SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
ผลกระทบการท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
วิชาผลกระทบการท่องเที่ยว (Tourism Impacts ) 1001411
เสนอ
อาจารย์ ดร. ภารดี ยโสศรีกุล
จัดทาโดย
นางสาว ณัฎฐนิช นะชัยสงค์ 55011010158
นางสาว ชุติกาญจน์ พรหมมา 55011010686
นางสาว เมวีญา เตชะพันธ์รัตนกุล 55011010761
นางสาว วิรัลพัชร กิติทัศศรีนายอด 55011010777
นางสาว สิตานัน พันทอง 55011010793
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าตั้งอยู่บนรอยต่อของสามจังหวัด คือ อ.ด่าน
ซ้าย จังหวัดเลย อ.นครไทย จังหวัดพิษณุโลก และ อ.หล่มสัก จังหวัด
เพชรบูรณ์ มีเนื้อที่ประมาณ 191,875 ไร่ ประกาศเป็ นอุทยานแห่งชาติ
เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2527 เป็ นพื้นที่ที่มีธรรมชาติแปลกและสวยงาม
ทั้งยังเป็ นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ เป็ นยุทธภูมิที่สาคัญ อันเนื่องจากความ
ขัดแย้งของลัทธิและแนวความคิดทางการเมือง อุทยานแห่งชาติภูหินร่อง
กล้าจึงเป็ นอุทยานแห่งชาติเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่รักษาไว้ซึ่ง
ประวัติศาสตร์ของการสู้รบ และความสวยงามทางธรรมชาติที่สมบูรณ์
ลักษณะภูมิอากาศภูหินร่องกล้ามีลักษณะภูมิอากาศคล้ายภูกระดึงและภู
หลวง เนื่องจากมีความสูงในระดับไล่เลี่ยกัน อากาศจะหนาวเย็นเกือบตลอด
ปี โดยเฉพาะในฤดูหนาว อุณหภูมิจะต่าประมาณ 4 องศาเซลเซียส ฤดูร้อน
อากาศจะเย็นสบาย ฝนตกชุกในฤดูฝน อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี ประมาณ
18-25 องศาเซลเซียส
หากย้อนอดีตไปใน ราวปี พ.ศ.2511-2525 เทือกเข้าภูหินร่องกล้าเคยเป็ นฐาน
ที่มั่นของการเผ่ยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์ จนก่อให้เกิดปัญหาความมั่นคงทางการ
เมืองขึ้นล่วงสู่กลางปี พ.ศ.2515 ทางราชการจึงเปิ ดยุทธการภูขวางเข้ายึดภูหิน
ร่องกล้า ทว่าไม่สาเร็จเนื่องจากชัยภูมิเป็ นที่มั่นของ ผกค.(ผู้ก่อการร้าย
คอมมิวนิสต์) ตั้งอยู่กลางหุบเขาสูงชันและปกคลุมไปด้วยป่ ารกทึบ ทาง
กองบัญชาการทหารบกจึงเปลี่ยนแผนยุทธการใช้นโยบาย ที่ 66/2523 และ
คาสั่งที่65/2525 เข้าปฏิบัติการจนเป็ นผลให้พรรคคอมมิวนิสต์เกิดความกดดัน
และมีบางส่วนใหญ่เป็ นชาวเขาเผ่าม้งได้กลับใจไม่ให้ความร่วมมือกับ ผกค. ทาให้
แกนนาส่วนใหญ่ละทิ้งฐานที่มั่นไป หลังจากนั้น พื้นที่ของภูหินร่องกล้าได้เริ่ม
พัฒนาโดยการตัดถนนผ่านใจกลางหุบเขา
แหล่งท่องเที่ยวภายในอุทยาน
ด้านประวัติศาสตร์
กังหันน้า สานักอานาจรัฐ ผาชูธง โรงเรียนการเมืองการทหาร หมู่บ้านมวลชน
ด้านธรรมชาติ
โครงการพัฒนาป่ าไม้ตามแนวพระราชดาริ ลานหินปุ่ ม ลานหินแตก
น้าตกหมันแดง น้าตกร่มเกล้า-ภารดร น้าตกห้วยขมิ้น น้าตกสายฝน
น้าตกหมันแดง น้าตกศรีพัชรินทร์ น้าตกผาลาดและน้าตกตาดฟ้ า
ด้านชุมชน
หมู่บ้านร่องกล้า
พัฒนาการทางการท่องเที่ยว อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
ปี พ.ศ. 2527 เปิ ดตัว
เป็ นอุทยานแห่งชาติ
ลาดับที่ 48 มีการตัด
ถนนเพื่ออานวยความ
สะดวกในการเดินทาง ที่
พักของอุทยานแห่งชาติ
มีนักท่องเที่ยวใกล้เคียง
เริ่มเข้ามาท่องเที่ยว
ปี พ.ศ. 2530 – 2545 มี
ระบบไฟฟ้ าใช้อย่างเต็ม
รูปแบบครอบคลุมภายใน
อุทยาน และมีน้าประปะ เพื่อ
ตอบสนองต่อการเดินทางเข้า
มาพักภายในอุทยานของ
นักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น
ปี พ.ศ. 2546-2558 มี
สัญญาณโทรศัพท์ wifi
เพื่อตอบสนองต่อความ
ต้องการของนักท่องเที่ยวที่
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆทุกปี
ประมาณปี ละ 10,000-
20,000 คน
Critical Range Of Elements Of Capacity
NUMBER
OF
TOURIST
EXPLORATION
DEVELOPEMENT
CONSOLIDATION
TIME
จุดเด่นภายในอุทยานภูหินร่องกล้า
การท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ มาเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัย ปี พ.ศ.
2511-2525 ที่มีการสู้รบของคอมมิวนิสและทางรัฐบาล ซึ่งอุทยานภูหิน
ร่องเกล้าเป็ นอุทยานแห่งเดียวที่มีทั้งประวัติศาสตร์และธรรมชาติอยู่ในที่ๆ
เดียวกัน
การท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ลานหินปุ่ ม ขึ้นไปพบหินที่เป็ นปุ่ มมากมายเกิดจาก
ธรรมชาติที่น่ามหัศจรรย์และวิวธรรมชาติอันสวยงาม สูงจากระดับน้าทะเล
1,262 เมตร และมีอันซีนอยู่ที่ ซากุระเมืองไทย หรือ ดอกพญาเสือโคร่ง เป็ น
จานวนมากประมาณ 10,000 ไร่ ที่ภูลมโล ซึ่งเป็ นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยวในฤดู
หนาวเป็ นอย่างมาก
ผลกระทบทางการท่องเที่ยว
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ด้านบวก
• มีการเก็บค่าเข้าชมอุทยานจากนักท่องเที่ยว ซึ่งเงินจานวนนี้ส่งเสริมรายได้ให้กับภาครัฐ
ซึ่งภาครัฐจะมีการจัดสรรงบประมาณเหล่านี้เพื่อบารุงรักอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
• เมื่อมีนักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวภายในอุทยานมากขึ้นเรื่อยๆจากช่วงแรกๆที่ไม่ค่อยมี
นักท่องเที่ยว ทางอุทยานเห็นว่าควรจะมีสิ่งอานวยความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยว จึ่งทาให้
เกิดโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ถนน ไฟฟ้ า จากเมื่อก่อน เป็ นการใช้ไฟฟ้ าโดยการปั่นไฟ ซึ่ง
ตอนนี้มีไฟฟ้ าใช้ตลอดไม่ต้องมีการกาหนดปิ ดเปิ ด เหมือนเมื่อก่อน มีน้าใช้ สัญญาณ
โทรศัพท์ ร่วมทั้ง สัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย
• อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สามารถสร้างงานและสร้างรายได้
ให้แก่ชุมชนร่องกล้าซึ่งอยู่ภายในอุทยาน ซึ่งในช่วงฤดูท่องเที่ยวหรืออื่นๆ ทางอุทยานจะมี
ที่สาหรับให้ชาวม้งขายของที่ระลึกให้แก่นักท่องเที่ยว หรือจากการที่นักท่องเที่ยว ไป
ท่องเที่ยวภายในชุมชนดูวิถีชีวิต พัก โฮมสเตย์ ก็จะเกิดรายได้ให้แก่ชุมชนไปด้วยเมื่อ
นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวอุทยานภูหินร่องกล้า
ด้านลบ
• ของที่ระลึกบางประเภทนาเข้าจากต่างประเทศ เช่น รองเท้า หมวกแก๊ป ทาให้เงินรั่วไหล
ออกนแกประเทศ
• การท่องเที่ยวตามฤดูกาลทาให้สร้างรายได้ในช่วง High Season และในช่วง Low Season
ทาให้การท่องเที่ยวลดลง
• ผู้ขายสินค้ามีการตัดราคาเพื่อแข่งขันในการขายของที่ระลึก
ผลกระทบด้านสังคม วัฒนธรรม
ด้านบวก
• อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า มีส่วนในการอนุรักษ์
วัฒนธรรมจารีตประเพณีเพราะภายในมีการท่องเที่ยว
โดยชุมชน หรือชุมชนบ้านร่องกล้า นักท่องเที่ยวจะ
เกิดการเรียนรู้และแลกเปลี่ยนระหว่างวัฒนธรรมกับ
ชาวชุมชนเผ่าม้งที่ดีต่อกัน และยังส่งเสริมหรือ
ปรับปรุงคุณภาพชีวิตความเป็ นอยู่ในสังคมของชุมชน
ที่ดีขึ้น เกิดโรงเรียน ตลาด สหกรณ์ และระบบ
สาธารณูปโภค ถนนหนทาง ไฟฟ้ าและน้า เป็ นต้น
• การเปิ ดโฮมสเตย์ทาให้เผยแพร่วัฒนธรรมและวิถีชีวิต
ให้นักท่องเที่ยวได้เรียนรู้
ด้านลบ
•วัฒนธรรมการแต่งกายของชาวชุมชนภายในอุทยานมีการปรับเปลี่ยนไปตาม
กระแสวัฒนธรรมภายนอก
ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านบวก
• อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า มีโครงการพัฒนาป่ าไม้ตามพระราชดาริ และโครงการปลูกป่ า
ทดแทน ซึ่งมีส่วนร่วมในการกระตุ้นให้คนในพื้นที่หรือนักท่องเที่ยวเกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสัตว์ป่า
• เมื่อมีการจัดตั้งอุทยานแห่งชาติขึ้นหน่วยงานภาครัฐมีบทบาทในการดูแลพื้นที่ป่ าไม้ในเขตอุทยาน
เพื่อป้ องกันการบุกรุก
ด้านลบ
•สร้างอ่างเก็บน้าขนาดเล็กๆ ไว้บนอุทยานซึ่งจะต้องใช่ที่ป่ าไม้ในการทาอ่างเก็บน้า
•การปรับที่ดินเพื่อทาที่พักโฮมสเตย์ตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว
•การตัดถนนเพื่ออานวยความสะดวกแก่การเดินทางของนักท่องเที่ยว ทาให้มีการตัด
ต้นไม้
•การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ โดยการขีดเขียนหินที่มีพืชขนาดเล็กขึ้น
•ทิ้งขยะภายในอุทยานในจุดที่ยากต่อการเก็บกวาด
วิเคราะห์แนวทาง
เศรษฐกิจ
•ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้แก่ชาวชุมชนภายในอุทยานเกี่ยวกับการส่งเสริมการประกอบอาชีพ
หรือการสร้างรายได้เช่น ตั้งศูนย์รวมหัตถกรรมของชาวชุมชน เพื่อให้ความเป็นอยู่ของประชาชน
ดีขึ้นและยังส่งผลที่ดีต่อทางอุทยานในหลายๆด้านอีกด้วย
•ภาครัฐให้การสนับสนุนผลผลิตทางการเกษตรของชุมชนให้เป็นเอกลักษณ์อีกด้านทางการ
ท่องเที่ยวของอุทยานแห่งชาติ
•ฝึกอบรมบุคลากรด้านการท่องเที่ยวของอุทยานและชุมชน ในการรองรับการท่องเที่ยวทั้งความ
พร้อมจานวนบุคลากรและวัดขีดจากัดความสามารถในการรองรับทั้งพื้นที่ทางธรรมชาติและส่วน
อื่นของอุทยานแห่งชาติ
สังคมและวัฒนธรรม
•การจัดทาป้ ายหรือโบร์ชัวร์ เพื่อเผยแพรข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมการ
เป็นอยู่ของชาวม้งร่องกล้า เพื่อที่นักท่องเที่ยวจะได้เรียนรู้และเห็นคุณค่า
ของวัฒนธรรมต่างถิ่นของคนในชุมชน
•ควบคุมสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่ชุมชนให้คงเดิม
•ปรับปรุงบ้านพักและสิ่งอานวยความสะดวกภายในชุมชนให้เป็น
มาตรฐานของชุมชน แต่ละแห่งที่ตกลงร่วมกัน โดยมีคณะกรรมการของ
ชุมชนตรวจสอบอย่าสม่าเสมอ
สิ่งแวดล้อม
•ทางอุทยานควรสงวนรักษาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติโดยการสร้างความรู้
ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่คนในชุมชนเพื่อให้เห็นคุณค่าของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เกิดจิตสานึกที่จะมีส่วนร่วมในการ
รักษาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
•ควรมีการจัดตั้งโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติหรือแคมเปญ เช่น
โครงการรักษาต้นน้า โครงการการป้ องกันไฟป่า โครงการช่วยกันลดขยะ
ภายในอุทยาน 4R Reduce Reuse RecycleและRepair
ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
เศรษฐกิจ
ด้านลบ
• ถ้ามีนักท่องเที่ยวมากขึ้น อาจจะส่งผลให้ชาวเขาเกือบทั้งหมดเปลี่ยนอาชีพ
เกษตรกรรมที่เคยทามาแต่เดิมเป็ นการขายของที่ระลึกให้แก่นักท่องเที่ยว
• ค่าครองชีพสูงขึ้น เช่น ราคาสินค้า ของที่ระลึก
• การนาเข้าสินค้าจากต่างประเทศเพื่อตอบสนองความต้องการของนักท่องเที่ยว
• การแย่งชิงผลประโยชน์แก่ชุมชนนามาซึ่งการแข่งขันในการผลิตและการตา
หน่ายสินค้าบริการทางการท่องเที่ยว
ด้านบวก
•มีการสร้างงาน สร้างอาชีพเสริมทางการท่องเที่ยวที่มีความหลากหลาย
โดยผ่านธุรกิจที่พัก ร้านอาหาร ขายของที่ระลึก หรือไกด์ท้องถิ่น
•มีเงินหมุนเวียนภายในชุมชนมากขึ้น ทาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
•เศรษฐกิจส่งเสริมให้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ดีขึ้น
•เกิดการกระจายรายได้สู่ภูมิภาค
สังคมและวัฒนธรรม
ด้านบวก
• เมื่อมีการท่องเที่ยวเกิดขึ้นทาให้ความเป็นอยู่ของสังคมดีขึ้น เช่น เสริมสร้างการศึกษา
• การท่องเที่ยวก่อให้เกิดประโยชน์ในการสร้างความเข้าใจแก่นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับวัฒนธรรม
ประเพณีและประวัติศาสตร์ของสังคมมากขึ้น
ด้านลบ
•ส่งผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอาชีพ วิธีชีวิตและความสัมพันธ์ทางสังคมทาให้ชุมชนเปลี่ยนจาก
หมู่บ้านชาวชุมชนที่สงบ เรียบง่าย และอบอุ่นกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยว ตลาดขายของที่ระลึก ทา
ให้พฤติกรรมและทัศนคติของชาวชุมชนเปลี่ยนไป
•ชาวชุมชนภายในอุทยานแห่งชาติเห็นแก่ผลพลอยได้มากกว่าความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันจึงทาให้เกิด
ความขัดแย้งกันเอง
สิ่งแวดล้อม
ด้านลบ
•เมื่อมีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาท่องเที่ยวภัยในอุทยานแห่งชาติทาให้ปริมาณขยะ
มากขึ้นและยากต่อการกาจัด
•การเดินทางมาศึกษาธรรมชาติและการส่งสัตว์สงผลให้ระบบนิเวศน์และวงจร
ชีวิตของสัตว์ป่าเปลี่ยนแปลง
•มีการใช้ทรัพยากรมากขึ้นทาให้ทรัพยากรทางธรรมชาติเสื่อมโทรมลง
ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
ผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว
END OF THE PRESENTATION
THANK YOU FOR LISTENING

More Related Content

What's hot

บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
BlogAseanTraveler
 
งานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตน
งานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตนงานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตน
งานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตน
16301
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
กีฬาแบดมินตัน
กีฬาแบดมินตันกีฬาแบดมินตัน
กีฬาแบดมินตัน
Supichaya Tamaneewan
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
พัน พัน
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
Unchaya Suwan
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
พัน พัน
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
Nicha Nichakorn
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
dnavaroj
 

What's hot (20)

บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียนโครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
โครงงาน Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสมาชิกอาเซียน
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
งานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตน
งานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตนงานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตน
งานนำเสนอ ฝนมาแล้วจ๊ะ ครูแตน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
Europe
EuropeEurope
Europe
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
กีฬาแบดมินตัน
กีฬาแบดมินตันกีฬาแบดมินตัน
กีฬาแบดมินตัน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
โครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอมโครงการในพระราชดำริงานคอม
โครงการในพระราชดำริงานคอม
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 

ผลกระทบการท่องเที่ยวภูหินร่องกล้า