทำการทดลองโดยนำเซลลเม็ดเลือดแดงมาใสลงในสารละลาย โดยในแตละหลอดทดลองมีความ เขมขนไมเทากัน 3 หลอด ไดผลดังภาพ ขอใดกลาวถูกตอง 1. สารละลาย A เปนสารละลายที่มีความเขมขนต่ำกวาความเขมขนภายในเซลล 2. ในหลอดทดลองที่บรรจุสารละลาย B น้ำจะไมมีการเคลื่อนที่เขาออกเซลล 3. สารละลาย C เปนสารละลายที่มีความเขมขนสูงกวาความเขมขนภายในเซลล 4. หลอดทดลองที่บรรจุสารละลาย C จะเห็นเปนสีแดงเขมที่สุด 5. สารละลาย A มีโอกาสเปน 0.45% NaCl เยื่อหุมในสวนตาง ๆ ของเซลล รอยละของพื้นที่ผิว เซลล A เซลล B เยื่อหุมเซลล 5.0 2.0 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวขรุขระ 60.0 35.0 เอนโดพลาสมิกเรติคูลัมแบบผิวเรียบ < 1.0 16.0 กอลจิคอมเพล็กซ 10.0 7.0 เยื่อหุมชั้นนอกของไมโทคอนเดรีย 4.0 7.0 เยื่อหุมชั้นในของไมโทคอนเดรีย 17.0 32.0 นิวเคลียส 0.7 0.2
  • 9. 12. การผลิตไวนผลไมในประเทศไทยนิยมนำยีสต Saccharomyces cerevisiae มาใชเปนหัวเชื้อในกระบวนการหมัก เพื่อใหไดแอลกอฮอล กระบวนการหมักไวนจะทำในภาชนะปดสนิทเพื่อไมใหอากาศจากภายนอกเขาไปภายในระบบ และจะหมักไวจนกวาน้ำตาลในผลไมถูกใชไปจนเกือบหมดและไดปริมาณแอลกอฮอลประมาณ 10-14 % โดย ปริมาตร จึงจะถือวาเสร็จสิ้นกระบวนการหมักไวน จากตารางการเปลี่ยนแปลงองคประกอบตาง ๆ ระหวางการหมักไวนผลไมเปนระยะเวลา 14 วัน กำหนดให ตัวเลขที่มากในหนวย องศาบริกซ แสดงวามีน้ำตาลมาก จากขอมูล ถานักเรียนตองการผลิตไวนผลไมเพื่อนำไปขาย นักเรียนควรหมักไวนไมเกินกี่วันจึงจะเหมาะสมที่สุด 1. 2 วัน เพราะเปนชวงที่มียีสตนอย ทำใหไมเปนอันตรายตอผูบริโภค 2. 4 วัน เพราะเปนชวงที่มีปริมาณแอลกอฮอลเพิ่มขึ้นอยางกาวกระโดด 3. 8 วัน เพราะเปนชวงที่มีปริมาณยีสตมากที่สุด 4. 10 วัน เพราะเปนชวงที่มีปริมาณแอลกอฮอลมากที่สุดในเวลาที่นอยที่สุด 5. 14 วัน เพราะเปนชวงที่ปริมาณน้ำตาลเหลือนอยที่สุด เวลาการหมัก (วัน) ปริมาณน้ำตาล (องศาบริกซ) ปริมาณยีสต (x107 เซลลตอ mL) ปริมาณแอลกอฮอล (% โดยปริมาตร) 0 22.5 0.20 0 2 20.0 0.88 1.6 4 14.5 5.60 11.6 6 10.7 9.20 12.9 8 8.0 11.30 13.7 10 8.0 9.65 13.9 12 7.8 8.80 13.9 14 7.8 8.85 13.9
  • 10. 13. Cytochalasin เปนสารสกัดจากเชื้อราชนิดหนึ่ง มีผลทำใหเสนใยแอกทินไมสามารถรวมตัวเปนพอลิเมอรได จากกราฟแสดงปริมาณ DNA ของเซลลชนิดหนึ่งในวัฏจักรเซลล ขั้นตอนชวงใดของการแบงเซลลจะเกิดความผิดปกติขึ้น 1. ชวง B 2. ชวง C 3. ชวง D 4. ชวง A และ B 5. ชวง B และ D 14. นาย ก. หายออกจากบานไปตอนหลังรับประทานอาหารกลางวันของวันที่ 1 จนกระทั่งเชาวันที่ 3 มีผูพบศพใน หองเย็นสำหรับแชอาหารทะเล ซึ่งเมื่อดูจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของศพไมสามารถบอกไดวาเสียชีวิตเมื่อใด เนื่องจากศพถูกแชไวในหองเย็น แตจากการผาศพพบชิ้นเนื้ออยูในกระเพาะอาหารหลายชิ้น ซึ่งเปนอาหารชนิดเดียว กับที่นาย ก. รับประทานตอนกลางวัน โดยภรรยาของ นาย ก. แจงวานาย ก. รับประทานอาหารกลางวันเสร็จ เมื่อเวลาประมาณ 12.00 น. ระยะเวลาที่อาหารอยูในสวนตาง ๆ ของทางเดินอาหารเปนดังตาราง นักเรียนคิดวานาย ก. เสียชีวิตเมื่อใด 1. 13.00 น. ของวันที่ 1 2. 16.00 น. ของวันที่ 1 3. 17.00 น. ของวันที่ 1 4. 00.00 น. ของวันที่ 2 5. 05.00 น. ของวันที่ 2 สวนของทางเดินอาหาร ระยะเวลาที่อาหารอยู ปาก 1 นาที กระเพาะอาหารสวนบน 30-60 นาที กระเพาะอาหารสวนลาง 1-3 ชั่วโมง ลำไสเล็กสวนดูโอดีนัม 30-60 นาที
  • 11. 15. เสนผานศูนยกลางของหลอดเลือดเปนดังตาราง จากตาราง พิจารณาขอความตอไปนี้ A. A คือ หลอดเลือดเวน B. B คือ หลอดเลือดอารเทอรี C. C คือ หลอดเลือดฝอย ขอใดกลาวถูกตอง 1. B 2. C 3. A และ B 4. A และ C 5. A B และ C หลอดเลือด คาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลาง ภายนอก (µm) คาเฉลี่ยของเสนผานศูนยกลาง ภายใน (µm) A 3,500 3,000 B 3,000 1,000 C 10 8
  • 13. 5. 17. ปริมาตรของของเหลวและความเขมขนของสารตาง ๆ ที่พบในพลาสมา ของเหลวที่ผานการกรองและปสสาวะเปน ดังตาราง ครีเอทินีน คือ สารที่เกิดจากเมแทบอลิซึมของเซลลกลามเนื้อโครงราง ซึ่งบงบอกถึงประสิทธิภาพการทำงานของไต จากตาราง พิจารณาขอความตอไปนี้ A. ถาผนังของโกลเมอรูลัสและโบวแมนสแคปซูลถูกทำลายหรือฉีกขาดจะพบกลูโคสในปสสาวะ B. ปริมาณครีเอทินีนที่พบในปสสาวะมีมากกวาที่พบในของเหลวที่ผานการกรอง C. รางกายมีการดูดกลับยูเรียวันละ 19.5 กรัม และดูดกลับกรดยูริกวันละ 47.7 กรัม ขอใดกลาวถูกตอง 1. A 2. B 3. A และ B 4. B และ C 5. A B และ C สาร พลาสมา ของเหลวที่ผานการกรอง ปสสาวะ ของเหลว (L) 180 180 1.5 สารประกอบคารบอน (mg/100mL) โปรตีน กลูโคส ยูเรีย กรดยูริก ครีเอทินีน 3,900-5,000 100 26 3 1.1 6-11 100 26 3 1.1 0 0 1,820 42 196 ไอออน (mmol/L) โซเดียมไอออน คลอไรดไอออน ไฮโดรเจนคารบอเนตไอออน โพแทสเซียมไอออน 142 103 28 5 142 103 28 5 128 134 14 60
  • 14. 18. ผลการศึกษาความแตกตางระหวางขณะพักและหลังออกกำลังกายอยางหนักเปนดังตาราง จากตาราง พิจารณาขอความตอไปนี้ A. A < B B. C < D C. E > F ขอใดกลาวถูกตอง 1. A 2. B 3. A และ B 4. B และ C 5. A B และ C 19. Botox เปนโปรตีนชนิดหนึ่งที่สรางจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium botulinum สารชนิดนี้ประกอบขึ้นจากโปรตีน 2 สาย คือสายหนัก และสายเบา เชื่อมกันดวยพันธะไดซัลไฟด สายหนักทำลายโปรตีนที่ปลายแอกซอนของเซลล ประสาท สวนสายเบาทำลายโปรตีนบนเวสิเคิลที่บรรจุสารสื่อประสาท ทำใหไมสามารถเกิดการเอกโซไซโทซิสได จากขอมูล เมื่อรางกายไดรับ Botox จะสงผลอยางไร 1. เซลลประสาทไมเกิดกระบวนการดีโพลาไรเซชัน 2. เยื่อหุมเซลลประสาทฉีกขาด 3. กลามเนื้อหดเกร็ง 4. กลามเนื้อหดตัวไมได 5. เกิดการไซแนปสไฟฟา หัวขอที่ศึกษา ขณะพัก หลังออกกำลังกายอยางหนัก อัตราการหายใจ A B ความดันยอยของ O2 ในหลอดเลือดเวน C D ความดันยอยของ CO2 ในหลอดเลือดเวน E F
  • 15. 20. จากตารางแสดงสมบัติของเสนใยประสาท กำหนดให เสนใยประสาท A และ B มีความยาวเทากัน พิจารณาขอความตอไปนี้ A. a คือ มี และ b คือ ไมมี B. c > d C. e < f D. g > h E. i > j ขอใดกลาวถูกตอง 1. A และ B 2. A และ D 3. B และ C 4. A B และ D 5. A B และ E สมบัติ เสนใยประสาท A เสนใยประสาท B ความเร็วของกระแสประสาท เร็วกวา ชากวา เยื่อไมอีลินหุมแอกซอน a b จำนวนเยื่อไมอีลิน c d ระยะหางระหวาง node of Ranvier e f เสนผานศูนยกลางแอกซอน g h จำนวนครั้งในการไซแนปส i j
  • 16. 21. จากไวรัลฮิตสงทายป 2565 ที่ Krit Tone นักลงเสียงชื่อดังชวนชาว TikTok ลองเปนนักลงเสียงโฆษณา โดยใช บทจริงที่เขาเคยลงเสียง “ดุดันไมเกรงใจใคร Ford Ranger Raptor เจเนอเรขันใหม” ใหออกมาในแบบของตัว เอง ไมมีผิดไมมีถูก ดังภาพ จากภาพ พิจารณาขอความตอไปนี้ A. กลามเนื้อ A และกลามเนื้อ B ทำงานเปนคูในสภาวะตรงกันขาม B. กลามเนื้อ A คือ กลามเนื้อไบเซพที่อยูในสภาวะคลายตัว C. กลามเนื้อ B คือ กลามเนื้อไตรเซพที่อยูในสภาวะหดตัว ขอใดกลาวถูกตอง 1. A 2. B 3. A และ B 4. B และ C 5. A B และ C
  • 17. 22. แบบแผนการเติบโตของสิ่งมีชีวิตเปนดังกราฟ จากกราฟ พิจารณาขอความตอไปนี้ A. กราฟ A เปนแบบแผนการเติบโตของแมลงที่มีเมทามอรโฟซิส B. กราฟ B เปนแบบแผนการเติบโตของสัตวทั่วไป C. สาเหตุที่กราฟ A มีลักษณะคลายขั้นบันได คือ กอนการลอกคราบ สัตวจะหยุดกินอาหาร ทำใหการ เติบโตหยุดชะงัก และหลังการลอกคราบจะกินอาหาร ทำใหเติบโตขึ้น ขอใดกลาวถูกตอง 1. C 2. A และ B 3. B และ C 4. A และ C 5. A B และ C
  • 18. 23. ฮอรโมนชนิดหนึ่งมีโครงสรางดังภาพ จากภาพ พิจารณาขอความตอไปนี้ A. ฮอรโมนชนิดนี้เปนสารประเภทเพปไทด B. ฮอรโมนชนิดนี้จะจับกับตัวรับที่เยื่อหุมเซลล C. ฮอรโมนชนิดนี้สามารถนำเขาสูรางกายดวยวิธีการรับประทานหรือฉีดก็ได ขอใดกลาวถูกตอง 1. A 2. B 3. A และ B 4. A และ C 5. A B และ C
  • 19. 24. ปายุทธและปาวิตรถูกตรวจพบวาเปนโรคเบาหวาน หลังจากพบแพทย แพทยไดนัดใหปายุทธมาฉีดอินซูลินทุกวัน เพื่อควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือด รวมทั้งควบคุมอาหารและออกกำลังกายเพิ่มขึ้น สวนปาวิตร แพทยแนะนำให ควบคุมอาหารและออกกำลังกายเพิ่มขึ้น แตไมฉีดอินซูลิน ทำใหปาวิตรรูสึกไมพอใจที่ตนไมไดรับการรักษาโดยการ ฉีดอินซูลินเหมือนปายุทธ จากขอมูล จงพิจารณาขอความตอไปนี้ A. ปายุทธปวยเปนเบาหวานชนิดที่ตับไมสามารถสรางอินซูลินได B. ปาวิตรปวยเปนเบาหวานชนิดที่ตับสามารถสรางอินซูลินไดปกติ แตตัวรับอินซูลินผิดปกติ C. การทำงานของอินซูลิน คือ กระตุนใหเซลลตับและเซลลกลามเนื้อนำกลูโคสเขาไปในเซลลมากขึ้น และ เปลี่ยนกลูโคสใหเปนไกลโคเจนเพื่อสะสมไว ขอใดกลาวถูกตอง 1. B 2. C 3. A และ B 4. B และ C 5. A B และ C 25. ในป พ.ศ. 2560 ฟรานเซสกา โซลดาติ (Francesca Soldati) และคณะ ไดทดสอบพฤติกรรมการเลือกกินอาหาร ของเตาตีนแดง (Chelonoidis carbonaria) ทีมวิจัยไดฝกเตาสปชีสนี้โดยใชอาหาร 2 ชนิดที่แตกตางกันในเรื่อง คุณภาพและปริมาณซึ่งอาหารชนิดที่คุณภาพสูงกวาจะใหพลังงานสูงกวา โดยใชแผนพลาสติกสีตางกัน 2 สีเปน ตัวแทนความแตกตางของอาหาร ทำการฝกเตาใหเลือกแผนพลาสติก เมื่อเตาคลานเขาหาพลาสติกสีใด เตาจะไดรับ อาหารตามขอมูลสีของแผนพลาสติก เมื่อผานการฝก 90 ครั้ง พบวาเตาจะคลานเขาหาแผนพลาสติกสีที่เชื่อมโยง กับอาหารที่มีคุณภาพสูงและมีปริมาณมากเปนสวนใหญ แลวทำการทดลองซ้ำอีกครั้ง หลังจากผานไป 18 เดือน เตายังคงมีพฤติกรรมเลือกแผนพลาสติกสีที่เชื่อมโยงกับอาหารที่มีคุณภาพสูงและมีปริมาณมากอยูเชนเดิม แสดงให เห็นวาเตาสามารถจดจำสิ่งที่เรียนรูในระยะยาวได จากขอมูล การเลือกกินอาหารของเตาตีนแดงเปนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรูแบบใด 1. แฮบิชูเอชัน 2. การฝงใจ 3. การเชื่อมโยงแบบการมีเงื่อนไข 4. การเชื่อมโยงแบบแบบการลองผิดลองถูก 5. การใชเหตุผล
  • 20. 26. การปฏิสนธิของพืชดอกเปนการปฏิสนธิคู (double fertilization) ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ A. หลอดเรณูเขาไปในซินเนอรจิด สเปรมนิวเคลียสเขาไปในไซโทพลาซึมของซินเนอรจิด จากนั้นซินเนอรจิด จะสลาย B. หลอดเรณูงอกลงไปในกานเกสรเพศเมีย C. สเปรมนิวเคลียสปฏิสนธิกับเซลลไขไดเปนไซโกต สวนสเปรมนิวเคลียสปฏิสนธิกับโพลารนิวคลีไอไดเปน เอนโดสเปรมนิวเคลียส D. หลอดเรณูเขาไปในออวุลผานทางไมโครไพล ขอใดเรียงลำดับขั้นตอนการปฏิสนธิคูไดถูกตอง 1. B —> A —> D —> C 2. B —> D —> A —> C 3. B —> C —> D —> A 4. D —> B —> A —> C 5. D —> A —> C —> B 27. จากรูปเนื้อเยื่อพืชตัดตามขวาง แสดงโครงสรางภายในของใบพืชชนิดหนึ่ง จากภาพ หมายเลขใดคือโครงสรางที่มีหนาที่สำคัญในการสังเคราะหดวยแสง เปนชั้นที่มีชองอากาศขนาดใหญ จำนวนมากสำหรับเก็บอากาศ และโครงสรางจากหมายเลขดังกลาวคือโครงสรางอะไร 1. หมายเลข 1 — เอพิเดอรมิส 2. หมายเลข 2 — แพลิเซดมีโซฟลล 3. หมายเลข 3 — สปองจีมีโซฟลล 4. หมายเลข 6 — แพลิเซดมีโซฟลล 5. หมายเลข 8 — สปองจีมีโซฟลล
  • 21. 28. กําหนดสถานการณ 2 สถานการณตอไปนี้ สถานการณ 1 พืช X มีความเขมขนของ CO2 ในใบพืชต่ํากวาในบรรยากาศ สถานการณ 2 พืช Y มีอัตราการหายใจระดับเซลลสูงและมีอัตราการสังเคราะหดวยแสงต่ํา พิจารณาขอความตอไปนี้ A. ในพืช X CO2 จะแพรจากอากาศภายนอกเขาสูใบ B. ในพืช Y O2 จะแพรจากใบพืชออกสูอากาศภายนอก C. ความเขมขนของ CO2 ในใบพืช Y สูงกวาในบรรยากาศ ขอใดกลาวถูกตอง 1. A เทานั้น 2. B เทานั้น 3. A และ B 4. A และ C 5. B และ C 29. ขอใดจับคูธาตุอาหารที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืชกับขอความไดไมสัมพันธกัน 1. K – การควบคุมแรงดันเตงของเซลล 2. P – องคประกอบสําคัญของสารพลังงานสูง (ATP) และ คลอโรฟลล 3. N – องคประกอบของกรดแอมิโนทุกชนิด 4. Fe – องคประกอบของเอนไซมท่ีเก่ียวของกับการเคล่ือนยายอิเล็กตรอนในเซลล 5. Ca – องคประกอบของมิดเดิลลาเมลลา 30. นักเรียน 4 คน นําขอมูลเรื่องการถายทอดอิเล็กตรอนในพืชที่ไดสืบคนมาแลกเปลี่ยนกัน ดังนี้ นักเรียน A การถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรจะได NADPH ATP และ O2 นักเรียน B การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรเกี่ยวของกับระบบแสง I และ ระบบแสง II นักเรียน C การถายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเปนวัฏจักรจะเกิดเพียง ATP เทานั้น นักเรียน D การถายทอดอิเล็กตรอนแบบเปนวัฏจักรไมมีการแตกตัวของโมเลกุลน้ํา ขอมูลของนักเรียนคนใดผิดจากความจริง 1. นักเรียน B เทานั้น 2. นักเรียน A และ นักเรียน B 3. นักเรียน B และ นักเรียน C 4. นักเรียน A นักเรียน B และ นักเรียน C 5. นักเรียน B นักเรียน C และ นักเรียน D
  • 22. 31. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช นักวิทยาศาสตรไดกลาวถึงสัดสวนของออกซินและไซโทไคนินตอการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ของยาสูบไววา ถาสัดสวนของออกซินตอไซโทไคนิน • สูงจะชักนำใหเกิดราก • ปานกลางจะชักนำใหเกิดแคลลัส • ต่ำจะชักนำใหเกิดยอด ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของพืชและปริมาณฮอรโมนพืชที่มีอยูภายในเนื้อเยื่อพืช เมื่อนำชิ้นสวนของพืชชนิดหนึ่งมาเลี้ยง บนอาหารกึ่งแข็งที่เติมออกซินและไซโทไคนินความเขมขนตาง ๆ กัน ผลที่ไดเปนไปตามการทดลองของ นักวิทยาศาสตร โดยสัดสวนของออกซินตอไซโทไคนินของเนื้อเยื่อพืชที่สามารถชักนำใหเกิดแคลลัสได คือ ออกซิน 1.00 mg/mL ไซโทไคนิน 1.00 mg/mL หลังจากเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชชนิดนี้เปนเวลา 3 เดือน ไดผลดังตาราง พิจารณาขอความตอไปนี้ A. ชิ้นสวน A ไมมีการพัฒนา B. ชิ้นสวน B มียอดเกิดขึ้น C. ชิ้นสวน C มีรากเกิดขึ้น ขอใดกลาวถูกตอง 1. A 2. B 3. A และ B 4. B และ C 5. A B และ C 32. ถาสิ่งมีชีวิตสปชีสหนึ่งมีสารพันธุกรรมเปนดีเอ็นเอสายคู (double strand DNA) และตรวจสารพันธุกรรมตาง ๆ ในไมโทคอนเดรียพบปริมาณของเบส A เปนรอยละ 20 ของปริมาณเบสในดีเอ็นเอทั้งหมด จากขอความขางตน ขอใดกลาวถูกตอง 1. สิ่งมีชีวิตชนิดชนิดนี้จัดเปนสิ่งมีชีวิตกลุมโพรแคริโอต 2. กระบวนการถอดรหัสในสิ่งมีชีวิตชนิดนี้จะเกิดขึ้นในไซโทพลาสซึม 3. ปริมาณรอยละของเบส T ในสิ่งมีชีวิตชนิดนี้เทากับรอยละ 30 4. ในสิ่งมีชีวิตชนิดนี้มีปริมาณรอยละของเบสพิวรีนมากกวาปริมาณรอยละของเบสไพริมีดีน 5. ผลรวมปริมาณรอยละของเบส C กับ เบส G ในส่ิงมีชีวิตชนิดนี้เทากับรอยละ 60 สารสังเคราะหที่มีสมบัติคลายฮอรโมนพืช ความเขมขนของออกซิน (mg/mL) 0.00 1.00 ความเขมขนของไซโทไคนิน (mg/mL) 0.00 ชิ้นสวน A ชิ้นสวน B 1.00 ชิ้นสวน C ชิ้นสวนพืชมีแคลลัสเกิดขึ้น
  • 23. 33. กําหนดใหตารางรหัสพันธุกรรม เปนดังนี้ จากลําดับนิวคลีโอไทดของสายดีเอ็นเอแมแบบตอไปนี้ 5’ - TAAGTCTTGGCGTGGCGATATCCGCACATCG - 3’ ถาดีเอ็นเอเกิดมิวเทชันทําใหคูเบสที่ตําแหนงท่ี 23 (นับจากปลาย 5’) เปลี่ยนเปน T เม่ือเกิดการถอดรหัสและ แปลรหัส สายพอลิเพปไทดที่ไดจะเปนอยางไร 1. ไมมีการเปลี่ยนแปลง 2. สายพอลิเพปไทดมีขนาดสั้นลง 3. กรดแอมิโนเปลี่ยนไปเพียง 1 ตําแหนง 4. สายพอลิเพปไทดไมถูกสรางข้ึนเพราะไมมีการแปลรหัส 5. กรดแอมิโนตําแหนงที่ 3 เปลี่ยนจากไกลซีนเปนอารจีนีน
  • 24. 34. หมูเลือดระบบ ABO ในมนุษยควบคุมดวยยีนบนออโตโซม โรคตาบอดสีควบคุมดวยแอลลีลดอยบนโครโมโซมเพศ พอและแมมีเลือดหมู A และตาปกติทั้งคู มีลูกชายคนหนึ่งมีเลือดหมู O และตาบอดสี พอแมคูนี้มีโอกาสให กําเนิดลูกสาวมีเลือดหมู O และตาปกติในอัตราสวนเปนเทาใด 1. 1/2 2. 1/8 3. 3/8 4. 3/16 5. 5/16 35. ในประชากรหนึ่ง ถาพบวามีสัดสวนของผูที่เปนโรคธาลัสซีเมีย ซ่ึงถูกควบคุมดวยแอลลีลดอยบนออโตโซม (aa) เทากับ 10 ใน 25,000 คน กําหนดใหประชากรน้ีอยูในสมดุลฮารดี-ไวนเบิรก อยากทราบวาความถี่ของแอลลีลที่ ทําใหเปนโรคธาลัสซีเมียเปนเทาใด 1. 0.02 2. 0.20 3. 0.160 4. 0.625 5. 0.0004 ตอนที่ 2 เลือกตอบเชิงซอน จำนวน 5 ขอ ขอละ 3.2 คะแนน รวม 16 คะแนน • ตอบถูกทั้ง 3 ขอยอย ไดคะแนนเต็ม 3.2 คะแนน • ตอบถูก 2 ขอยอย ไดคะแนน 1.6 คะแนน • หากตอบถูกเพียง 1 ขอยอย จะไมไดคะแนน 36. กําหนดสถานการณ 2 สถานการณตอไปนี้ สถานการณ 1 ปาชายหาดตามชายฝงทะเลจังหวัดพังงาไดถูกสึนามิพัดทําลายไปในป พ.ศ. 2547 หลังจากผาน เหตุการณน้ีไป 2 ป เริ่มมีพืชโตเร็วขนาดเล็กและไมพื้นลางมาปกคลุมบริเวณนี้ สถานการณ 2 เกาะซึรทเทย (Surtsey) เปนเกาะที่เกิดขึ้นใหมของประเทศไอซแลนด โดยไดโผลพนน้ําครั้งแรกใน ป พ.ศ. 2510 ซ่ึงในชวงเวลานั้นไมมีสิ่งมีชีวิตใดอาศัยมากอน หลังจากน้ันไดมีการสํารวจจาก นักวิทยาศาสตรในหลายปใหหลังพบวาเริ่มมีพืชอาศัยอยูหลายชนิด ขอความตอไปน้ีถูกตองใชหรือไม ขอความ ใช หรือ ไมใช 36.1 สถานการณ 1 เกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ ใช/ ไมใช 36.2 สถานการณ 2 ใชเวลานานจึงจะเกิดเปนสังคมสมบูรณ ใช/ ไมใช 36.3 ทั้งสถานการณ 1 และสถานการณ 2 จัดเปนการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบเดียวกันกับ บริเวณปาซึ่งเคยถูกรุกล้ำเพื่อทำการเกษตรในประเทศเม็กซิโก ใช/ ไมใช
  • 25. 37. พิจารณาสูตรโครงสรางของกรดไขมัน 2 ชนิดตอไปนี้ ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม 38. จากรูปแสดงแบบจําลองที่ทําจากไม (A และ B) และเสนยาง (R1 และ R2) เพื่อแสดงการเคลื่อนที่ของกระดูก ซี่โครงในการหายใจปกติของมนุษย เมื่อเสนยาง R1 หดตัว พบวาไมชิ้น B เลื่อนขึ้น กำหนดให A แทนกระดูกสันหลัง และ B แทนกระดูกอก ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม ขอความ ใช หรือ ไมใช 37.1 น้ำมันพืชมักจะมีกรดไขมัน B อยูปริมาณสูง ใช/ ไมใช 37.2 ในไขมันสัตวมักจะพบกรดไขมัน A สูงกวากรดไขมัน B ใช/ ไมใช 37.3 สูตรโมเลกุลของกรดไขมัน B คือ C17H35COOH ใช/ ไมใช ขอความ ใช หรือ ไมใช 38.1 เสนยาง R1 แทนกลามเนื้อระหวางกระดูกซี่โครงแถบใน ใช/ ไมใช 38.2 เสนยาง R2 แทนกลามเนื้อระหวางกระดูกซี่โครงแถบนอก ใช/ ไมใช 38.3 การหดตัวของเสนยาง R1 เทียบไดกับการทําใหเกิดการหายใจเขา ใช/ ไมใช
  • 26. 39. จากรูปการลําเลียงน้ําจากดินเขาสูเซลลขนราก และไปยังไซเล็ม ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม 40. จากภาพแสดงพลาสมิดที่มียีนตานยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน (ampR) และยีนตานยาปฏิชีวนะเตตราไซคลิน (tetR) โดย ท่ีภายในยีน ampR มีตําแหนงตัดจําเพาะของเอนไซม PstI และภายในยีน tetR มีตําแหนงตัดจําเพาะของเอนไซม BamHI ถามีชิ้นดีเอ็นเอแทรกภายในยีนตานยาปฏิชีวนะใด ๆ ตรงตําแหนงที่เอนไซมตัด จะทําใหยีนนั้นไมทํางาน ขอความตอไปนี้ถูกตองใชหรือไม ขอความ ใช หรือ ไมใช 39.1 การลําเลียงน้ําแบบ B เรียกวา แบบซิมพลาสต เปนการลําเลียงน้ําจากเซลลหน่ึงไปสู อีกเซลลหน่ึงผานมิดเดิลลาเมลลาเขาสูเซลลช้ันในจนถึงไซเล็ม ใช/ ไมใช 39.2 การลําเลียงน้ําแบบ C เรียกวา แบบอโพพลาสต เปนการลําเลียงน้ําไปตามผนังเซลล ใช/ ไมใช 39.3 โมเลกุลน้ําที่เขาสูรากดวยการลําเลียงน้ําแบบ D จะตองเปลี่ยนมาเคล่ือนที่ผาน เยื่อหุมเซลลเพื่อเขาสูเซลลกอนที่จะผานเอนโดเดอรมิสเขาสูไซเล็ม ใช/ ไมใช ขอความ ใช หรือ ไมใช 40.1 ถาตัดพลาสมิดดวยเอนไซม HaeIII และ PstI พรอมกัน จะไดดีเอ็นเอ 2 ชิ้น ใช/ ไมใช 40.2 ถาตัดพลาสมิดดวยเอนไซม PstI แลวใสดีเอ็นเอที่ตัดดวยเอนไซมชนิดเดียวกัน แบคทีเรียที่ไดรับพลาสมิดนี้จะเจริญไดในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใสยาปฏิชีวนะเตตราไซคลิน ใช/ ไมใช 40.3 ถาตัดพลาสมิดดวยเอนไซม HaeIII แลวใสดีเอ็นเอที่ตัดดวยเอนไซมชนิดเดียวกัน แบคทีเรียที่ไดรับพลาสมิดนี้จะเจริญไมไดในอาหารเลี้ยงเชื้อที่ใสยาปฏิชีวนะแอมพิเซลลิน ใช/ ไมใช