SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
ชื่อวิทยาศาสตร์: Bauhinia monandra
วงศ์: Fabaceae
สกุล: Bauhinia
สปีชีส์: B. monandra
ลักษณะทั่วไป
โยทะกา เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบรูปไข่ค่อนข้างกลม ปลายและโคนใบเว้าลึก
มองเหมือนใบแฝดติดกัน เช่นเดียวกับใบกาหลงและใบชงโค ดอกใหญ่ออกเป็นช่อ มีกลีบสีเหลือง
เมื่อบานได้ ๒ วัน สีกลีบจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูเข้ม ทรงดอกเป็น ๕ กลีบ คล้ายดอกกล้วยไม้
เมื่อดอกร่วงหล่นจะติดฝักรูปร่างแบน ยาว ราว ๙-๑๕ เซนติเมตร เมื่อฝักแก่จัดจะแตกออกจากกัน
เปลือกของโยทะกาเป็นเส้นใย ใช้ทาเชือกปอได้
มีโยทะกาอีกชนิดหนึ่ง ชื่อ Bauhinia flanifera ride อยู่ในสกุลเดียวกัน เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง
ซึ่งมีลักษณะอื่นๆ คล้ายคลึงกับโยทะกาชนิดแรก สันนิษฐานว่าคนไทยเรียกชื้อโยทะกาทั้ง ๒ชนิดนี้รวมๆ
กันมาตั้งแต่เดิม เพราะชื่อที่ใช้เรียกตามท้องถิ่นต่างๆ บ้างก็บ่งบอกว่าเป็นไม้เถา เช่นชงโคย่าน (ตรัง) เถาไฟ
(กรุงเทพฯ) เป็นต้น
ประวัติความเป็นมา
โยทะกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกาเนิดดั้งเดิมอยู่ในประเทศ ไทย เช่นเดียวกับกาหลงและชงโค
พบได้ในป่าธรรมชาติของทุกภาค จึงปรากฏชื่ออยู่ในวรรณคดีไทย ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
ดังเช่นในสักกบรรพคาฉันท์ ซึ่งแต่งในสมัยอยุธยา ตอนหนึ่งบรรยายถึง "ปรูประประยงค์
ชงโคตะโกโยธกา"
ที่มาของชื่อ
คาว่า โยทะกา ในอดีตนิยมใช้เขียนว่า "โยธกา" มาจนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์แล้วจึงเปลี่ยนเป็น
"โยทะกา" ใน หนังสือ อักขราภิธานศรับ ของหมอบรัดเล พ.ศ. ๒๔๑๖ มีบรรยายว่า "โยทะกา
เปนคาเรียกของสาหรับทอดสมอให้เรืออยู่ แต่มันมีสันถานเหมือนหนามต้นโยทะกา"
สังเกตว่าโยทะกาใช้เรียกเครื่องมือที่ใช้ทอดสมอ รูปร่างคล้ายหนามต้นโยทะกา
แสดงว่าต้นโยทะกาเป็นที่มาของชื่อนี้ แต่ต้นโยทะกาที่เรารู้จักในปัจจุบัน เป็นพืชไม่มีหนาม
ซึ่งอาจจะเป็นคนละต้นกับโยทะกาของอักขราภิธานศรับหรือต้นโยทะกา อาจมีมากกว่า ๒ ต้นก็ได้
(ในสมัยนั้น)
ปัจจุบันยังมีโยทะกาสมัยใหม่ อีกชนิดหนึ่ง เป็นต้นไม้ขนาดเล็ก สูง ๒-๕ เมตร
ดอกสีเหลืองล้วนตั้งแต่เริ่มบานจนร่วงโรย ลักษณะดอกห่อไม่บานเต็มที่ ดอกออกจากยอดตลอดปี
นิยมปลูกในสวนเป็นไม้ประดับ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Bauhinisa tomentora Linn
ชื่อเรียกต่างๆของพืช
ชื่อที่เรียกในเมืองไทยคือ โยทะกา (ภาคกลาง) เถาไฟ (กรุงเทพฯ) ย่ายชิวโค (ตาก) ปอลิง
(สุราษฎร์ธานี) ปอโคย่าน (ตรัง) เล็บควายใหญ่ (ยะลา-ปัตตานี) ภาษาอังกฤษเรียก Pink orchid Tree
ประโยชน์ของโยทะกา
สามารถใช้เป็นไม้ประดับ ซึ่งหากคนไทยรู้จักกาหลง
และชงโคแล้วก็ควรจะนามาปลูกร่วมกันให้ครบทั้ง "สามใบเถา" เพื่อให้พี่น้องได้อยู่ร่วมกัน
ดังที่เคยเป็นมาในอดีตอันยาวนาน
นาย ปิติการ สายวาริน ม4/1 เลขที่ 13

More Related Content

What's hot

ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
sasinabenz
 
นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์
garenaza8900
 
มะกอกเลือม
มะกอกเลือมมะกอกเลือม
มะกอกเลือม
Namny Pattarada
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
Anana Anana
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
xavi2536
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
Press Trade
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
Wichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
Wichai Likitponrak
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 ppt
angkhana
 

What's hot (19)

ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
ต้นไม้ในสวนพฤกษศาสตร์ที่ฉันประทับใจ
 
ต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จ
 
การเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ( Herbarium )
การเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ( Herbarium )การเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ( Herbarium )
การเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง ( Herbarium )
 
นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์นายธเนศ คัมภิรานนท์
นายธเนศ คัมภิรานนท์
 
มะกอกเลือม
มะกอกเลือมมะกอกเลือม
มะกอกเลือม
 
ราชพฤกษ์
ราชพฤกษ์ราชพฤกษ์
ราชพฤกษ์
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
ต้นหมัน
ต้นหมันต้นหมัน
ต้นหมัน
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
มะเฟือง
มะเฟืองมะเฟือง
มะเฟือง
 
จามจุรี
จามจุรีจามจุรี
จามจุรี
 
leaf
leafleaf
leaf
 
คุณนายตื่นสาย
คุณนายตื่นสายคุณนายตื่นสาย
คุณนายตื่นสาย
 
krapeejan
krapeejankrapeejan
krapeejan
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
ไฝ่ฟิลิปินส์
ไฝ่ฟิลิปินส์ไฝ่ฟิลิปินส์
ไฝ่ฟิลิปินส์
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 ppt
 

Similar to โยทะกา

โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
Mint Jiratchaya
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
Krupoonsawat
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
HatsayaAnantepa
 

Similar to โยทะกา (7)

โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
 
ต้นช้องนาง คอมพิวเตอร์
ต้นช้องนาง คอมพิวเตอร์ต้นช้องนาง คอมพิวเตอร์
ต้นช้องนาง คอมพิวเตอร์
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
ต้นชบา
ต้นชบาต้นชบา
ต้นชบา
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกได้...
 

โยทะกา

  • 1. ชื่อวิทยาศาสตร์: Bauhinia monandra วงศ์: Fabaceae สกุล: Bauhinia สปีชีส์: B. monandra ลักษณะทั่วไป โยทะกา เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ใบรูปไข่ค่อนข้างกลม ปลายและโคนใบเว้าลึก มองเหมือนใบแฝดติดกัน เช่นเดียวกับใบกาหลงและใบชงโค ดอกใหญ่ออกเป็นช่อ มีกลีบสีเหลือง เมื่อบานได้ ๒ วัน สีกลีบจะเปลี่ยนเป็นสีชมพูเข้ม ทรงดอกเป็น ๕ กลีบ คล้ายดอกกล้วยไม้ เมื่อดอกร่วงหล่นจะติดฝักรูปร่างแบน ยาว ราว ๙-๑๕ เซนติเมตร เมื่อฝักแก่จัดจะแตกออกจากกัน เปลือกของโยทะกาเป็นเส้นใย ใช้ทาเชือกปอได้ มีโยทะกาอีกชนิดหนึ่ง ชื่อ Bauhinia flanifera ride อยู่ในสกุลเดียวกัน เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง ซึ่งมีลักษณะอื่นๆ คล้ายคลึงกับโยทะกาชนิดแรก สันนิษฐานว่าคนไทยเรียกชื้อโยทะกาทั้ง ๒ชนิดนี้รวมๆ กันมาตั้งแต่เดิม เพราะชื่อที่ใช้เรียกตามท้องถิ่นต่างๆ บ้างก็บ่งบอกว่าเป็นไม้เถา เช่นชงโคย่าน (ตรัง) เถาไฟ (กรุงเทพฯ) เป็นต้น
  • 2. ประวัติความเป็นมา โยทะกาเป็นต้นไม้ที่มีถิ่นกาเนิดดั้งเดิมอยู่ในประเทศ ไทย เช่นเดียวกับกาหลงและชงโค พบได้ในป่าธรรมชาติของทุกภาค จึงปรากฏชื่ออยู่ในวรรณคดีไทย ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ดังเช่นในสักกบรรพคาฉันท์ ซึ่งแต่งในสมัยอยุธยา ตอนหนึ่งบรรยายถึง "ปรูประประยงค์ ชงโคตะโกโยธกา" ที่มาของชื่อ คาว่า โยทะกา ในอดีตนิยมใช้เขียนว่า "โยธกา" มาจนถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์แล้วจึงเปลี่ยนเป็น "โยทะกา" ใน หนังสือ อักขราภิธานศรับ ของหมอบรัดเล พ.ศ. ๒๔๑๖ มีบรรยายว่า "โยทะกา เปนคาเรียกของสาหรับทอดสมอให้เรืออยู่ แต่มันมีสันถานเหมือนหนามต้นโยทะกา" สังเกตว่าโยทะกาใช้เรียกเครื่องมือที่ใช้ทอดสมอ รูปร่างคล้ายหนามต้นโยทะกา แสดงว่าต้นโยทะกาเป็นที่มาของชื่อนี้ แต่ต้นโยทะกาที่เรารู้จักในปัจจุบัน เป็นพืชไม่มีหนาม ซึ่งอาจจะเป็นคนละต้นกับโยทะกาของอักขราภิธานศรับหรือต้นโยทะกา อาจมีมากกว่า ๒ ต้นก็ได้ (ในสมัยนั้น) ปัจจุบันยังมีโยทะกาสมัยใหม่ อีกชนิดหนึ่ง เป็นต้นไม้ขนาดเล็ก สูง ๒-๕ เมตร ดอกสีเหลืองล้วนตั้งแต่เริ่มบานจนร่วงโรย ลักษณะดอกห่อไม่บานเต็มที่ ดอกออกจากยอดตลอดปี นิยมปลูกในสวนเป็นไม้ประดับ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Bauhinisa tomentora Linn ชื่อเรียกต่างๆของพืช ชื่อที่เรียกในเมืองไทยคือ โยทะกา (ภาคกลาง) เถาไฟ (กรุงเทพฯ) ย่ายชิวโค (ตาก) ปอลิง (สุราษฎร์ธานี) ปอโคย่าน (ตรัง) เล็บควายใหญ่ (ยะลา-ปัตตานี) ภาษาอังกฤษเรียก Pink orchid Tree ประโยชน์ของโยทะกา สามารถใช้เป็นไม้ประดับ ซึ่งหากคนไทยรู้จักกาหลง และชงโคแล้วก็ควรจะนามาปลูกร่วมกันให้ครบทั้ง "สามใบเถา" เพื่อให้พี่น้องได้อยู่ร่วมกัน ดังที่เคยเป็นมาในอดีตอันยาวนาน นาย ปิติการ สายวาริน ม4/1 เลขที่ 13