SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Download to read offline
แผนปฏิบัติการ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
โรงเรียนบ้านเนินพยอมและสาขาบึงนคร
สพป.ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2
เลขที่ 95 หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110
โทร. 032 - 640074
คำนำ
ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดการบริหารงบประมาณงบเงิน
อุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป รายการเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม
หนังสือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04006/2279 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2548
เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการใช้จ่ายงบประมาณ งบเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัว จัดสรรให้สถานศึกษา
เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน ให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมณ์
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 โดยมีแนวทางการใช้จ่ายงบประมาณเกิดประโยชน์ต่อการเรียน
การสอนได้มากที่สุด กาหนดแนวทางปฏิบัติ 4 ข้อ ดังนี้
1.ให้สถานศึกษาจัดทาแผนการปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบายและจุดเน้นของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.เสนอแผนปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษาผ่านความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
3.รายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษาให้สาธารณชนได้ทราบ
4.การใช้จ่ายงบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษา
ดังนั้นสถานศึกษาจะต้องจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ และดาเนินการตามหลักเกณฑ์และแนว
ปฏิบัติการใช้จ่ายงบประมาณ งบเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัว และใช้ในการติดตาม ควบคุม การใช้จ่าย
งบประมาณ เงินอุดหนุนรายหัว ประจาปีงบประมาณ 2559 และได้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
การจัดทาเอกสารนี้ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง จากคณะครู เจ้าหน้าที่ธุรการ และคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน โดยมีจุดมุ่งหมายเน้นประโยชน์ถึงผู้เรียน
ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ 2559 ให้สามารถใช้
ในการบริหารงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเนินพยอม
1 ตุลาคม 2558
สำรบัญ
สำรบัญ (ต่อ)
หน้า
คานา
สารบัญ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1
ส่วนที่ 2 กรอบการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ 15
ส่วนที่ 3 กลยุทธการจัดการศึกษาของโรงเรียน 32
ส่วนที่ 4 ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา 37
ส่วนที่ 5 รายละเอียดงบประมาณ/โครงการ 39
กลุ่มบริหำรงำนวิชำกำร 45
โครงกำรที่ 1 เร่งรัดพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ 46
- กิจกรรมที่ 1 ยกระดับคุณภาพทางวิชาการ
- กิจกรรมที่ 2 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วันละคา
- กิจกรรมที่ 3 คลังข้อสอบ
- กิจกรรมที่ 4 สอนเสริม ติวข้อสอบ และเด็กพิเศษเรียนร่วม
- กิจกรรมที่ 5 การเรียนการสอนโดยใช้โครงงาน
โครงกำรที่ 2 ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง 50
- กิจกรรมที่ 1 สหกรณ์โรงเรียน
- กิจกรรมที่ 2 การปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ
- กิจกรรมที่ 3 การเพาะเห็ดนางฟ้า
- กิจกรรมที่ 4 การออมทรัพย์
โครงกำรที่ 3 โรงเรียนวิถีพุทธ 54
- กิจกรรมที่ 1 บันทึกความดี
- กิจกรรมที่ 2 เสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา
- กิจกรรมที่ 3 เข้าค่ายปฏิบัติธรรม
- กิจกรรมที่ 4 เรียนธรรมะกับพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
- กิจกรรมที่ 5 นั่งสมาธิ ปฏิบัติธรรมในวันธรรมสวนะ
และการสวดมนต์ไหว้พระประจาสัปดาห์
- กิจกรรมที่ 6 การจัดกิจกรรมวันสาคัญ
- กิจกรรมที่ 7 พุทธศาสนสุภาษิตประจาสัปดาห์
- กิจกรรมที่ 8 เนินพยอม น้อมใจภัก รักษาศีล 5
สำรบัญ (ต่อ)
หน้า
โครงกำรที่ 4 พัฒนำแหล่งเรียนรู้และห้องสมุด 59
- กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
- กิจกรรมที่ 2 บันทึกการอ่าน
- กิจกรรมที่ 3 ฐานการเรียนรู้
- กิจกรรมที่ 4 การให้บริการของห้องสมุด
- กิจกรรมที่ 5 เสียงตามสาย
โครงกำรที่ 5 พัฒนำหลักสูตร 65
- กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาหลักสูตร
โครงกำรที่ 6 นิเทศภำยใน 69
- กิจกรรมที่ 1 การนิเทศการเรียนการสอน
โครงกำรที่ 7 พัฒนำศักยภำพเด็กปฐมวัย 72
- กิจกรรมที่ 1 รักสุขภาพ
-
กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย
ด้านศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว
- กิจกรรมที่ 3 พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมเด็กปฐมวัย
- กิจกรรมที่ 4 ฝึกทักษะแสวงหาความรู้สู่ตนเอง
โครงกำรที่ 8 กำรปรับปรุงภูมิทัศน์ 80
- กิจกรรมที่ 1 การปรับปรุงภูมิทัศน์ อาคารสถานที่บริเวณโรงเรียน
โครงกำรที่ 9 ส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรอ่ำน 84
- กิจกรรมที่ 1 เขียนตามคาบอก
- กิจกรรมที่ 2 แข่งขันตอบคาถามจากสารานุกรม
- กิจกรรมที่ 3 อ่านออกเสียง
กลุ่มบริหำรงบประมำณ 88
โครงกำรที่ 10 ประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ 89
- กิจกรรมที่ 1 การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
- กิจกรรมที่ 2 รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (SAR)
- กิจกรรมที่ 3 การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา
- กิจกรรมที่ 4 การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ
- กิจกรรมที่ 5 รายงานการคานวณต้นทุนผลผลิต
หน้ำ
สำรบัญ (ต่อ)
- กิจกรรมที่ 6 ระดมทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา
- กิจกรรมที่ 7 รายงานการควบคุมภายใน
กลุ่มบริหำรงำนบุคลำกร 95
โครงกำรที่ 11 พัฒนำครูสู่ปฏิรูปกำรศึกษำ 96
- กิจกรรมที่ 1 การจัดทาแผนการเรียนรู้
- กิจกรรมที่ 2 การอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน
- กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการใช้และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
- กิจกรรมที่ 4 สร้างขวัญและกาลังใจ
กลุ่มบริหำรทั่วไป 101
โครงกำรที่ 12 ส่งเสริมสุขภำพอนำมัยโรงเรียน 102
- กิจกรรมที่ 1 ยิ้มสวยด้วย ฟ ฟัน
- กิจกรรมที่ 2 การเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพนักเรียน
- กิจกรรมที่ 3 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย
- กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกาลังกาย
- กิจกรรมที่ 5 สุขาน่าใช้
โครงกำรที่ 13 ส่งเสริมประชำธิปไตย 107
- กิจกรรมที่ 1 เลือกตั้งคณะกรรมการบริหารนักเรียน
- กิจกรรมที่ 2 การดูแลเขตรับผิดชอบบริเวณโรงเรียน
- กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประจาวันของคณะกรรมการบริหารนักเรียน
โครงกำรที่ 14 ธนำคำรขยะลดโลกร้อน 112
- กิจกรรมที่ 1 การแยกขยะสร้างรายได้
โครงกำรที่ 15 กำรเรียนรู้วิชำชีพกับภูมิปัญญำท้องถิ่น 116
- กิจกรรมที่ 1 การเรียนรู้วิชาชีพกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงกำรที่ 16 กำรดำเนินงำนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 119
- กิจกรรมที่ 1 รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล
- กิจกรรมที่ 2 ประชุมผู้ปกครอง
- กิจกรรมที่ 3 เยี่ยมบ้านนักเรียน
- กิจกรรมที่ 4 จัดหาทุนการศึกษา
- กิจกรรมที่ 5 เรียนฟรี 15 ปี
- กิจกรรมที่ 6 การช่วยเหลือปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน
หน้ำ
โครงกำรพิเศษ 124
โครงกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำสำหรับนักเรียนพิเศษเรียนร่วม 125
ภาคผนวก 128
ส่วนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐาน
ส่วนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐำน
1. ข้อมูลทั่วไปโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม
1.1 ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านเนินพยอม เลขที่ 95 หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รหัสไปรษณีย์ 77110 โทรศัพท์ 032-640074
e-mail bannurnpayom@hotmail.com / website http://npy.pkn2.go.th
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2
1.2 เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ชั้นอนุบาล ถึง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีเนื้อที่ 10 ไร่ - งาน
1.3 มีเขตพื้นที่บริการ 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 9 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และจานรับสัญญาณดาวเทียมใน
การสื่อสาร / Internet และเทคโนโลยีต่าง ๆ
ข้อมูลทั่วไปโรงเรียนบ้ำนเนินพยอมสำขำบึงนคร
- ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านบ้านเนินพยอมสาขาบึงนคร เลขที่ 223 หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร
อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รหัสไปรษณีย์ 77110 โทรศัพท์ 032-640073
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2
- เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ชั้นอนุบาล ถึง ระดับประถมศึกษาปีที่ 6
- มีเขตพื้นที่บริการ 1 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
2. ข้อมูลด้ำนกำรบริหำร
2.1 ผู้อานวยการโรงเรียน ชื่อ นายดิลก ยี่รงค์
(เบอร์โทร. 081 - 9972676) วุฒิทางการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหาร
การศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ ตั้งแต่วันที่ 25 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2558
2.2 ผู้ช่วยผู้บริหาร (ที่ได้รับแต่งตั้ง) - คน
2.3 ประวัติโรงเรียน/สภาพปัจจุบัน
กำรก่อตั้ง/สภำพปัจจุบันโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม
ประวัติควำมเป็นมำของโรงเรียน
โรงเรียนบ้านเนินพยอม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 ตาบลหนองพลับ (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น หมู่ที่ 2
ตาบลบึงนคร) อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เปิดทาการสอนในระดับประถมศึกษา เมื่อวันที่ 16
กรกฎาคม 2522 ตรงกับวันจันทร์ แรม 7 ค่า เดือน 8 ปีมะแม โดยผู้ใหญ่อ่วน ท้วมอาจ และ
นายเขียน โวททวี ได้ร่วมกันบริจาคที่ดินรวม 10 ไร่ พร้อมด้วยประชาชนชาวบ้านเนินพยอมได้ร่วมกัน
บริจาควัสดุก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว 1 หลัง ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 17 เมตร หลังคามุงสังกะสีมอบ
ให้สานักงาคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติกระทรวงศึกษาธิการ โดย นายกอบชัย ธนสารนันต์
ผู้รักษาการในตาแหน่ง หัวหน้าการประถมศึกษาอาเภอหัวหิน เป็นผู้ทาการเปิดโรงเรียน โดยมี นายปัญญา
วงษ์ชื่น เป็นผู้รักษาการในตาแหน่งครูใหญ่ และดาเนินการจัดการเรียนการสอนอยู่เพียงคนเดียว มีนักเรียน
ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 64 คน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2524 มูลนิธิชูชีพ สนิท พลอยน้อย (ปราณบุรี) ร่วมกับชาวบ้าน และผู้ปกครอง
นักเรียน บริจาคสร้างอาคารเรียนอเนกประสงค์ให้อีก 1 หลัง ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 28 เมตร หลังคา
มุงสังกะสี พื้นคอนกรีต (ไม่มีฝากั้น) คิดเป็นมูลค่าจานวนเงิน 165,000 บาท
ปี พ.ศ. 2525 ได้รับจัดสรรงบประมาณสร้างอาคารเรียนถาวร 1 หลัง แบบ ป.1จ. ขนาด 4
ห้องเรียน เป็นเงิน 520,000 บาท
ปี พ.ศ. 2526 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครู 1 หลัง แบบ สปช. 301-2526 เป็นตึก คสล.2 ชั้น 2
ห้องนอน เป็นเงินจานวน 150,000 บาท
ปี พ.ศ. 2526 ได้รับอนุมัติและมอบหมายให้เปิดขยายโรงเรียนสาขาบึงนคร อีก 1 สาขา เปิดทาการ
สอนตั้งแต่ชั้น ป.1 – ป.6
ปี พ.ศ. 2527 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม 1 หลัง จานวน 4 ที่ พร้อมที่ปัสสาวะ
(แบบ สปช. 601 – 2526) เป็นเงินจานวน 40,000 บาท
ปี พ.ศ. 2528 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. 202 – 2526 จานวน 1 หลัง
ขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร เป็นเงินจานวน 200,000 บาท
ปี พ.ศ. 2528 ได้รับงบประมาณ สร้างถังเก็บน้าซีเมนต์แบบ ฝ.30 (พิเศษ) 1 ชุด ความจุเก็บน้าได้
30 ลบ.ม. เป็นเงินจานวน 30,000 บาท
ปี พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน 1 หลัง แบบ สปช. 102 – 2526 จานวน 2
ห้องเรียน เป็นเงินจานวน 280,000 บาท
ปี พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม 1 หลัง จานวน 4 ที่ พร้อมที่ปัสสาวะ
(แบบสปช.601 – 2526) เป็นเงินจานวน 40,000 บาท โดยสร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร
ปี พ.ศ. 2530 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน 1 หลัง แบบ สปช. 102 – 2526 จานวน 3
ห้องเรียน (สร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร)
ปี พ.ศ. 2531 ได้รับอนุมัติให้เปิดขยายโรงเรียนบ้านหนองหินในอีก 1 สาขา เปิดทาการสอนตั้งแต่
ชั้น ป.1 – ป.6
ปี พ.ศ. 2531 ได้รับงบประมาณสร้างถังเก็บน้าซีเมนต์ แบบ ฝ.30 (พิเศษ) 1 ชุด ความจุเก็บน้าได้
30 ลบ.ม. เป็นเงินจานวน 40,000 บาท (สร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร)
ปี พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณรื้อย้ายบ้านพักครูแบบองค์การ จากโรงเรียนบ้านหนองตะเภา
จานวน 100,000 บาท
ปี พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณสร้างเรือนเพาะชา แบบ พ.1 ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 6 เมตร
เป็นจานวนเงิน 15,000 บาท
ปี พ.ศ. 2535 ได้รับงบประมาณรื้อย้ายบ้านพักครูแบบองค์การ จากโรงเรียนบ้านเนินตะเคียนมา
สร้างใหม่ที่โรงเรียนสาขาบึงนคร 1 หลัง เป็นเงินจานวน 50,000 บาท
ปี พ.ศ. 2535 ได้รับความเห็นชอบ ให้เปิดขยายโอกาสทางการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
(ชั้น ม.1 – ม.3) ตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา
ปี พ.ศ. 2536 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครูแบบ สปช. 301-2526 เป็นตึก คสล. 2 ชั้น 2
ห้องนอน เป็นเงินจานวน 280,000 บาท
ปี พ.ศ. 2536 ได้รับงบประมาณสร้างอาคาร แบบ สปช. 101 – 2526 อีก 1 หลัง
ขนาด 4 ห้องเรียน ยกพื้นใต้ถุนโล่ง เป็นเงินจานวน 780,000 บาท
ปี พ.ศ. 2536 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม (แบบ สปช. 601 – 2526) อีก 1 หลัง จานวน 2 ที่
พร้อมที่ปัสสาวะ เป็นเงินจานวน 45,000 บาท (สร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร)
ปี พ.ศ. 2539 ได้รับงบประมาณจากสานักงานโยธาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สร้างถังเก็บน้าซีเมนต์
ขนาดความจุ 50 ลบ.ม. จานวน 1 ชุด เป็นเงินจานวน 200,000 บาท
ปี พ.ศ. 2539 ได้รับงบประมาณสร้างสนามกีฬาบาสเกตบอล ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 28 เมตร
เป็นเงินจานวน 128,000 บาท
ปี พ.ศ. 2540 ได้รับบริจาควัสดุก่อสร้างและแรงงาน จากนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยา
เขตวังไกลกังวลหัวหิน สร้างอาคารห้องสมุด ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 7 เมตร เป็นเงินจานวน 231,089 บาท
ปี พ.ศ. 2540 โรงเรียนได้เปิดสอนชั้นอนุบาล 3 ขวบ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ
ได้รับการพิจารณาให้เป็นโรงเรียนในโครงการปฏิรูปการศึกษา ปีงบประมาณ 2540 ของ
กระทรวงศึกษาธิการ
ปี พ.ศ. 2542 ได้รับงบประมาณจากงบกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างถังน้าซีเมนต์ แบบ ฝ.30 (พิเศษ)
ความจุ 30 ลบ.ม. เป็นเงินจานวน 81,000 บาท
ปี พ.ศ. 2542 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมด้วยคณะครู และผู้ปกครอง ได้ร่วมกัน
ก่อสร้างอาคารพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 9 เมตร เป็นเงิน จานวน
125,000 บาท
ปี พ.ศ. 2544 ได้ปรับปรุงโรงอาหาร โดยได้รับการสนับสนุนจาก บริษัทเหล็กแผ่นเคลือบไทย
จากัด เป็นเงินจานวน 73,190 บาท
ปี พ.ศ. 2544 ได้รับงบประมาณสร้างส้วมแบบ สปช. 601-2526 จานวน 4 ที่ พร้อมที่ปัสสาวะ
เป็นเงินจานวน 110,000 บาท
ปี พ.ศ. 2545 ได้รับการสนับสนุนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ พร้อมอุปกรณ์
ต่าง ๆ จากศูนย์พัฒนาและเผยแพร่พลังงานภูมิภาคจังหวัดราชบุรี คิดเป็นเงินจานวน 1.8 ล้านบาท
ปี พ.ศ. 2550 ข้าราชการตารวจ สน.ดินแดง และ สน.โชคชัย ร่วมบริจาคปรับปรุงซ่อมแซมอาคาร
ชั่วคราวหลังแรก ได้เปลี่ยนฝาผนัง,หลังคา และพื้นปูกระเบื้อง งบประมาณ 170,000 บาท
ปี พ.ศ. 2552 ได้งบประมาณสร้างส้วม แบบ สปช 604-45 จานวน 4 ห้องพร้อมที่ปัสสาวะ เป็น
จานวน 242,000 บาท
ปี พ.ศ. 2553 ได้รับการสนับสนุนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลส์พลังงานแสงอาทิตย์และ
USO net ตามโครงการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม สาหรับโรงเรียนที่ไม่มีไฟฟ้า
ปี พ.ศ. 2554 จัดทอดผ้าป่าเพื่อการศึกษาเพื่อปรับปรุง ซ่อมแซมโรงอาหาร
ปี พ.ศ. 2555 สร้างวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปและ พระบรมสารีริกธาตุ
ปี พ.ศ. 2556 สร้างแท้งค์น้าคอนกรีต 16 เหลี่ยม (บิ๊กแท้งค์) สูง 10 ชั้นๆละ 80 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง
2.60 เมตร ผนังแท้งค์หนา 10 ซม. ขนาด ความจุน้า 36,000 ลิตร ราคา 100,000 บาท
ผู้บริหารโรงเรียนตั้งแต่เริ่มจัดตั้งโรงเรียน คือ นายปัญญา วงษ์ชื่น ปัจจุบันดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการโรงเรียน ตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2540 จนถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2556
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเนินพยอม และสาขาบึงนคร มีพื้นที่รวมจานวน 22 ไร่ มีอาคารเรียน 4 หลัง
13 ห้องเรียน อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง ส้วม 4 หลัง 14 ที่ โรงอาหาร 2 หลัง (สร้างเอง) ห้องสมุด
2 หลัง (สร้างเอง) ร้านสหกรณ์ 1 หลัง (สร้างเอง) สนามเด็กเล่น 2 แห่ง เรือนเพาะชา 1 หลัง บ้านพัก
ครู 5 หลัง อาคารพยาบาล 1 หลัง (สร้างเอง)
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเนินพยอม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่ติดต่อใกล้กับบริเวณที่เขื่อนชลประทานปราณบุรี อาเภอปราณบุรี จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่พิเศษ ตามประกาศของกระทรวงการคลัง พื้นที่โดยทั่วไปเป็น
ภูเขาสลับซับซ้อน มีเขตบริการในพื้นที่ 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านหนองหินใน หมู่ที่ 2 บ้านเนินพยอม
หมู่ที่ 9 บ้านภูหลวง และมีสาขาบึงนคร อยู่ในเขตบริการอีก 1 สาขา ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร
อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
1. ทิศเหนือ ติดต่อกับทางสาธารณะและภูเขา
2. ทิศใต้ ติดต่อกับลาห้วย
3. ทิศตะวันออก ติดต่อกับทางสาธารณะ
4. ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่บ้าน นายต้น นาคบุญ
กำรก่อตั้ง/สภำพปัจจุบันของโรงเรียนบ้ำนเนินพะยอมสำขำบึงนคร
โรงเรียนบ้านเนินพยอมสาขาบึงนคร ตั้งอยู่ เลขที่ 223 หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เปิดทาการสอนเมื่อวันที่ 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2526 มีเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน
เป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนบ้านเนินพยอม ซึ่งอยู่ห่างจากโรงเรียนบ้านเนินพยอม 17 กิโลเมตร ปัจจุบัน
มีครู 2 คน
คติพจน์ประจำโรงเรียน
“จิตตัสสะ ทมโถ สาธุ จิตตัง ทันตัง สุขาวหัง”
(การฝึกจิตเป็นความดีจิตที่ฝึกแล้วนาสุขมาให้)
ปรัชญำโรงเรียน
“คุณธรรม นาความรู้ สู่กิจกรรมเด่น เน้นวินัย”
คุณธรรม หมายถึง การปลูกฝังให้ผู้เรียนประพฤติปฏิบัติ คุณงาม ความดี ยึดมั่นในคาสอนในศาสนาที่
ตนนับถือ โดยเน้นให้ผู้เรียนประพฤติดีทั้งทางกาย วาจา ใจ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ
ประเทศชาติ
นำควำมรู้ หมายถึง หมายถึง การสร้างพื้นฐานการดารงชีวิตของมนุษย์คือ ความรู้โดยผู้เรียนได้
เรียนรู้เพื่อนาความรู้มาพัฒนาตนเองในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างเหมาะสม มี
ผลงานแสดงความก้าวหน้าเป็นของตนเองโดยใช้หลักสูตรเป็นแนวปฏิบัติ
สู่กิจกรรมเด่น หมายถึงในขณะที่ศึกษาอยู่นั้นผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่สร้างเสริม
ประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีทักษะการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนนั้น ได้รับความรู้
อย่างหลากหลายโดยเต็มศักยภาพ ทั้งกิจกรรมภายในโรงเรียนและกิจกรรมที่จะต้องทาร่วมกับชุมชนทั้ง
ภาครัฐและเอกชน
เน้นวินัย หมายถึง ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ด้วยเป็นผู้ที่รู้รับผิดชอบต่อ
หน้าที่ ปฏิบัติตนได้อย่างมีระเบียบวินัย สามารถจัดระเบียบให้ตนเองและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สีประจำโรงเรียน
แสด-ดา
สีแสด หมายถึง ความเฉียบแหลม
สีดา หมายถึง ความหนักแน่น ความอดทน ความห่วงหาอาทร
อักษรย่อของโรงเรียน
ระดับประถมศึกษา “ น.ย.”
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น “ม.น.ย.”
สภำพทั่วไปและสภำพปัญหำของโรงเรียน
(1) ลักษณะความกันดาร ความเสี่ยงภัย การคมนาคมไม่สะดวก และมีความยากลาบาก ในการจัด
การศึกษาของโรงเรียน ดังนี้
สภำพที่ตั้ง โรงเรียนบ้านเนินพยอมตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหินจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่กันดารตามประกาศของกระทรวงการคลัง มีสภาพที่ตั้งมีความ
ยากลาบากต่อการพัฒนาโรงเรียนอย่างยิ่ง กล่าวคือ
สภาพที่ตั้งทางสังคมและวัฒนธรรม โรงเรียนบ้านเนินพยอมตั้งอยู่ในหมู่บ้านที่ห่างไกลสังคม
เมือง ห่างไกลความเจริญในทุก ๆ ด้าน ขาดแคลนสาธารณูปโภคทั้งปวง โดยเฉพาะสิ่งจาเป็นพื้นฐานใน
การดารงชีวิตของมนุษย์ เช่น แหล่งน้า สถานพยาบาล กระแสไฟฟ้า การประปา ตลาด เป็นต้น ห่างไกล
หน่วยราชการที่จาเป็นต้องติดต่อ เช่น ที่ว่าการอาเภอ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 สถานีตารวจ ที่ทาการไปรษณีย์โทรเลข สานักงานที่ดิน สถานีขนส่ง เป็นต้น การ
ขาดสิ่งเหล่านี้ที่ทาให้ชาวบ้านไม่สามารถดารงชีวิตและเลี้ยงดูครอบครัวให้อยู่ดีกินดีได้ ไม่มีปัจจัยทางสังคม
ที่เอื้ออานวยต่อการประกอบอาชีพ เช่น ไม่มีการแลกเปลี่ยนสินค้า ขาดการพัฒนาส่งเสริมด้านอาชีพแก่
ชาวบ้าน นอกจากนี้หมู่บ้านเนินพยอมยังเป็นหมู่บ้านที่มีสภาพล้าหลังทางด้านวัฒนธรรม ขาดวัฒนธรรมที่
ดีอันเป็นตัวกาหนดควบคุมพฤติกรรมของสังคม
สภาพที่ตั้งด้านภูมิศาสตร์และธรรมชาติ โรงเรียนบ้านเนินพยอมตั้งอยู่ในพื้นที่แห้งแล้ง
ขาดน้า แม้โรงเรียนสร้างฝายกั้นน้าไว้ แต่ไม่สามารถเก็บกักน้าให้เพียงพอต่อความต้องการได้เมื่อถึง
หน้าแล้ง โรงเรียนจึงขาดน้าในการอุปโภค บริโภค เนื่องจากน้าที่ใช้ฝายกั้นไว้นั้นแห้งขอด น้าฝนที่
โรงเรียนเก็บกักไว้สาหรับครูและนักเรียน ก็ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ครูต้องการขนน้าจากที่อื่นมา
อุปโภคบริโภค ด้วยระยะทางที่ห่างไกล การขาดน้าก็คือการขาดความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ ทาให้
ชาวบ้านมีความลาบากในการประกอบอาชีพ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอาชีพการเกษตร เช่นเดียวกับโรงเรียน
เมื่อขาดน้าก็ไม่สะดวกต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะวิชางานเกษตรและการเปิดสอน
วิชาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเกษตร
นอกจากนี้แล้ว โรงเรียนบ้านเนินพยอมยังมีทาเลที่ตั้งอยู่ไม่เหมาะสม คืออยู่ในหุบเขา
ด้านหน้าติดถนนและภูเขา ด้านข้างติดถนนและที่ดินของชาวบ้าน ด้านหลังติดลาห้วยมีพื้นที่น้อย ยากต่อ
การพัฒนาด้านอาคารสถานที่ให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายได้
สภาพความแห้งแล้งของพื้นดินที่มีทั่วบริเวณหมู่บ้าน นับเป็นปัญหาต่อการประกอบอาชีพ
เกษตรกรรมของชาวบ้านเป็นอย่างมาก ทาให้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของชาวบ้าน กล่าวคือชาวบ้าน
ยากจนหาเช้ากินค่า ขาดแคลนในทุก ๆ ด้าน และส่งผลกระทบต่อนักเรียนในปกครอง ทาให้เป็นอุปสรรค
ต่อการจัดการเรียนการสอน ในส่วนของโรงเรียนสาขาบึงนคร ซึ่งเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนบ้านเนิน
พยอม ตั้งอยู่ห่างจากโรงเรียนบ้านเนินพยอมประมาณ 15 กิโลเมตร คือตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 5 ตาบล
บึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีสภาพที่ตั้งและความกันดารไม่แตกต่างกันนัก การที่
โรงเรียนแม่และโรงเรียนสาขาตั้งอยู่ห่างไกลกันเช่นนี้ และมีความยากลาบากในการคมนาคม ติดต่อสื่อสาร
ทาให้มีผลกระทบต่อการบริหารงาน แต่โรงเรียนก็สามารถพัฒนาไปได้ด้วยผลที่น่าพอใจ
ควำมเสี่ยงภัย ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินพยอม มีความเสี่ยงภัยในเรื่องของการ
เดินทาง เนื่องจากการคมนาคมไม่สะดวก นอกจากนี้ยังมีอันตรายจากโรคภัยไข้เจ็บด้วยโรคไข้มาลาเรีย
ไข้เลือดออก เป็นต้น
(2) ลักษณะของความยากลาบากของการคมนาคมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน – อาเภอ
– จังหวัด มีดังนี้
โรงเรียนบ้านเนินพยอมมีระยะห่างจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 ประมาณ 43 กิโลเมตร ระยะทางดังกล่าวเป็นถนนลูกรังประมาณ 28 กิโลเมตร
และเป็นเส้นทางคดเคี้ยว บางช่วงเป็นที่ลาดชัน ทาให้เส้นทางคมนาคมนี้เป็นเส้นทางที่เสี่ยงต่ออันตรายสูง
ในทุกฤดูกาล หน้าฝนถนนเป็นโคลน มีน้าขังเป็นแอ่ง หน้าแล้งก็เต็มไปด้วยฝุ่นละออง บางปีน้าท่วม
เส้นทางขาด เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางเป็นอย่างมาก และเป็นเส้นทางคมนาคมที่ไม่มีรถโดยสารประจา
ทาง ถนนในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะเป็นถนนที่ใช้กับรถจักรยานยนต์และทางเท้าเสียมากกว่า ในส่วนของการ
ติดต่อระหว่างโรงเรียนกับจังหวัดนั้น มีความยากลาบากมากในการเดินทาง คือต้องเสียเวลาอย่างน้อย 1
วัน ในการไปติดต่องานแต่ละครั้ง เนื่องจากมีระยะห่างประมาณ 150 กิโลเมตร รวมกับการเดินทางจาก
โรงเรียนมายังท่ารถที่อาเภอหัวหิน
เส้นทางคมนาคมนับเป็นสิ่งจาเป็นต่อการพัฒนาโรงเรียน พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
เพราะเมื่อครูมีความยากลาบากในการเดินทาง ไม่สามารถเดินทางไป-กลับระหว่างบ้านกับโรงเรียนได้ ต้อง
ทิ้งภาระทางบ้านไว้กับคนอื่น หรือกับคู่สมรสเพียงฝ่ายเดียว โดยเฉพาะหน้าที่ในการดูแลลูก การอบรมบ่ม
นิสัยลูก ทาให้เกิดผลกระทบต่อสภาพครอบครัว ส่งผลทาให้ครูขาดขวัญและกาลังใจในการทางานได้
ในส่วนของนักเรียน เส้นทางคมนาคมที่ย่าแย่ทาให้นักเรียนมาโรงเรียนสาย หรือมาโรงเรียนไม่ได้
เพราะเส้นทางขาด
นอกจากนี้เส้นทางคมนาคมยังเป็นปัจจัยสาคัญมากในการพัฒนาหมู่บ้าน หมู่บ้านจะเจริญ
ได้ต้องอาศัยเส้นทางคมนาคมเป็นหลัก เปรียบเสมือนเส้นโลหิตใหญ่ของร่างกาย หรือเข้าทานองที่ว่าความ
เจริญส่วนใหญ่มากับสายไฟฟ้า เมื่อถนนดาไม่มา ไฟฟ้าก็ไม่มี ไม่มีสิทธิใช้พัดลม โทรทัศน์ ตู้เย็น เมื่อมี
ความยากลาบากในการสัญจรไปมา สังคมของชาวบ้านก็เป็นสังคมที่แคบ ขาดการสื่อสารกับสังคม
ภายนอกที่มีความเจริญกว่า คนภายนอกก็ไม่อยากเดินทางเข้ามาในหมู่บ้าน เพราะไม่มีความจาเป็นอะไร
สภาพเช่นนี้ส่งผลกระทบต่อสภาพความเป็ นอยู่ของนักเรียน ทาให้นักเรียนขาดการเรียนรู้ขาด
ประสบการณ์ตรงในด้านต่าง ๆ ที่ควรจะได้รับนอกเหนือจากที่โรงเรียน ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา
คุณภาพการเรียนการสอนประการหนึ่ง
ในส่วนของโรงเรียนสาขาบึงนคร ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ห่างจากโรงเรียนบ้านเนิน
พยอม ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่มีความสูงชัน คดเคี้ยว เพราะอ้อมภูเขาหลายลูก มีอัตราความ
เสี่ยงสูงในการเดินทางทั้งโดยรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ ครูที่เดินทางโดยรถจักรยานยนต์จะได้รับอุบัติเหตุ
บ่อยมาก โดยเฉพาะหน้าฝนถนนลื่นและเป็นโคลน นอกจากนี้ยังเป็นเส้นทางที่เปลี่ยวสองข้างทางไม่ค่อยมี
บ้านคน อันตรายอย่างยิ่งสาหรับครูผู้หญิง นับเป็นความยากลาบากต่อการบริหารงานด้านบุคลากร เพราะ
ต้องคานึงถึงความสมัครใจของครูที่จะไปทาการสอนด้วย หากต้องส่งครูที่ไม่เต็มใจไปก็จะไม่เกิดประโยชน์
อะไร
เส้นทางคมนาคมที่มีความยากลาบากในการเดินทาง ทั้งในส่วนของโรงเรียนบ้านเนิน
พยอม และโรงเรียนสาขาบึงนคร ทาให้โรงเรียนไม่ค่อยได้รับการช่วยเหลือดูแลในด้านต่าง ๆ จาก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเท่าที่ควร นอกจากนี้โรงเรียนยังต้องมีความยากลาบากในการนานักเรียนเดินทางไป
ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การแข่งขันกีฬา การรับทุนการศึกษา การเข้าค่ายลูกเสือ-เนตรนารี การเข้าค่ายทาง
วิชาการ การร่วมกิจกรรมในวันสาคัญต่าง ๆ ส่วนใหญ่ต้องนานักเรียนไปค้างคืน เนื่องจากไม่สามารถ
เดินทาง ไป – กลับในวันนั้นได้
(3) สภาพโรคภัยไข้เจ็บ หรือโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในชุมชนนักเรียน อันเป็นอุปสรรคต่อ
การศึกษาเล่าเรียนและการจัดการศึกษา มีดังนี้
ครูและนักเรียนมีอัตราเสี่ยงต่ออันตรายจากโรคภัยไข้เจ็บในอัตราสูง โดยเฉพาะไข้มาเลเรีย
และไข้เลือดออก เด็กนักเรียนมีความเสี่ยงต่อโรคที่เกิดจากขาดสารไอโอดีน โรคขาดอาหารในเด็กวัยก่อน
เข้าเรียน คือ เด็กอายุ 0 – 5 ปี ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ขาดสารอาหาร หรือขาดการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
ร่างกายและสมองจึงเจริญเติบโตอย่างไม่เต็มที่ ทาให้มีผลเสียระยะยาว คือ เมื่อเด็กเข้าโรงเรียน การเรียนรู้
สิ่งต่าง ๆ จะบกพร่อง ทั้งต่อสุขภาพร่างกาย และต่อสุขภาพจิต ติดโรคง่าย ร่างกายอ่อนแอ เฉื่อยชา เหม่อ
ลอย ซึมเศร้า ตกใจง่าย ควบคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้ ขาดความกระตือรือร้น รวมทั้งด้อยความสามารถในการ
เรียนรู้และการทางาน สภาพเช่นนี้นับเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียนและการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เป็นอย่างยิ่ง
(4) ลักษณะความเสี่ยงภัยจากโจรผู้ร้าย การระบาดของยาเสพติด อันทาให้นักเรียน ,
ครู,ประชาชน มีความเสี่ยงภัย ดังนี้
จากสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน ทาให้ไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เจ้าหน้าที่ไม่
สามารถเข้ามาดูแลให้ทั่วถึงได้ ห่างไกลสถานีตารวจ ชาวบ้านมักตัดสินแก้ปัญหาต่าง ๆ กันเองเมื่อเกิด
ความเสียหายต่อร่างกายและทรัพย์สิน เจ้าหน้าที่ของรัฐก็ไม่สามารถเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ได้ทันท่วงที ทาให้
ไม่สามารถจับคนร้ายและขจัดปัญหา หรือให้ความเป็นธรรมได้ ความขาดแคลนทาให้เกิดปัญหาการลักเล็ก
ขโมยน้อย การแย่งชิง เห็นแก่ตัว เอาเปรียบซึ่งกันและกัน
นักเรียนในหมู่บ้านเนินพยอม ต้องตกอยู่ในสภาพสังคมที่ด้อยการพัฒนา แวดล้อมไปด้วย
ผู้คนที่ด้อยการศึกษา ถูกปลูกฝังค่านิยมและความเชื่อที่ผิด ๆ นอกจากนี้เด็กยังต้องซึมซับเอาพฤติกรรมของ
ผู้ปกครองบางคน อันเป็นพฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างไม่ดีแก่เด็ก เช่น การด่าทอกันด้วยคาที่หยาบคาย การดื่ม
เหล้า สูบบุหรี่ ตลอดจนยาเสพติดบางชนิด เช่น ยาบ้า เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการเล่นการพนันในรูปแบบ
ต่าง ๆ อีกด้วย
(5) โรงเรียนมีภาระต้องช่วยผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน เพื่ออานวยให้โรงเรียนจัดการ
ศึกษา ได้ดังนี้
จากสภาพดังกล่าวมาข้างต้น โรงเรียนจึงเป็นหน่วยงานราชการเพียงหน่วยงานเดียวใน
ชุมชน โรงเรียนจึงต้องมีภาระในการช่วยเหลือชุมชนมากกว่าที่จะให้ชุมชนช่วยเหลือโรงเรียน แม้ว่าชุมชน
จะมีความศรัทธาต่อการทางานของคณะครู และมีความรู้สึกว่าตนเองเป็นเจ้าของโรงเรียน แต่ชุมชนก็ไม่มี
กาลังพอที่จะช่วยเหลือโรงเรียนได้ อีกทั้งยังต้องใช้เวลาทั้งหมดกับการทามาหากินเลี้ยงครอบครัวไปวัน ๆ
สิ่งที่โรงเรียนช่วยผู้ปกครองและชุมชน พอจะยกตัวอย่างได้ ดังนี้
- จัดหาชุดนักเรียนให้เพียงพอต่อจานวนนักเรียน
- จัดหาค่าพาหนะนักเรียนที่เดินทางไกลและยากจน
- จัดหาหนังสือและอุปกรณ์การเรียนให้นักเรียน
- จัดหาทุนการศึกษาให้กับนักเรียนให้ทั่วถึง
- จัดหารายได้เพื่อโครงการอาหารกลางวัน ให้เด็กได้รับประทานอาหารทุกวันและ
ทั่วถึงทุกคน
- บริการตัดผมฟรีให้กับนักเรียนและชาวบ้าน โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ที่ได้ผ่าน
การเรียนวิชาการตัดผมเบื้องต้น
- บริการและให้ความช่วยเหลือในด้านอาคารสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ใน
การจัดงานประจาปีของหมู่บ้าน การประชุมของชาวบ้านในโอกาสต่าง ๆ
- เป็นแกนนาในการดาเนินการกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ ของหมู่บ้าน เช่น การทอดกฐิน
ทอดผ้าป่า แห่เทียนเข้าพรรษา เป็นต้น
- ช่วยเหลือชาวบ้านในเรื่องของยา และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
- ช่วยเหลือ แนะนา ด้านการประกอบอาชีพให้แก่ชาวบ้าน โดยโรงเรียนได้ทาให้
เป็นตัวอย่าง เช่น การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกผักกางมุ้ง การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ เป็นต้น
ส่วนที่ 2
กรอบกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำร
กำรปฏิรูปกำรศึกษำในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561)
ยุทธศำสตร์
กลยุทธ์กรอบแผนปฏิบัติกำร ปีงบประมำณ 2559
ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
แนวทำงกำรดำเนินงำนของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
แนวทำงกำรพัฒนำ
หลักการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง 3 เป้าหมาย 4 กรอบแนวทาง
3 เป้ำหมำย ได้แก่
1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย
2. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและ
จัดการศึกษา
4 กรอบแนวทำง ได้แก่
1. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่
2. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่
3. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่
4. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่
นโยบำยกำรพัฒนำกำรศึกษำ
1. การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
2. โครงการเรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ
3. จัดตั้งโรงเรียนดีประจาตาบล
4. พัฒนาการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
5. สร้างแหล่งเรียนรู้ราคาถูก
6. สร้างเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
7. สร้างขวัญและกาลังใจครู
8. สนับสนุนองค์ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
วิสัยทัศน์
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
ประเทศไทยให้เป็นผู้นาหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปีการศึกษา 2558
พันธกิจ
พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา
อย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรมมีความสามารถตามมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล
เป้ำประสงค์
1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสอง
ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี อย่างทั่วถึงและได้เรียนรู้
ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ
4. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีความเข้มแข็งเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน สู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
5. การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาคุณภาพครู
และบุคลากรมีความปลอดภัยและมั่นคง
กลยุทธ์
1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ
ทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ
4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี
คุณภาพ
5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทาง
การศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา
6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
จุดเน้น
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้
3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง
4. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และ
ด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
5. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ
6. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา
อย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
7. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษา
พอเพียงต้นแบบ
8. นักเรียนครูและสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนา
อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
9. นักเรียน ครูและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน
10. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง
และผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก
11. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา
12.
เป้ำหมำยและตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ จาแนก
ตามกลยุทธ์ ดังนี้
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำทุกระดับตำมหลักสูตร
และส่งเสริมควำมสำมำรถทำงเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในกำรเรียนรู้
ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก
เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ต่อปี
ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่ม
สาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น
2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ทุกคนอ่านออก
เขียนได้และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุก
คนอ่านคล่อง เขียนคล่อง
ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 –
3 อ่านออก เขียนได้ และ นักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 อ่านคล่อง เขียน
คล่อง ตามเป้าหมายทุกคน
ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
3 นักเรียนมีความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อ เป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ร้อยละของนักเรียนมีความสามารถด้าน
เทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ควำมสำนึกในควำมเป็นชำติไทยและวิถีชีวิต
ตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง
ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
1 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม
จิตสานึกความเป็นไทย
จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีจิตสานึก
ความเป็นไทย ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์และการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข
2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3 โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและ
วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง
คุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติไทย
และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
- จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรม
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นโรงเรียนต้นแบบ 10,000 แห่ง
4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการ
ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง
จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการ
ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 3 ขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกำสใน
กำร พัฒนำเต็มตำมศักยภำพ
ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
1 ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2 ผู้เรียนได้เรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภายในกาหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ภายในเวลาที่หลักสูตรกาหนด
3 ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ ร้อยละของผู้พิการที่ได้รับการพ ัฒนา
สมรรถภาพ
4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษา
โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่าเรียน
หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ
นักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
จานวนผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนการศึกษา
โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่าเรียน
หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ
นักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำทั้งระบบ ให้สำมำรถจัดกำรเรียน
กำรสอนได้อย่ำงมีคุณภำพ
ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
1 ข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนาสามารถจัดการ
เรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ร้อยละของข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนา
สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ
2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง มีความ
เข้มแข็งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลใน
ระดับดีขึ้นไป
จานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีความ
เข้มแข็งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลใน
ระดับดี
3 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพอใจใน
ความมั่นคงของการประกอบวิชาชีพ ไม่น้อย
กว่าร้อยละ 85
ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มี
ความพอใจในความมั่นคงของการประกอบ
วิชาชีพ
4 บุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มี
คุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ตาม
มาตรฐาน หรือเกณฑ์ที่กาหนดไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 85
ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ
พัฒนาให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้
ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กาหนด
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนำประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ ตำมแนวทำงกำรกระจำย
อำนำจทำงกำรศึกษำ หลักธรรมภิบำล เน้นกำรมีส่วนร่วมจำกทุกภำคส่วนและควำมร่วมมือกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ
ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ
1 สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐาน - จานวนสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองได้รับ
การแก้ไขแทรกแซงเพื่อพัฒนาคุณภาพ
- ร้อยละของสถานศึกษาที่มีผลการประเมิน
คุณภาพภายนอกผ่านการรับรองมาตรฐาน
2 สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการนิเทศ ติดตาม
ช่วยเหลือการดาเนินงานให้มีคุณภาพ
จานวนสถานศึกษาที่ได้รับการนิเทศ ติดตาม
ช่วยเหลือการดาเนินงานให้มีคุณภาพ
3 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง มีความ
พร้อมและความเข้มแข็งในการบริหารและการ
จัดการศึกษา สามารถยกระดับคุณภาพ
มาตรฐานและธรรมาภิบาล
จานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีความ
พร้อมและความเข้มแข็งในการบริหารและการ
จัดการศึกษา สามารถยกระดับคุณภาพ
มาตรฐานและธรรมาภิบาล
4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจใน
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระบบโครงสร้ำงกำรบริหำร
- โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบ้านเนินพยอม
โรงเรียนบ้านเนินพยอม ตามโครงสร้างประกอบด้วย 4 กลุ่มงาน ดังนี้
1. งานบริหารวิชาการ
2. งานบริหารงบประมาณ
3. งานบริหารบุคลากร
4. งานบริหารทั่วไป
แผนภูมิระบบโครงสร้ำงกำรบริหำร
ผู้อำนวยกำรโรงเรียน
3. ข้อมูลนักเรียนโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม
ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2558 ) ดังนี้
1) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด 154 คน
2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน
งำนบุคลำกรงำนงบประมำณงำนวิชำกำร งำนบริหำรทั่วไป
นำงสมหมำย บุญเทศนำงอัจฉรำ ชูแก้วนำงสำวชลธิชำ แย้มอุทัยนำยมะคอลำ แวฮูลู
นักเรียน
คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนพื้นฐำน
3 ) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม 10 คน
4 ) มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 28 คน
5 ) มีนักเรียนปัญญาเลิศ …-…… คน
6 ) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
112 คน
7 ) จานวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลี่ย)…14…คน
8 ) สัดส่วนครู : นักเรียน = 1 : 12
9 ) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน(ปีปัจจุบัน)
1 คน
10) สถิติการขาดเรียน/เดือน ……….วัน
ข้อมูลนักเรียนโรงเรียนบ้ำนเนินพยอมสำขำบึงนคร
ระดับชั้น เพศ รวม
ชาย หญิง
อ.1
อ.2
6
6
6
8
12
14
รวม 12 14 26
ป.1
ป.2
ป.3
ป.4
ป.5
ป.6
6
4
12
6
5
9
7
8
12
9
6
4
13
12
24
15
11
13
รวม 42 46 88
ม.1
ม.2
ม.3
7
4
10
7
5
7
14
9
17
รวม 21 19 40
รวมจำนวน น.ร.
ทั้งหมด
75 79 154
ปัจจุบันโรงเรียน มีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2558 ) ดังนี้
1) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด 30 คน
2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน
3) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม.....2... คน
4) มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 1 คน
5) มีนักเรียนปัญญาเลิศ …-…… คน
6) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็น
พิเศษ....21.....คน
7) จานวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลี่ย)……4......คน
8) สัดส่วนครู : นักเรียน = 1 : 15
9) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน
(ปีปัจจุบัน) ..-...คน
10) สถิติการขาดเรียน/เดือน …… วัน
4. ข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม
ระดับชั้น เพศ รวม
ชาย หญิง
อ.1
อ.2
2
1
2
1
4
2
รวม 3 3 4
ป.1
ป.2
ป.3
ป.4
ป.5
ป.6
3
3
-
2
-
1
2
5
4
-
1
3
5
8
4
2
1
4
รวม 9 15 24
ม.1- ม. 6 - - -
รวม - - -
รวม จานวน น.ร.
ทั้งหมด
12 28 30
ประเภท
บุคลำกร
เพศ ระดับกำรศึกษำสูงสุด
อำยุเฉลี่ย
ประสบกำรณ์
เฉลี่ยชาย หญิง ต่ากว่า
ป.ตรี
ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี
ผู้อานวยการ 1 - - - 1 43 1
รองผู้อานวยการ - - - - - - -
ครูประจาการ 2 11 10 3 38 14
ครูอัตราจ้าง - - - - - - -
นักการ/ภารโรง - 1 1 - - 47 5
อื่น ๆ ระบุ - - - - - - -
รวม
3 12 1 11 4 - -
15
● มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก..................10....................คน ( 76.92 % )
● มีครูที่สอนวิชาตามความถนัด......................3....................คน ( 23.08 % )
ข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนบ้ำนเนินพยอมสำขำบึงนคร
ประเภท
บุคลากร
เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด
อายุเฉลี่ย
ประสบการณ์
เฉลี่ยชาย หญิง ต่ากว่า
ป.ตรี
ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี
ผู้อานวยการ - - - - - - -
รองผู้อานวยการ - - - - - - -
ครูประจาการ 2 - 2 - 43 15
ครูอัตราจ้าง - - - - - - -
นักการ/ภารโรง - - - - - - -
อื่น ๆ ระบุ - - - - - - -
รวม
1 1 - 2 - - -
2
● มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก....................2..................คน ( 100 % ) มีครูผู้สอน 2 คน
● มีครูที่สอนวิชาตามความถนัด.......................-.................คน ( - % ) จัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น
ข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม
ที่ ชื่อ - สกุล วุฒิ ตำแหน่ง/อันดับ หมำยเหตุ
1 นางสมหมาย บุญเทศ ค.บ.(สังคมศึกษา) ครู (คศ.3)
2 นางอัจฉรา ชูแก้ว ค.บ.(เกษตรศาสตร์)
ศษ.ม.(การบริหารการศึกษา)
ครู (คศ.3)
3 นายชยพล บุญเทศ ค.บ. (พลศึกษา) ครู (คศ.3)
4 นางกัญญา โพธารส ศศ.บ. (การศึกษาประถมศึกษา) ครู
5 นางวัลลภา พิทักษ์สฤษดิ์ วท.บ. (คหกรรมศาสตร์) ครู (คศ.3)
6 น.ส.นฤมล ง่วนกิม วท.บ. (คอมพิวเตอร์) ครูผู้ช่วย
7 นายมะคอลา แวฮูลู ศศ.บ. (คณิตศาสตร์) ครูผู้ช่วย
8 น.ส.วันวิสาข์ พรพนม กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ครูผู้ช่วย
9 น.ส.ชลธิชา แย้มอุทัย กศ.บ. (วิทยาศาสตร์) ครูผู้ช่วย
10 น.ส.อัจฉญาภรณ์ กาญจนภักดิ์ ศศ.บ. (เกษตรศาสตร์) ครูผู้ช่วย
11 น.ส. วนารี ชัยหา ค.บ. (ภาษาไทย) ครูผู้ช่วย
12 น.ส. ศรีวิจิตร เกิดวัน ค.บ. (ภาษาไทย) ครูผู้ช่วย
13 น.ส. สุภาพร ทองเงิน ค.บ. (การศึกษาประถมวัย) ครูผู้ช่วย
14 นายคณิต พูนขุนทด ศษ.บ.(ภาษาไทย) ครู(คศ.2) ช่วยราชการ
สาขาบึง
นคร
15 นายอภิชาต ธิมาชัย บธ.บ(คอมพิวเตอร์) ครูผู้ช่วย ช่วยราชการ
สาขาบึง
นคร
16 นางสาวพลับพลึง ทองเกิด ชั้น ป.6 ลูกจ้างชั่วคราว (นักการ
ฯ)
อำคำรเรียนและอำคำรประกอบ
(บ้ำนเนินพยอม)
ประเภทอำคำร
จำนวนหลัง จำนวนห้อง หมำยเหตุ
อาคารเรียน
อาคารอเนกประสงค์
โรงอาหาร
บ้านพักครู
ส้วม
ห้องพยาบาล
ห้องสมุด
อาคารสร้างเอง
3
1
1
4
3
1
1
1
8
1
1
9
12
1
1
1
ใช้เป็นห้องเรียน
ใช้เป็นศูนย์เด็กเล็ก
ของอบต.
อำคำรเรียนและอำคำรประกอบ
(สำขำบึงนคร)
ประเภทอำคำร
จำนวนหลัง จำนวนห้อง หมำยเหตุ
อาคารเรียน
อาคารสร้างเอง
โรงอาหาร
บ้านพักครู
ส้วม
ห้องสมุด
1
1
1
1
1
1
3
1
1
2
4
1
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559
แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559

More Related Content

What's hot

2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56จุฑารัตน์ ใจบุญ
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 somdetpittayakom school
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555Sircom Smarnbua
 
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมWatcharasak Chantong
 
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปกsomdetpittayakom school
 
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษาแผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษาThawatchai Rustanawan
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Mk Mankong
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนาLaila Sama-ae
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555Nattapon
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

What's hot (20)

2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
2554 ค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
ข้อมูลสารสนเทศรัษฎานุประดิษฐ์56
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
 
วารสาร
วารสารวารสาร
วารสาร
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม
 
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
1 แผนปฏิบัติการ 2557-ปก
 
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษาแผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนกลยุทธ์พัฒนาคุณภาพการศึกษา
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
Piriyalai 56 ok tu.indd-1-86
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนา
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 

Similar to แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559

2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53saenphinit
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นkruklai98
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานครmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63Watcharasak Chantong
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงSIRIMAUAN
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okDhanee Chant
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1guestfddbf2
 
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐานผอ.พีระยศ บุญเพ็ง
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554Thanawut Rattanadon
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 

Similar to แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559 (20)

2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
สารสนเทศ 53
สารสนเทศ  53สารสนเทศ  53
สารสนเทศ 53
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอแบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานผอ
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่นนำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
นำเสนอแนะนำร.ร.บ้านตุ่น
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
โรงเรียนวัดห้วยพระ sar 63
 
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
โครงการเติมรักสานฝันสู่บ้านอิต่อง1
 
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕  มาตรฐาน
๑.ประกาศการใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย ๑๕ มาตรฐาน
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 

แผนปฏิบัติการโรงเรียนบ้านเนินพยอม2559

  • 1. แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 โรงเรียนบ้านเนินพยอมและสาขาบึงนคร สพป.ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 เลขที่ 95 หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110 โทร. 032 - 640074 คำนำ
  • 2. ตามที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดการบริหารงบประมาณงบเงิน อุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป รายการเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม หนังสือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ศธ 04006/2279 ลงวันที่ 16 ธันวาคม 2548 เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการใช้จ่ายงบประมาณ งบเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัว จัดสรรให้สถานศึกษา เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน ให้ได้ประโยชน์สูงสุดในการพัฒนานักเรียนให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 โดยมีแนวทางการใช้จ่ายงบประมาณเกิดประโยชน์ต่อการเรียน การสอนได้มากที่สุด กาหนดแนวทางปฏิบัติ 4 ข้อ ดังนี้ 1.ให้สถานศึกษาจัดทาแผนการปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ นโยบายและจุดเน้นของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.เสนอแผนปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษาผ่านความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.รายงานผลการดาเนินงานของสถานศึกษาให้สาธารณชนได้ทราบ 4.การใช้จ่ายงบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนการปฏิบัติงานประจาปีของสถานศึกษา ดังนั้นสถานศึกษาจะต้องจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ และดาเนินการตามหลักเกณฑ์และแนว ปฏิบัติการใช้จ่ายงบประมาณ งบเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายรายหัว และใช้ในการติดตาม ควบคุม การใช้จ่าย งบประมาณ เงินอุดหนุนรายหัว ประจาปีงบประมาณ 2559 และได้ผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว การจัดทาเอกสารนี้ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง จากคณะครู เจ้าหน้าที่ธุรการ และคณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน โดยมีจุดมุ่งหมายเน้นประโยชน์ถึงผู้เรียน ขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในการจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีงบประมาณ 2559 ให้สามารถใช้ ในการบริหารงบประมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านเนินพยอม 1 ตุลาคม 2558 สำรบัญ
  • 3. สำรบัญ (ต่อ) หน้า คานา สารบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1 ส่วนที่ 2 กรอบการจัดทาแผนปฏิบัติราชการ 15 ส่วนที่ 3 กลยุทธการจัดการศึกษาของโรงเรียน 32 ส่วนที่ 4 ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา 37 ส่วนที่ 5 รายละเอียดงบประมาณ/โครงการ 39 กลุ่มบริหำรงำนวิชำกำร 45 โครงกำรที่ 1 เร่งรัดพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ 46 - กิจกรรมที่ 1 ยกระดับคุณภาพทางวิชาการ - กิจกรรมที่ 2 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วันละคา - กิจกรรมที่ 3 คลังข้อสอบ - กิจกรรมที่ 4 สอนเสริม ติวข้อสอบ และเด็กพิเศษเรียนร่วม - กิจกรรมที่ 5 การเรียนการสอนโดยใช้โครงงาน โครงกำรที่ 2 ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง 50 - กิจกรรมที่ 1 สหกรณ์โรงเรียน - กิจกรรมที่ 2 การปลูกพืชผักสวนครัวปลอดสารพิษ - กิจกรรมที่ 3 การเพาะเห็ดนางฟ้า - กิจกรรมที่ 4 การออมทรัพย์ โครงกำรที่ 3 โรงเรียนวิถีพุทธ 54 - กิจกรรมที่ 1 บันทึกความดี - กิจกรรมที่ 2 เสริมสร้างคุณธรรมในสถานศึกษา - กิจกรรมที่ 3 เข้าค่ายปฏิบัติธรรม - กิจกรรมที่ 4 เรียนธรรมะกับพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน - กิจกรรมที่ 5 นั่งสมาธิ ปฏิบัติธรรมในวันธรรมสวนะ และการสวดมนต์ไหว้พระประจาสัปดาห์ - กิจกรรมที่ 6 การจัดกิจกรรมวันสาคัญ - กิจกรรมที่ 7 พุทธศาสนสุภาษิตประจาสัปดาห์ - กิจกรรมที่ 8 เนินพยอม น้อมใจภัก รักษาศีล 5
  • 4. สำรบัญ (ต่อ) หน้า โครงกำรที่ 4 พัฒนำแหล่งเรียนรู้และห้องสมุด 59 - กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ - กิจกรรมที่ 2 บันทึกการอ่าน - กิจกรรมที่ 3 ฐานการเรียนรู้ - กิจกรรมที่ 4 การให้บริการของห้องสมุด - กิจกรรมที่ 5 เสียงตามสาย โครงกำรที่ 5 พัฒนำหลักสูตร 65 - กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาหลักสูตร โครงกำรที่ 6 นิเทศภำยใน 69 - กิจกรรมที่ 1 การนิเทศการเรียนการสอน โครงกำรที่ 7 พัฒนำศักยภำพเด็กปฐมวัย 72 - กิจกรรมที่ 1 รักสุขภาพ - กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย ด้านศิลปะ ดนตรีและการเคลื่อนไหว - กิจกรรมที่ 3 พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมเด็กปฐมวัย - กิจกรรมที่ 4 ฝึกทักษะแสวงหาความรู้สู่ตนเอง โครงกำรที่ 8 กำรปรับปรุงภูมิทัศน์ 80 - กิจกรรมที่ 1 การปรับปรุงภูมิทัศน์ อาคารสถานที่บริเวณโรงเรียน โครงกำรที่ 9 ส่งเสริมและพัฒนำทักษะกำรอ่ำน 84 - กิจกรรมที่ 1 เขียนตามคาบอก - กิจกรรมที่ 2 แข่งขันตอบคาถามจากสารานุกรม - กิจกรรมที่ 3 อ่านออกเสียง กลุ่มบริหำรงบประมำณ 88 โครงกำรที่ 10 ประกันคุณภำพภำยในสถำนศึกษำ 89 - กิจกรรมที่ 1 การจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี - กิจกรรมที่ 2 รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (SAR) - กิจกรรมที่ 3 การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา - กิจกรรมที่ 4 การจัดทาข้อมูลสารสนเทศ - กิจกรรมที่ 5 รายงานการคานวณต้นทุนผลผลิต หน้ำ
  • 5. สำรบัญ (ต่อ) - กิจกรรมที่ 6 ระดมทุนเพื่อพัฒนาการศึกษา - กิจกรรมที่ 7 รายงานการควบคุมภายใน กลุ่มบริหำรงำนบุคลำกร 95 โครงกำรที่ 11 พัฒนำครูสู่ปฏิรูปกำรศึกษำ 96 - กิจกรรมที่ 1 การจัดทาแผนการเรียนรู้ - กิจกรรมที่ 2 การอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงาน - กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมการใช้และพัฒนาสื่อการเรียนการสอน - กิจกรรมที่ 4 สร้างขวัญและกาลังใจ กลุ่มบริหำรทั่วไป 101 โครงกำรที่ 12 ส่งเสริมสุขภำพอนำมัยโรงเรียน 102 - กิจกรรมที่ 1 ยิ้มสวยด้วย ฟ ฟัน - กิจกรรมที่ 2 การเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพนักเรียน - กิจกรรมที่ 3 โภชนาการและอาหารที่ปลอดภัย - กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมการออกกาลังกาย - กิจกรรมที่ 5 สุขาน่าใช้ โครงกำรที่ 13 ส่งเสริมประชำธิปไตย 107 - กิจกรรมที่ 1 เลือกตั้งคณะกรรมการบริหารนักเรียน - กิจกรรมที่ 2 การดูแลเขตรับผิดชอบบริเวณโรงเรียน - กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมประจาวันของคณะกรรมการบริหารนักเรียน โครงกำรที่ 14 ธนำคำรขยะลดโลกร้อน 112 - กิจกรรมที่ 1 การแยกขยะสร้างรายได้ โครงกำรที่ 15 กำรเรียนรู้วิชำชีพกับภูมิปัญญำท้องถิ่น 116 - กิจกรรมที่ 1 การเรียนรู้วิชาชีพกับภูมิปัญญาท้องถิ่น โครงกำรที่ 16 กำรดำเนินงำนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 119 - กิจกรรมที่ 1 รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล - กิจกรรมที่ 2 ประชุมผู้ปกครอง - กิจกรรมที่ 3 เยี่ยมบ้านนักเรียน - กิจกรรมที่ 4 จัดหาทุนการศึกษา - กิจกรรมที่ 5 เรียนฟรี 15 ปี - กิจกรรมที่ 6 การช่วยเหลือปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน
  • 7. ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐำน 1. ข้อมูลทั่วไปโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม 1.1 ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านเนินพยอม เลขที่ 95 หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รหัสไปรษณีย์ 77110 โทรศัพท์ 032-640074 e-mail bannurnpayom@hotmail.com / website http://npy.pkn2.go.th
  • 8. สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 1.2 เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ชั้นอนุบาล ถึง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีเนื้อที่ 10 ไร่ - งาน 1.3 มีเขตพื้นที่บริการ 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1, หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 9 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โรงเรียนใช้พลังงานแสงอาทิตย์ และจานรับสัญญาณดาวเทียมใน การสื่อสาร / Internet และเทคโนโลยีต่าง ๆ ข้อมูลทั่วไปโรงเรียนบ้ำนเนินพยอมสำขำบึงนคร - ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านบ้านเนินพยอมสาขาบึงนคร เลขที่ 223 หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รหัสไปรษณีย์ 77110 โทรศัพท์ 032-640073 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 - เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ชั้นอนุบาล ถึง ระดับประถมศึกษาปีที่ 6 - มีเขตพื้นที่บริการ 1 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2. ข้อมูลด้ำนกำรบริหำร 2.1 ผู้อานวยการโรงเรียน ชื่อ นายดิลก ยี่รงค์ (เบอร์โทร. 081 - 9972676) วุฒิทางการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหาร การศึกษา ดารงตาแหน่งที่โรงเรียนนี้ ตั้งแต่วันที่ 25 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2558 2.2 ผู้ช่วยผู้บริหาร (ที่ได้รับแต่งตั้ง) - คน 2.3 ประวัติโรงเรียน/สภาพปัจจุบัน กำรก่อตั้ง/สภำพปัจจุบันโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม ประวัติควำมเป็นมำของโรงเรียน โรงเรียนบ้านเนินพยอม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 8 ตาบลหนองพลับ (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร) อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เปิดทาการสอนในระดับประถมศึกษา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2522 ตรงกับวันจันทร์ แรม 7 ค่า เดือน 8 ปีมะแม โดยผู้ใหญ่อ่วน ท้วมอาจ และ นายเขียน โวททวี ได้ร่วมกันบริจาคที่ดินรวม 10 ไร่ พร้อมด้วยประชาชนชาวบ้านเนินพยอมได้ร่วมกัน บริจาควัสดุก่อสร้างอาคารเรียนชั่วคราว 1 หลัง ขนาดกว้าง 5 เมตร ยาว 17 เมตร หลังคามุงสังกะสีมอบ
  • 9. ให้สานักงาคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติกระทรวงศึกษาธิการ โดย นายกอบชัย ธนสารนันต์ ผู้รักษาการในตาแหน่ง หัวหน้าการประถมศึกษาอาเภอหัวหิน เป็นผู้ทาการเปิดโรงเรียน โดยมี นายปัญญา วงษ์ชื่น เป็นผู้รักษาการในตาแหน่งครูใหญ่ และดาเนินการจัดการเรียนการสอนอยู่เพียงคนเดียว มีนักเรียน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 64 คน ต่อมาในปี พ.ศ. 2524 มูลนิธิชูชีพ สนิท พลอยน้อย (ปราณบุรี) ร่วมกับชาวบ้าน และผู้ปกครอง นักเรียน บริจาคสร้างอาคารเรียนอเนกประสงค์ให้อีก 1 หลัง ขนาดกว้าง 8 เมตร ยาว 28 เมตร หลังคา มุงสังกะสี พื้นคอนกรีต (ไม่มีฝากั้น) คิดเป็นมูลค่าจานวนเงิน 165,000 บาท ปี พ.ศ. 2525 ได้รับจัดสรรงบประมาณสร้างอาคารเรียนถาวร 1 หลัง แบบ ป.1จ. ขนาด 4 ห้องเรียน เป็นเงิน 520,000 บาท ปี พ.ศ. 2526 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครู 1 หลัง แบบ สปช. 301-2526 เป็นตึก คสล.2 ชั้น 2 ห้องนอน เป็นเงินจานวน 150,000 บาท ปี พ.ศ. 2526 ได้รับอนุมัติและมอบหมายให้เปิดขยายโรงเรียนสาขาบึงนคร อีก 1 สาขา เปิดทาการ สอนตั้งแต่ชั้น ป.1 – ป.6 ปี พ.ศ. 2527 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม 1 หลัง จานวน 4 ที่ พร้อมที่ปัสสาวะ (แบบ สปช. 601 – 2526) เป็นเงินจานวน 40,000 บาท ปี พ.ศ. 2528 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช. 202 – 2526 จานวน 1 หลัง ขนาดกว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร เป็นเงินจานวน 200,000 บาท ปี พ.ศ. 2528 ได้รับงบประมาณ สร้างถังเก็บน้าซีเมนต์แบบ ฝ.30 (พิเศษ) 1 ชุด ความจุเก็บน้าได้ 30 ลบ.ม. เป็นเงินจานวน 30,000 บาท ปี พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน 1 หลัง แบบ สปช. 102 – 2526 จานวน 2 ห้องเรียน เป็นเงินจานวน 280,000 บาท ปี พ.ศ. 2529 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม 1 หลัง จานวน 4 ที่ พร้อมที่ปัสสาวะ (แบบสปช.601 – 2526) เป็นเงินจานวน 40,000 บาท โดยสร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร ปี พ.ศ. 2530 ได้รับงบประมาณสร้างอาคารเรียน 1 หลัง แบบ สปช. 102 – 2526 จานวน 3 ห้องเรียน (สร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร) ปี พ.ศ. 2531 ได้รับอนุมัติให้เปิดขยายโรงเรียนบ้านหนองหินในอีก 1 สาขา เปิดทาการสอนตั้งแต่ ชั้น ป.1 – ป.6 ปี พ.ศ. 2531 ได้รับงบประมาณสร้างถังเก็บน้าซีเมนต์ แบบ ฝ.30 (พิเศษ) 1 ชุด ความจุเก็บน้าได้ 30 ลบ.ม. เป็นเงินจานวน 40,000 บาท (สร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร) ปี พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณรื้อย้ายบ้านพักครูแบบองค์การ จากโรงเรียนบ้านหนองตะเภา จานวน 100,000 บาท ปี พ.ศ. 2533 ได้รับงบประมาณสร้างเรือนเพาะชา แบบ พ.1 ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 6 เมตร เป็นจานวนเงิน 15,000 บาท
  • 10. ปี พ.ศ. 2535 ได้รับงบประมาณรื้อย้ายบ้านพักครูแบบองค์การ จากโรงเรียนบ้านเนินตะเคียนมา สร้างใหม่ที่โรงเรียนสาขาบึงนคร 1 หลัง เป็นเงินจานวน 50,000 บาท ปี พ.ศ. 2535 ได้รับความเห็นชอบ ให้เปิดขยายโอกาสทางการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้น ม.1 – ม.3) ตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา ปี พ.ศ. 2536 ได้รับงบประมาณสร้างบ้านพักครูแบบ สปช. 301-2526 เป็นตึก คสล. 2 ชั้น 2 ห้องนอน เป็นเงินจานวน 280,000 บาท ปี พ.ศ. 2536 ได้รับงบประมาณสร้างอาคาร แบบ สปช. 101 – 2526 อีก 1 หลัง ขนาด 4 ห้องเรียน ยกพื้นใต้ถุนโล่ง เป็นเงินจานวน 780,000 บาท ปี พ.ศ. 2536 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม (แบบ สปช. 601 – 2526) อีก 1 หลัง จานวน 2 ที่ พร้อมที่ปัสสาวะ เป็นเงินจานวน 45,000 บาท (สร้างที่โรงเรียนสาขาบึงนคร) ปี พ.ศ. 2539 ได้รับงบประมาณจากสานักงานโยธาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สร้างถังเก็บน้าซีเมนต์ ขนาดความจุ 50 ลบ.ม. จานวน 1 ชุด เป็นเงินจานวน 200,000 บาท ปี พ.ศ. 2539 ได้รับงบประมาณสร้างสนามกีฬาบาสเกตบอล ขนาดกว้าง 15 เมตร ยาว 28 เมตร เป็นเงินจานวน 128,000 บาท ปี พ.ศ. 2540 ได้รับบริจาควัสดุก่อสร้างและแรงงาน จากนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยา เขตวังไกลกังวลหัวหิน สร้างอาคารห้องสมุด ขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 7 เมตร เป็นเงินจานวน 231,089 บาท ปี พ.ศ. 2540 โรงเรียนได้เปิดสอนชั้นอนุบาล 3 ขวบ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และ ได้รับการพิจารณาให้เป็นโรงเรียนในโครงการปฏิรูปการศึกษา ปีงบประมาณ 2540 ของ กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2542 ได้รับงบประมาณจากงบกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างถังน้าซีเมนต์ แบบ ฝ.30 (พิเศษ) ความจุ 30 ลบ.ม. เป็นเงินจานวน 81,000 บาท ปี พ.ศ. 2542 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมด้วยคณะครู และผู้ปกครอง ได้ร่วมกัน ก่อสร้างอาคารพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 9 เมตร เป็นเงิน จานวน 125,000 บาท ปี พ.ศ. 2544 ได้ปรับปรุงโรงอาหาร โดยได้รับการสนับสนุนจาก บริษัทเหล็กแผ่นเคลือบไทย จากัด เป็นเงินจานวน 73,190 บาท ปี พ.ศ. 2544 ได้รับงบประมาณสร้างส้วมแบบ สปช. 601-2526 จานวน 4 ที่ พร้อมที่ปัสสาวะ เป็นเงินจานวน 110,000 บาท ปี พ.ศ. 2545 ได้รับการสนับสนุนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ พร้อมอุปกรณ์ ต่าง ๆ จากศูนย์พัฒนาและเผยแพร่พลังงานภูมิภาคจังหวัดราชบุรี คิดเป็นเงินจานวน 1.8 ล้านบาท ปี พ.ศ. 2550 ข้าราชการตารวจ สน.ดินแดง และ สน.โชคชัย ร่วมบริจาคปรับปรุงซ่อมแซมอาคาร ชั่วคราวหลังแรก ได้เปลี่ยนฝาผนัง,หลังคา และพื้นปูกระเบื้อง งบประมาณ 170,000 บาท
  • 11. ปี พ.ศ. 2552 ได้งบประมาณสร้างส้วม แบบ สปช 604-45 จานวน 4 ห้องพร้อมที่ปัสสาวะ เป็น จานวน 242,000 บาท ปี พ.ศ. 2553 ได้รับการสนับสนุนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลส์พลังงานแสงอาทิตย์และ USO net ตามโครงการโทรคมนาคมพื้นฐานโดยทั่วถึงและบริการเพื่อสังคม สาหรับโรงเรียนที่ไม่มีไฟฟ้า ปี พ.ศ. 2554 จัดทอดผ้าป่าเพื่อการศึกษาเพื่อปรับปรุง ซ่อมแซมโรงอาหาร ปี พ.ศ. 2555 สร้างวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปและ พระบรมสารีริกธาตุ ปี พ.ศ. 2556 สร้างแท้งค์น้าคอนกรีต 16 เหลี่ยม (บิ๊กแท้งค์) สูง 10 ชั้นๆละ 80 ซม. เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.60 เมตร ผนังแท้งค์หนา 10 ซม. ขนาด ความจุน้า 36,000 ลิตร ราคา 100,000 บาท ผู้บริหารโรงเรียนตั้งแต่เริ่มจัดตั้งโรงเรียน คือ นายปัญญา วงษ์ชื่น ปัจจุบันดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน ตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2540 จนถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2556 ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเนินพยอม และสาขาบึงนคร มีพื้นที่รวมจานวน 22 ไร่ มีอาคารเรียน 4 หลัง 13 ห้องเรียน อาคารอเนกประสงค์ 1 หลัง ส้วม 4 หลัง 14 ที่ โรงอาหาร 2 หลัง (สร้างเอง) ห้องสมุด 2 หลัง (สร้างเอง) ร้านสหกรณ์ 1 หลัง (สร้างเอง) สนามเด็กเล่น 2 แห่ง เรือนเพาะชา 1 หลัง บ้านพัก ครู 5 หลัง อาคารพยาบาล 1 หลัง (สร้างเอง) ปัจจุบันโรงเรียนบ้านเนินพยอม ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่ติดต่อใกล้กับบริเวณที่เขื่อนชลประทานปราณบุรี อาเภอปราณบุรี จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่พิเศษ ตามประกาศของกระทรวงการคลัง พื้นที่โดยทั่วไปเป็น ภูเขาสลับซับซ้อน มีเขตบริการในพื้นที่ 4 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 1 บ้านหนองหินใน หมู่ที่ 2 บ้านเนินพยอม หมู่ที่ 9 บ้านภูหลวง และมีสาขาบึงนคร อยู่ในเขตบริการอีก 1 สาขา ซึ่งตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 1. ทิศเหนือ ติดต่อกับทางสาธารณะและภูเขา 2. ทิศใต้ ติดต่อกับลาห้วย 3. ทิศตะวันออก ติดต่อกับทางสาธารณะ 4. ทิศตะวันตก ติดต่อกับพื้นที่บ้าน นายต้น นาคบุญ กำรก่อตั้ง/สภำพปัจจุบันของโรงเรียนบ้ำนเนินพะยอมสำขำบึงนคร โรงเรียนบ้านเนินพยอมสาขาบึงนคร ตั้งอยู่ เลขที่ 223 หมู่ที่ 5 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เปิดทาการสอนเมื่อวันที่ 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2526 มีเนื้อที่ 12 ไร่ 2 งาน เป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนบ้านเนินพยอม ซึ่งอยู่ห่างจากโรงเรียนบ้านเนินพยอม 17 กิโลเมตร ปัจจุบัน มีครู 2 คน คติพจน์ประจำโรงเรียน “จิตตัสสะ ทมโถ สาธุ จิตตัง ทันตัง สุขาวหัง”
  • 12. (การฝึกจิตเป็นความดีจิตที่ฝึกแล้วนาสุขมาให้) ปรัชญำโรงเรียน “คุณธรรม นาความรู้ สู่กิจกรรมเด่น เน้นวินัย” คุณธรรม หมายถึง การปลูกฝังให้ผู้เรียนประพฤติปฏิบัติ คุณงาม ความดี ยึดมั่นในคาสอนในศาสนาที่ ตนนับถือ โดยเน้นให้ผู้เรียนประพฤติดีทั้งทางกาย วาจา ใจ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ ประเทศชาติ นำควำมรู้ หมายถึง หมายถึง การสร้างพื้นฐานการดารงชีวิตของมนุษย์คือ ความรู้โดยผู้เรียนได้ เรียนรู้เพื่อนาความรู้มาพัฒนาตนเองในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาอย่างเหมาะสม มี ผลงานแสดงความก้าวหน้าเป็นของตนเองโดยใช้หลักสูตรเป็นแนวปฏิบัติ สู่กิจกรรมเด่น หมายถึงในขณะที่ศึกษาอยู่นั้นผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่สร้างเสริม ประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้มีทักษะการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนนั้น ได้รับความรู้ อย่างหลากหลายโดยเต็มศักยภาพ ทั้งกิจกรรมภายในโรงเรียนและกิจกรรมที่จะต้องทาร่วมกับชุมชนทั้ง ภาครัฐและเอกชน เน้นวินัย หมายถึง ผู้เรียนจะเป็นผู้ที่สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ด้วยเป็นผู้ที่รู้รับผิดชอบต่อ หน้าที่ ปฏิบัติตนได้อย่างมีระเบียบวินัย สามารถจัดระเบียบให้ตนเองและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สีประจำโรงเรียน แสด-ดา สีแสด หมายถึง ความเฉียบแหลม สีดา หมายถึง ความหนักแน่น ความอดทน ความห่วงหาอาทร อักษรย่อของโรงเรียน ระดับประถมศึกษา “ น.ย.” ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น “ม.น.ย.” สภำพทั่วไปและสภำพปัญหำของโรงเรียน (1) ลักษณะความกันดาร ความเสี่ยงภัย การคมนาคมไม่สะดวก และมีความยากลาบาก ในการจัด การศึกษาของโรงเรียน ดังนี้ สภำพที่ตั้ง โรงเรียนบ้านเนินพยอมตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 2 ตาบลบึงนคร อาเภอหัวหินจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่กันดารตามประกาศของกระทรวงการคลัง มีสภาพที่ตั้งมีความ ยากลาบากต่อการพัฒนาโรงเรียนอย่างยิ่ง กล่าวคือ สภาพที่ตั้งทางสังคมและวัฒนธรรม โรงเรียนบ้านเนินพยอมตั้งอยู่ในหมู่บ้านที่ห่างไกลสังคม เมือง ห่างไกลความเจริญในทุก ๆ ด้าน ขาดแคลนสาธารณูปโภคทั้งปวง โดยเฉพาะสิ่งจาเป็นพื้นฐานใน
  • 13. การดารงชีวิตของมนุษย์ เช่น แหล่งน้า สถานพยาบาล กระแสไฟฟ้า การประปา ตลาด เป็นต้น ห่างไกล หน่วยราชการที่จาเป็นต้องติดต่อ เช่น ที่ว่าการอาเภอ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 สถานีตารวจ ที่ทาการไปรษณีย์โทรเลข สานักงานที่ดิน สถานีขนส่ง เป็นต้น การ ขาดสิ่งเหล่านี้ที่ทาให้ชาวบ้านไม่สามารถดารงชีวิตและเลี้ยงดูครอบครัวให้อยู่ดีกินดีได้ ไม่มีปัจจัยทางสังคม ที่เอื้ออานวยต่อการประกอบอาชีพ เช่น ไม่มีการแลกเปลี่ยนสินค้า ขาดการพัฒนาส่งเสริมด้านอาชีพแก่ ชาวบ้าน นอกจากนี้หมู่บ้านเนินพยอมยังเป็นหมู่บ้านที่มีสภาพล้าหลังทางด้านวัฒนธรรม ขาดวัฒนธรรมที่ ดีอันเป็นตัวกาหนดควบคุมพฤติกรรมของสังคม สภาพที่ตั้งด้านภูมิศาสตร์และธรรมชาติ โรงเรียนบ้านเนินพยอมตั้งอยู่ในพื้นที่แห้งแล้ง ขาดน้า แม้โรงเรียนสร้างฝายกั้นน้าไว้ แต่ไม่สามารถเก็บกักน้าให้เพียงพอต่อความต้องการได้เมื่อถึง หน้าแล้ง โรงเรียนจึงขาดน้าในการอุปโภค บริโภค เนื่องจากน้าที่ใช้ฝายกั้นไว้นั้นแห้งขอด น้าฝนที่ โรงเรียนเก็บกักไว้สาหรับครูและนักเรียน ก็ไม่เพียงพอต่อความต้องการ ครูต้องการขนน้าจากที่อื่นมา อุปโภคบริโภค ด้วยระยะทางที่ห่างไกล การขาดน้าก็คือการขาดความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ ทาให้ ชาวบ้านมีความลาบากในการประกอบอาชีพ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอาชีพการเกษตร เช่นเดียวกับโรงเรียน เมื่อขาดน้าก็ไม่สะดวกต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเฉพาะวิชางานเกษตรและการเปิดสอน วิชาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเกษตร นอกจากนี้แล้ว โรงเรียนบ้านเนินพยอมยังมีทาเลที่ตั้งอยู่ไม่เหมาะสม คืออยู่ในหุบเขา ด้านหน้าติดถนนและภูเขา ด้านข้างติดถนนและที่ดินของชาวบ้าน ด้านหลังติดลาห้วยมีพื้นที่น้อย ยากต่อ การพัฒนาด้านอาคารสถานที่ให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายได้ สภาพความแห้งแล้งของพื้นดินที่มีทั่วบริเวณหมู่บ้าน นับเป็นปัญหาต่อการประกอบอาชีพ เกษตรกรรมของชาวบ้านเป็นอย่างมาก ทาให้มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของชาวบ้าน กล่าวคือชาวบ้าน ยากจนหาเช้ากินค่า ขาดแคลนในทุก ๆ ด้าน และส่งผลกระทบต่อนักเรียนในปกครอง ทาให้เป็นอุปสรรค ต่อการจัดการเรียนการสอน ในส่วนของโรงเรียนสาขาบึงนคร ซึ่งเป็นโรงเรียนสาขาของโรงเรียนบ้านเนิน พยอม ตั้งอยู่ห่างจากโรงเรียนบ้านเนินพยอมประมาณ 15 กิโลเมตร คือตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่ที่ 5 ตาบล บึงนคร อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีสภาพที่ตั้งและความกันดารไม่แตกต่างกันนัก การที่ โรงเรียนแม่และโรงเรียนสาขาตั้งอยู่ห่างไกลกันเช่นนี้ และมีความยากลาบากในการคมนาคม ติดต่อสื่อสาร ทาให้มีผลกระทบต่อการบริหารงาน แต่โรงเรียนก็สามารถพัฒนาไปได้ด้วยผลที่น่าพอใจ ควำมเสี่ยงภัย ครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านเนินพยอม มีความเสี่ยงภัยในเรื่องของการ เดินทาง เนื่องจากการคมนาคมไม่สะดวก นอกจากนี้ยังมีอันตรายจากโรคภัยไข้เจ็บด้วยโรคไข้มาลาเรีย ไข้เลือดออก เป็นต้น (2) ลักษณะของความยากลาบากของการคมนาคมระหว่างโรงเรียนกับชุมชน – อาเภอ – จังหวัด มีดังนี้ โรงเรียนบ้านเนินพยอมมีระยะห่างจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 2 ประมาณ 43 กิโลเมตร ระยะทางดังกล่าวเป็นถนนลูกรังประมาณ 28 กิโลเมตร
  • 14. และเป็นเส้นทางคดเคี้ยว บางช่วงเป็นที่ลาดชัน ทาให้เส้นทางคมนาคมนี้เป็นเส้นทางที่เสี่ยงต่ออันตรายสูง ในทุกฤดูกาล หน้าฝนถนนเป็นโคลน มีน้าขังเป็นแอ่ง หน้าแล้งก็เต็มไปด้วยฝุ่นละออง บางปีน้าท่วม เส้นทางขาด เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางเป็นอย่างมาก และเป็นเส้นทางคมนาคมที่ไม่มีรถโดยสารประจา ทาง ถนนในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะเป็นถนนที่ใช้กับรถจักรยานยนต์และทางเท้าเสียมากกว่า ในส่วนของการ ติดต่อระหว่างโรงเรียนกับจังหวัดนั้น มีความยากลาบากมากในการเดินทาง คือต้องเสียเวลาอย่างน้อย 1 วัน ในการไปติดต่องานแต่ละครั้ง เนื่องจากมีระยะห่างประมาณ 150 กิโลเมตร รวมกับการเดินทางจาก โรงเรียนมายังท่ารถที่อาเภอหัวหิน เส้นทางคมนาคมนับเป็นสิ่งจาเป็นต่อการพัฒนาโรงเรียน พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน เพราะเมื่อครูมีความยากลาบากในการเดินทาง ไม่สามารถเดินทางไป-กลับระหว่างบ้านกับโรงเรียนได้ ต้อง ทิ้งภาระทางบ้านไว้กับคนอื่น หรือกับคู่สมรสเพียงฝ่ายเดียว โดยเฉพาะหน้าที่ในการดูแลลูก การอบรมบ่ม นิสัยลูก ทาให้เกิดผลกระทบต่อสภาพครอบครัว ส่งผลทาให้ครูขาดขวัญและกาลังใจในการทางานได้ ในส่วนของนักเรียน เส้นทางคมนาคมที่ย่าแย่ทาให้นักเรียนมาโรงเรียนสาย หรือมาโรงเรียนไม่ได้ เพราะเส้นทางขาด นอกจากนี้เส้นทางคมนาคมยังเป็นปัจจัยสาคัญมากในการพัฒนาหมู่บ้าน หมู่บ้านจะเจริญ ได้ต้องอาศัยเส้นทางคมนาคมเป็นหลัก เปรียบเสมือนเส้นโลหิตใหญ่ของร่างกาย หรือเข้าทานองที่ว่าความ เจริญส่วนใหญ่มากับสายไฟฟ้า เมื่อถนนดาไม่มา ไฟฟ้าก็ไม่มี ไม่มีสิทธิใช้พัดลม โทรทัศน์ ตู้เย็น เมื่อมี ความยากลาบากในการสัญจรไปมา สังคมของชาวบ้านก็เป็นสังคมที่แคบ ขาดการสื่อสารกับสังคม ภายนอกที่มีความเจริญกว่า คนภายนอกก็ไม่อยากเดินทางเข้ามาในหมู่บ้าน เพราะไม่มีความจาเป็นอะไร สภาพเช่นนี้ส่งผลกระทบต่อสภาพความเป็ นอยู่ของนักเรียน ทาให้นักเรียนขาดการเรียนรู้ขาด ประสบการณ์ตรงในด้านต่าง ๆ ที่ควรจะได้รับนอกเหนือจากที่โรงเรียน ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนประการหนึ่ง ในส่วนของโรงเรียนสาขาบึงนคร ซึ่งเป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ห่างจากโรงเรียนบ้านเนิน พยอม ประมาณ 15 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่มีความสูงชัน คดเคี้ยว เพราะอ้อมภูเขาหลายลูก มีอัตราความ เสี่ยงสูงในการเดินทางทั้งโดยรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ ครูที่เดินทางโดยรถจักรยานยนต์จะได้รับอุบัติเหตุ บ่อยมาก โดยเฉพาะหน้าฝนถนนลื่นและเป็นโคลน นอกจากนี้ยังเป็นเส้นทางที่เปลี่ยวสองข้างทางไม่ค่อยมี บ้านคน อันตรายอย่างยิ่งสาหรับครูผู้หญิง นับเป็นความยากลาบากต่อการบริหารงานด้านบุคลากร เพราะ ต้องคานึงถึงความสมัครใจของครูที่จะไปทาการสอนด้วย หากต้องส่งครูที่ไม่เต็มใจไปก็จะไม่เกิดประโยชน์ อะไร เส้นทางคมนาคมที่มีความยากลาบากในการเดินทาง ทั้งในส่วนของโรงเรียนบ้านเนิน พยอม และโรงเรียนสาขาบึงนคร ทาให้โรงเรียนไม่ค่อยได้รับการช่วยเหลือดูแลในด้านต่าง ๆ จาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเท่าที่ควร นอกจากนี้โรงเรียนยังต้องมีความยากลาบากในการนานักเรียนเดินทางไป ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การแข่งขันกีฬา การรับทุนการศึกษา การเข้าค่ายลูกเสือ-เนตรนารี การเข้าค่ายทาง
  • 15. วิชาการ การร่วมกิจกรรมในวันสาคัญต่าง ๆ ส่วนใหญ่ต้องนานักเรียนไปค้างคืน เนื่องจากไม่สามารถ เดินทาง ไป – กลับในวันนั้นได้ (3) สภาพโรคภัยไข้เจ็บ หรือโรคติดต่อที่เกิดขึ้นในชุมชนนักเรียน อันเป็นอุปสรรคต่อ การศึกษาเล่าเรียนและการจัดการศึกษา มีดังนี้ ครูและนักเรียนมีอัตราเสี่ยงต่ออันตรายจากโรคภัยไข้เจ็บในอัตราสูง โดยเฉพาะไข้มาเลเรีย และไข้เลือดออก เด็กนักเรียนมีความเสี่ยงต่อโรคที่เกิดจากขาดสารไอโอดีน โรคขาดอาหารในเด็กวัยก่อน เข้าเรียน คือ เด็กอายุ 0 – 5 ปี ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่ขาดสารอาหาร หรือขาดการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง ร่างกายและสมองจึงเจริญเติบโตอย่างไม่เต็มที่ ทาให้มีผลเสียระยะยาว คือ เมื่อเด็กเข้าโรงเรียน การเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ จะบกพร่อง ทั้งต่อสุขภาพร่างกาย และต่อสุขภาพจิต ติดโรคง่าย ร่างกายอ่อนแอ เฉื่อยชา เหม่อ ลอย ซึมเศร้า ตกใจง่าย ควบคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้ ขาดความกระตือรือร้น รวมทั้งด้อยความสามารถในการ เรียนรู้และการทางาน สภาพเช่นนี้นับเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาเล่าเรียนและการจัดการศึกษาของโรงเรียน เป็นอย่างยิ่ง (4) ลักษณะความเสี่ยงภัยจากโจรผู้ร้าย การระบาดของยาเสพติด อันทาให้นักเรียน , ครู,ประชาชน มีความเสี่ยงภัย ดังนี้ จากสภาพทั่วไปของหมู่บ้าน ทาให้ไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน เจ้าหน้าที่ไม่ สามารถเข้ามาดูแลให้ทั่วถึงได้ ห่างไกลสถานีตารวจ ชาวบ้านมักตัดสินแก้ปัญหาต่าง ๆ กันเองเมื่อเกิด ความเสียหายต่อร่างกายและทรัพย์สิน เจ้าหน้าที่ของรัฐก็ไม่สามารถเข้ามาปฏิบัติหน้าที่ได้ทันท่วงที ทาให้ ไม่สามารถจับคนร้ายและขจัดปัญหา หรือให้ความเป็นธรรมได้ ความขาดแคลนทาให้เกิดปัญหาการลักเล็ก ขโมยน้อย การแย่งชิง เห็นแก่ตัว เอาเปรียบซึ่งกันและกัน นักเรียนในหมู่บ้านเนินพยอม ต้องตกอยู่ในสภาพสังคมที่ด้อยการพัฒนา แวดล้อมไปด้วย ผู้คนที่ด้อยการศึกษา ถูกปลูกฝังค่านิยมและความเชื่อที่ผิด ๆ นอกจากนี้เด็กยังต้องซึมซับเอาพฤติกรรมของ ผู้ปกครองบางคน อันเป็นพฤติกรรมที่เป็นตัวอย่างไม่ดีแก่เด็ก เช่น การด่าทอกันด้วยคาที่หยาบคาย การดื่ม เหล้า สูบบุหรี่ ตลอดจนยาเสพติดบางชนิด เช่น ยาบ้า เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการเล่นการพนันในรูปแบบ ต่าง ๆ อีกด้วย (5) โรงเรียนมีภาระต้องช่วยผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน เพื่ออานวยให้โรงเรียนจัดการ ศึกษา ได้ดังนี้ จากสภาพดังกล่าวมาข้างต้น โรงเรียนจึงเป็นหน่วยงานราชการเพียงหน่วยงานเดียวใน ชุมชน โรงเรียนจึงต้องมีภาระในการช่วยเหลือชุมชนมากกว่าที่จะให้ชุมชนช่วยเหลือโรงเรียน แม้ว่าชุมชน จะมีความศรัทธาต่อการทางานของคณะครู และมีความรู้สึกว่าตนเองเป็นเจ้าของโรงเรียน แต่ชุมชนก็ไม่มี กาลังพอที่จะช่วยเหลือโรงเรียนได้ อีกทั้งยังต้องใช้เวลาทั้งหมดกับการทามาหากินเลี้ยงครอบครัวไปวัน ๆ สิ่งที่โรงเรียนช่วยผู้ปกครองและชุมชน พอจะยกตัวอย่างได้ ดังนี้ - จัดหาชุดนักเรียนให้เพียงพอต่อจานวนนักเรียน
  • 16. - จัดหาค่าพาหนะนักเรียนที่เดินทางไกลและยากจน - จัดหาหนังสือและอุปกรณ์การเรียนให้นักเรียน - จัดหาทุนการศึกษาให้กับนักเรียนให้ทั่วถึง - จัดหารายได้เพื่อโครงการอาหารกลางวัน ให้เด็กได้รับประทานอาหารทุกวันและ ทั่วถึงทุกคน - บริการตัดผมฟรีให้กับนักเรียนและชาวบ้าน โดยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ที่ได้ผ่าน การเรียนวิชาการตัดผมเบื้องต้น - บริการและให้ความช่วยเหลือในด้านอาคารสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ ใน การจัดงานประจาปีของหมู่บ้าน การประชุมของชาวบ้านในโอกาสต่าง ๆ - เป็นแกนนาในการดาเนินการกิจกรรมสาคัญต่าง ๆ ของหมู่บ้าน เช่น การทอดกฐิน ทอดผ้าป่า แห่เทียนเข้าพรรษา เป็นต้น - ช่วยเหลือชาวบ้านในเรื่องของยา และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น - ช่วยเหลือ แนะนา ด้านการประกอบอาชีพให้แก่ชาวบ้าน โดยโรงเรียนได้ทาให้ เป็นตัวอย่าง เช่น การเพาะเห็ดนางฟ้า การปลูกผักกางมุ้ง การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ เป็นต้น
  • 17.
  • 19. กำรปฏิรูปกำรศึกษำในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ยุทธศำสตร์ กลยุทธ์กรอบแผนปฏิบัติกำร ปีงบประมำณ 2559 ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน แนวทำงกำรดำเนินงำนของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน แนวทำงกำรพัฒนำ หลักการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง 3 เป้าหมาย 4 กรอบแนวทาง 3 เป้ำหมำย ได้แก่ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย 2. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 3. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและ จัดการศึกษา 4 กรอบแนวทำง ได้แก่ 1. พัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 2. พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ 3. พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ 4. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ นโยบำยกำรพัฒนำกำรศึกษำ 1. การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง 2. โครงการเรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ 3. จัดตั้งโรงเรียนดีประจาตาบล 4. พัฒนาการศึกษา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 5. สร้างแหล่งเรียนรู้ราคาถูก 6. สร้างเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา 7. สร้างขวัญและกาลังใจครู 8. สนับสนุนองค์ความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี วิสัยทัศน์
  • 20. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพลังขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐานของ ประเทศไทยให้เป็นผู้นาหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภายในปีการศึกษา 2558 พันธกิจ พัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา อย่างมีคุณภาพ โดยพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลที่มีความรู้คู่คุณธรรมมีความสามารถตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน และนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพระดับสากล เป้ำประสงค์ 1. ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสอง ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี อย่างทั่วถึงและได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ 4. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา มีความเข้มแข็งเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษา ขั้นพื้นฐาน สู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5. การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รับการพัฒนาคุณภาพครู และบุคลากรมีความปลอดภัยและมั่นคง กลยุทธ์ 1. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ 2. ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ 4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี คุณภาพ 5. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทาง การศึกษา หลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา 6. พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ จุดเน้น 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้
  • 21. 3. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง 4. เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และ ด้านเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสู่ความเป็นหนึ่งในสองของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติ 6. สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา อย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ 7. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการขยายผลสถานศึกษา พอเพียงต้นแบบ 8. นักเรียนครูและสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนา อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 9. นักเรียน ครูและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 10. สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐานการศึกษา มีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง และผ่านการรับรองจากการประเมินคุณภาพภายนอก 11. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา 12. เป้ำหมำยและตัวชี้วัดควำมสำเร็จ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กาหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดความสาเร็จ จาแนก ตามกลยุทธ์ ดังนี้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำทุกระดับตำมหลักสูตร และส่งเสริมควำมสำมำรถทำงเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในกำรเรียนรู้ ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลัก เพิ่มขึ้นร้อยละ 4 ต่อปี ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่ม สาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น 2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 ทุก คนอ่านคล่อง เขียนคล่อง ร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 3 อ่านออก เขียนได้ และ นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 อ่านคล่อง เขียน คล่อง ตามเป้าหมายทุกคน ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ 3 นักเรียนมีความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อ เป็น เครื่องมือในการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ร้อยละของนักเรียนมีความสามารถด้าน เทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
  • 22. กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ควำมสำนึกในควำมเป็นชำติไทยและวิถีชีวิต ตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ 1 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จิตสานึกความเป็นไทย จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีจิตสานึก ความเป็นไทย ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์และการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข 2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ร้อยละของผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 โรงเรียนทุกโรงจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและ วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรมเสริมสร้าง คุณธรรมความสานึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง - จานวนโรงเรียนที่จัดกิจกรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นโรงเรียนต้นแบบ 10,000 แห่ง 4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะการ ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จานวนผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการ ดารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ 3 ขยำยโอกำสทำงกำรศึกษำให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกำสใน กำร พัฒนำเต็มตำมศักยภำพ
  • 23. ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ 1 ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 ผู้เรียนได้เรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายในกาหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละของผู้เรียนที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายในเวลาที่หลักสูตรกาหนด 3 ผู้พิการที่ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพ ร้อยละของผู้พิการที่ได้รับการพ ัฒนา สมรรถภาพ 4 ผู้เรียนทุกคนได้รับการสนับสนุนการศึกษา โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่าเรียน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ นักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จานวนผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนการศึกษา โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายสาหรับรายการค่าเล่าเรียน หนังสือเรียน อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบ นักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำทั้งระบบ ให้สำมำรถจัดกำรเรียน กำรสอนได้อย่ำงมีคุณภำพ
  • 24. ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ 1 ข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนาสามารถจัดการ เรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ร้อยละของข้าราชการครูที่ได้รับการพัฒนา สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ 2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง มีความ เข้มแข็งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลใน ระดับดีขึ้นไป จานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีความ เข้มแข็งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลใน ระดับดี 3 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพอใจใน ความมั่นคงของการประกอบวิชาชีพ ไม่น้อย กว่าร้อยละ 85 ร้อยละของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มี ความพอใจในความมั่นคงของการประกอบ วิชาชีพ 4 บุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาให้มี คุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ตาม มาตรฐาน หรือเกณฑ์ที่กาหนดไม่น้อยกว่าร้อย ละ 85 ร้อยละของบุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ พัฒนาให้มีคุณภาพและสามารถปฏิบัติงานได้ ตามมาตรฐานหรือเกณฑ์ที่กาหนด กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนำประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรศึกษำ ตำมแนวทำงกำรกระจำย อำนำจทำงกำรศึกษำ หลักธรรมภิบำล เน้นกำรมีส่วนร่วมจำกทุกภำคส่วนและควำมร่วมมือกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ
  • 25. ที่ เป้ำหมำยควำมสำเร็จ ตัวชี้วัดควำมสำเร็จ 1 สถานศึกษาทุกแห่งผ่านการรับรองมาตรฐาน - จานวนสถานศึกษาที่ไม่ผ่านการรับรองได้รับ การแก้ไขแทรกแซงเพื่อพัฒนาคุณภาพ - ร้อยละของสถานศึกษาที่มีผลการประเมิน คุณภาพภายนอกผ่านการรับรองมาตรฐาน 2 สถานศึกษาทุกแห่งได้รับการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดาเนินงานให้มีคุณภาพ จานวนสถานศึกษาที่ได้รับการนิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือการดาเนินงานให้มีคุณภาพ 3 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง มีความ พร้อมและความเข้มแข็งในการบริหารและการ จัดการศึกษา สามารถยกระดับคุณภาพ มาตรฐานและธรรมาภิบาล จานวนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่มีความ พร้อมและความเข้มแข็งในการบริหารและการ จัดการศึกษา สามารถยกระดับคุณภาพ มาตรฐานและธรรมาภิบาล 4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ร้อยละของผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบบโครงสร้ำงกำรบริหำร - โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบ้านเนินพยอม โรงเรียนบ้านเนินพยอม ตามโครงสร้างประกอบด้วย 4 กลุ่มงาน ดังนี้ 1. งานบริหารวิชาการ
  • 26. 2. งานบริหารงบประมาณ 3. งานบริหารบุคลากร 4. งานบริหารทั่วไป แผนภูมิระบบโครงสร้ำงกำรบริหำร ผู้อำนวยกำรโรงเรียน
  • 27. 3. ข้อมูลนักเรียนโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม ปัจจุบันโรงเรียนมีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2558 ) ดังนี้ 1) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด 154 คน 2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน งำนบุคลำกรงำนงบประมำณงำนวิชำกำร งำนบริหำรทั่วไป นำงสมหมำย บุญเทศนำงอัจฉรำ ชูแก้วนำงสำวชลธิชำ แย้มอุทัยนำยมะคอลำ แวฮูลู นักเรียน คณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนพื้นฐำน
  • 28. 3 ) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม 10 คน 4 ) มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 28 คน 5 ) มีนักเรียนปัญญาเลิศ …-…… คน 6 ) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ 112 คน 7 ) จานวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลี่ย)…14…คน 8 ) สัดส่วนครู : นักเรียน = 1 : 12 9 ) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน(ปีปัจจุบัน) 1 คน 10) สถิติการขาดเรียน/เดือน ……….วัน ข้อมูลนักเรียนโรงเรียนบ้ำนเนินพยอมสำขำบึงนคร ระดับชั้น เพศ รวม ชาย หญิง อ.1 อ.2 6 6 6 8 12 14 รวม 12 14 26 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 6 4 12 6 5 9 7 8 12 9 6 4 13 12 24 15 11 13 รวม 42 46 88 ม.1 ม.2 ม.3 7 4 10 7 5 7 14 9 17 รวม 21 19 40 รวมจำนวน น.ร. ทั้งหมด 75 79 154
  • 29. ปัจจุบันโรงเรียน มีข้อมูลเกี่ยวกับจานวนนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2558 ) ดังนี้ 1) จานวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด 30 คน 2) จานวนนักเรียนจาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน 3) มีนักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม.....2... คน 4) มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 1 คน 5) มีนักเรียนปัญญาเลิศ …-…… คน 6) มีนักเรียนต้องการความช่วยเหลือเป็น พิเศษ....21.....คน 7) จานวนนักเรียนต่อห้อง (เฉลี่ย)……4......คน 8) สัดส่วนครู : นักเรียน = 1 : 15 9) จานวนนักเรียนที่ลาออกกลางคัน (ปีปัจจุบัน) ..-...คน 10) สถิติการขาดเรียน/เดือน …… วัน 4. ข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม ระดับชั้น เพศ รวม ชาย หญิง อ.1 อ.2 2 1 2 1 4 2 รวม 3 3 4 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 3 3 - 2 - 1 2 5 4 - 1 3 5 8 4 2 1 4 รวม 9 15 24 ม.1- ม. 6 - - - รวม - - - รวม จานวน น.ร. ทั้งหมด 12 28 30
  • 30. ประเภท บุคลำกร เพศ ระดับกำรศึกษำสูงสุด อำยุเฉลี่ย ประสบกำรณ์ เฉลี่ยชาย หญิง ต่ากว่า ป.ตรี ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี ผู้อานวยการ 1 - - - 1 43 1 รองผู้อานวยการ - - - - - - - ครูประจาการ 2 11 10 3 38 14 ครูอัตราจ้าง - - - - - - - นักการ/ภารโรง - 1 1 - - 47 5 อื่น ๆ ระบุ - - - - - - - รวม 3 12 1 11 4 - - 15 ● มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก..................10....................คน ( 76.92 % ) ● มีครูที่สอนวิชาตามความถนัด......................3....................คน ( 23.08 % ) ข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนบ้ำนเนินพยอมสำขำบึงนคร ประเภท บุคลากร เพศ ระดับการศึกษาสูงสุด อายุเฉลี่ย ประสบการณ์ เฉลี่ยชาย หญิง ต่ากว่า ป.ตรี ป.ตรี สูงกว่าป.ตรี ผู้อานวยการ - - - - - - - รองผู้อานวยการ - - - - - - - ครูประจาการ 2 - 2 - 43 15 ครูอัตราจ้าง - - - - - - - นักการ/ภารโรง - - - - - - - อื่น ๆ ระบุ - - - - - - - รวม 1 1 - 2 - - - 2 ● มีครูที่สอนวิชาตรงตามวิชาเอก....................2..................คน ( 100 % ) มีครูผู้สอน 2 คน ● มีครูที่สอนวิชาตามความถนัด.......................-.................คน ( - % ) จัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น ข้อมูลบุคลำกรโรงเรียนบ้ำนเนินพยอม
  • 31. ที่ ชื่อ - สกุล วุฒิ ตำแหน่ง/อันดับ หมำยเหตุ 1 นางสมหมาย บุญเทศ ค.บ.(สังคมศึกษา) ครู (คศ.3) 2 นางอัจฉรา ชูแก้ว ค.บ.(เกษตรศาสตร์) ศษ.ม.(การบริหารการศึกษา) ครู (คศ.3) 3 นายชยพล บุญเทศ ค.บ. (พลศึกษา) ครู (คศ.3) 4 นางกัญญา โพธารส ศศ.บ. (การศึกษาประถมศึกษา) ครู 5 นางวัลลภา พิทักษ์สฤษดิ์ วท.บ. (คหกรรมศาสตร์) ครู (คศ.3) 6 น.ส.นฤมล ง่วนกิม วท.บ. (คอมพิวเตอร์) ครูผู้ช่วย 7 นายมะคอลา แวฮูลู ศศ.บ. (คณิตศาสตร์) ครูผู้ช่วย 8 น.ส.วันวิสาข์ พรพนม กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ครูผู้ช่วย 9 น.ส.ชลธิชา แย้มอุทัย กศ.บ. (วิทยาศาสตร์) ครูผู้ช่วย 10 น.ส.อัจฉญาภรณ์ กาญจนภักดิ์ ศศ.บ. (เกษตรศาสตร์) ครูผู้ช่วย 11 น.ส. วนารี ชัยหา ค.บ. (ภาษาไทย) ครูผู้ช่วย 12 น.ส. ศรีวิจิตร เกิดวัน ค.บ. (ภาษาไทย) ครูผู้ช่วย 13 น.ส. สุภาพร ทองเงิน ค.บ. (การศึกษาประถมวัย) ครูผู้ช่วย 14 นายคณิต พูนขุนทด ศษ.บ.(ภาษาไทย) ครู(คศ.2) ช่วยราชการ สาขาบึง นคร 15 นายอภิชาต ธิมาชัย บธ.บ(คอมพิวเตอร์) ครูผู้ช่วย ช่วยราชการ สาขาบึง นคร 16 นางสาวพลับพลึง ทองเกิด ชั้น ป.6 ลูกจ้างชั่วคราว (นักการ ฯ)
  • 32. อำคำรเรียนและอำคำรประกอบ (บ้ำนเนินพยอม) ประเภทอำคำร จำนวนหลัง จำนวนห้อง หมำยเหตุ อาคารเรียน อาคารอเนกประสงค์ โรงอาหาร บ้านพักครู ส้วม ห้องพยาบาล ห้องสมุด อาคารสร้างเอง 3 1 1 4 3 1 1 1 8 1 1 9 12 1 1 1 ใช้เป็นห้องเรียน ใช้เป็นศูนย์เด็กเล็ก ของอบต. อำคำรเรียนและอำคำรประกอบ (สำขำบึงนคร) ประเภทอำคำร จำนวนหลัง จำนวนห้อง หมำยเหตุ อาคารเรียน อาคารสร้างเอง โรงอาหาร บ้านพักครู ส้วม ห้องสมุด 1 1 1 1 1 1 3 1 1 2 4 1