SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
สมาชิกกลุ่ม
1.นายวรวุฒิ สินทรัพย์ เลขที่ 3 ชั้น ม.5/3
2.นางสาวบุณฑริก ชอบทาดี เลขที่ 25 ชั้น ม.5/3
3.นางสาวอังค์วรา เปี่ยมพร้อม เลขที่ 27 ชั้น ม.5/3
4.นางสาวนิลาวรรณ สุขเขียว เลขที่ 28 ชั้น ม.5/3
5.นางสาวกัลยา ปุณณะการี เลขที่ 29 ชั้น ม.5/3
6.นางสาวธีรกานต์ กัลยาเดชานุกุล เลขที่ 30 ชั้น ม.5/3
7.นางสาวพิมพ์ลภัส ถิ่นผาสุวรรณ เลขที่ 31 ชั้น ม.5/3
1.ระบบสารสนเทศ (Information system )
หมายถึง ระบบที่สามารถจัดการข้อมูลตั้งแต่การรวบรวมและ
ตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล รวมถึงการดูแลรักษาข้อมูล เพื่อให้
ได้สารสนเทศที่ถูกต้องและทันต่อความต้องการของผู้ใช้และ
ผู้ใช้สามารถนาสารสนเทศที่ได้ไปประกอบการตัดสินใจได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
1.1 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร และ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสาคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
รอบข้าง
-ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นชุดคาสั่งที่สั่งให้
ฮาร์ดแวร์ทางาน
-ข้อมูล เป็นส่วนที่จะนาไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์
-บุคลากรเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์
- ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นสิ่งที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้ทางานได้
ถูกต้องเป็นระบบ
1. ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง
เครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์เครื่องกราดตรวจเมื่อ
พิจารณาเครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถแบ่งเป็น 3 หน่วย คือ
หน่วยรับข้อมูล (input unit) ได้แก่ แผงแป้นอักขระ เมาส์
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
หน่วยแสดงผล (output unit) ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์
การทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเปรียบเทียบกับมนุษย์จะ
พบว่าคล้ายกัน กล่าวคือ เมื่อมนุษย์ได้รับข้อมูลจากประสาทสัมผัส ก็จะส่ง
ให้สมองในการคิด แล้วสั่งให้มีการโต้ตอบ
2 . ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ
ประการที่สอง ซึ่งก็คือลาดับขั้นตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์
ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของการใช้
งาน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติงาน ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงาน
ซอฟต์แวร์สาเร็จ และซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับงานต่างๆ ลักษณะการใช้
งานของซอฟต์แวร์ก่อนหน้านี้ ผู้ใช้จะต้องติดต่อใช้งานโดยใช้ข้อความเป็น
หลัก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์มีลักษณะการใช้งานที่ง่ายขึ้น โดยมีรูปแบบ
การติดต่อที่สื่อความหมายให้เข้าใจง่าย เช่น มีส่วนประสานกราฟิกกับผู้ใช้ที่
เรียกว่า กุย (Graphical User Interface : GUI)
ส่วนซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีใช้ในท้องตลาดทาให้การใช้งาน
คอมพิวเตอร์ในระดับบุคคลเป็นไปอย่างกว้างขวาง และเริ่มมีลักษณะ
ส่งเสริมการทางานของกลุ่มมากขึ้น ส่วนงานในระดับองค์กรส่วนใหญ่
มักจะมีการพัฒนาระบบตามความต้องการโดยการว่าจ้าง หรือโดยนัก
คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กร เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคาสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้หลาย
ประเภท เช่น
1. ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับระบบ
คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการ
วินโดว์ส ระบบปฏิบัติการดอส ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานด้าน
ต่างๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น ซอฟต์แวร์กราฟิก ซอฟต์แวร์
ประมวลคา ซอฟต์แวร์ตารางทางานซอฟต์แวร์นาเสนอข้อมูล
3. ข้อมูล
ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบ
สารสนเทศ อาจจะเป็นตัวชี้ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบได้
เนื่องจากจะต้องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูลจะต้องมีความ
ถูกต้อง มีการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้วเท่านั้นจึงจะมีประโยชน์ ข้อมูล
จาเป็นจะต้องมีมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้งานในระดับกลุ่มหรือ
ระดับองค์กร ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็นระบบระเบียบเพื่อ
การสืบค้นที่รวดเร็วมีประสิทธิภาพ
4. บุคลากร
บุคลากรในระดับผู้ใช้ผู้บริหาร ผู้พัฒนาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ
และนักเขียนโปรแกรม เป็นองค์ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบ
สารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์มากเท่าใด
โอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภาพ
และคุ้มค่ายิ่งมากขึ้นเท่านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่ง
เครื่องคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถมากขึ้น ทาให้ผู้ใช้มีโอกาสพัฒนา
ความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานได้เองตามความต้องการ
สาหรับระบบสารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์กรที่มีความซับซ้อนจะต้อง
ใช้บุคลากรในสาขาคอมพิวเตอร์โดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผู้ใช้หรือของบุคลากรที่
เกี่ยวข้องก็เป็นเรื่องสาคัญอีกประการหนึ่ง เมื่อได้พัฒนาระบบงานแล้ว
จาเป็นต้องปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอนในขณะที่ใช้งานก็จาเป็นต้อง
คานึงถึงลาดับขั้นตอนการปฏิบัติของคนและความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งใน
กรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการ
ประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเครื่องชารุดหรือข้อมูลสูญหาย และขั้นตอน
การทาสาเนาข้อมูลสารองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเหล่านี้จะต้องมีการ
ซักซ้อม มีการเตรียมการ และการทาเอกสารคู่มือการใช้งานที่ชัดเจน
1.2 ชนิดของระบบสารสนเทศ
1.ระบบการประมวลผลรายการ (Transaction
processing systems :TPS)
การดาเนินงานขององค์กรหนึ่ง ๆ นั้น จะประกอบด้วยกิจกรรม
ต่าง ๆ มากมาย ในการปฏิบัติงานแต่ละกิจกรรมนั้น พบว่าต้องใช้TPS
เป็นพื้นฐานเสมอ ซึ่ง TPS เหล่านี้ได้มาจากข้อมูลที่ถูกส่งจากแผนกหนึ่ง
ไปอีกแผนกหนึ่ง การประมวลผลแบบนี้ อาจจะถือได้ว่าเป็นกิจกรรมหลัก
ขององค์กรในแต่ละวัน โดยเริ่มจากการเก็บรวบรวมข้อมูล ทาการวิเคราะห์
อย่างมีระบบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้รวมกับข้อคิดบางอย่างเป็นข่าวสารที่
นาไปใช้ได้ทันที สามารถเขียนเป็นวัฏจักรของการประมวลผลได้ดังนี้
วิธีการประมวลผลมี 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ ทาด้วยมือ (manual
data processing)และการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ หรือเครื่อง
อิเล็กทรอนิกส์ (electronic data processing) ซึ่งอาจจะเป็นแบบ
batch หรือแบบ on-line ก็ได้
ตัวอย่าง เช่น ระบบสารสนเทศของห้างสรรพสินค้า ที่รับชาระค่าสินค้า
ออกใบเสร็จ ตัดสต็อกสินค้าอัตโนมัติ ออกรายงานการขายประจาวันต่อ
พนักงานขายได้
2.ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems :
OAS)
เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนงานธุรการในองค์กรให้ทางานได้
อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นั่นหมายถึงการประสานงานในด้านต่าง
ๆ ของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งอาจจะต้องให้เทคโนโลยีทางด้านเครือข่าย
เข้ามาช่วย และในปัจจุบันมี Sofeware หลายตัวที่ผนวกเข้ากับ
เทคโนโลยีแล้วสามารถช่วยให้การทางานด้านนี้รวดเร็วขึ้น เช่น การใช้
งานโปรแกรม ไมโครซอฟต์ออฟฟิดต์ เพื่อการจัดทาเอกสาร การใช้
งาน e-mail voice-mail หรือระบบสานักงานอัตโนมัติ ผ่าน
เว็บ ระบบ E-office
3.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (management
information systems: MIS)
MIS นี้เปรียบเสมือนเป็นผู้ช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ
(decision making) และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ซึ่งสารสนเทศที่นามาใช้
ใน MIS นี้ได้มาจาก TPS แต่อาจจะมีการใช้สารสนเทศหรือความรู้จากที่
อื่นประกอบด้วย เช่น แนวโน้มทางด้านเศรษฐศาสตร์ ปริมาณและความ
ต้องการในการกู้ยืมเงินของประชาชน เป็นต้น
การการตัดสินใจบางอย่างในองค์กรธุรกิจ อาจจะอยู่ในรูปแบบที่
เกิดขึ้นเป็นประจาแบบปกติ (recur regularly) เช่น ต้องการข้อมูล
แบบนี้ทุก ๆ อาทิตย์ทุก ๆ เดือน หรือทุก ๆ ไตรมาส เป็นต้น ซึ่งกลุ่มของ
สารสนเทศที่ต้องากรนั้นมักจะเป็นกลุ่มที่แน่นอนตายตัว สามารถเขียน
โครงสร้างของการตัดสินใจหรือรูปแบบรายงานไว้ล่วงหน้าและสามารถ
นาไปใช้ในการตัดสินใจ เมื่อมีเหตุการณ์หรือเงื่อนไขดังกล่าวเกิดขึ้น ซึ่งใช้
การวิเคราะห์ขั้นต้นเท่านั้น
4.สารสนเทศที่ใช้ในระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (decision
support systems :DSS)
การตัดสินใจบางอย่างไม่ได้เกิดขึ้นเป็นประจาแบบปกติ คืออาจจะมี
บางปัญหาที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เข้ามาอย่างกระทันหันและต้องการตัดสินใจ
โดยบางครั้งอาจจะเกิดขึ้นเพียงครั้งเดียว หรือไม่ได้เกิดขึ้นบ่อย DSS จะเป็น
เสมือนผู้ช่วยผู้บริหารที่จะต้องทาการตัดสินใจ เกี่ยวกับสถานะภาพเฉพาะ
บางอย่าง อาจจะเรียกได้ว่าเป็นการตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง
(unstructured) หรือกึงโครงสร้าง (semi-structured) ซึ่งยากที่
จะเตรียมรูปแบบของรายงานที่แน่นอนไว้ล่วงหน้า จะเห็นว่า DSS นี้เป็นระบบ
สารสนเทศที่ยืดหยุ่นมากกว่าระบบสารสนเทศชนิดอื่น ๆ ต้องใช้การวิเคราะห์
ชั้นสูง
5.ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive
Information Systems :ESS)
เป็นระบบที่พยายามจัดทาสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร
ระดับสูง ซึ่งภาระส่วนใหญ่จะเป็นการวางแผนระยะยาวว่าองค์กรจะไปใน
ทิศทางใด ซึ่งข้อมูลที่จะนามาใช้นั้นส่วนหนึ่งมาจากระบบ TPS และที่ขาด
ไม่ได้คือ ข้อมูลจากภายนอกองค์กร เพื่อนามาเปรียบเทียบให้เห็นว่าองค์กร
ของตนเองนั้นอยู่ในระดับใด และแนวโน้มเป็นอย่างไร ส่วนการประมวลผล
นั้นมักจะใช้สภาพการจาลอง การพยากรณ์ เป็นต้น
2.เทคโนโลยีเพื่อการตัดสินใจ
2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของบุคคล
1. ระบบสารสนเทศสานักงาน เป็นการใช้โปรแกรมสาเร็จรูป
และเครื่องใช้สานักงาน เช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์พิมพ์เอกสาร เป็น
ต้น
2. ระบบสารสนเทศประมวลผลรายการ เพื่อบันทึกข้อมูล
ประจาวัน เช่น ใช้ซอฟต์แวร์การขายสินค้าในการบันทึก ปรับปรุงและ
ค้นหารายการสินค้า
2.2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของกลุ่ม
เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยเสริมการทางานของกลุ่มบุคคลให้
สามารถทางานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีหลักการคือ
การนาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายระยะใกล้
หรือระยะไกล ทาให้มีการใช้ทรัพยากร ในระบบเครือข่ายร่วมกันได้
2.3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจขององค์กร
เป็นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาเชื่อมโยงระบบสารสนเทศของแผนก
ต่างๆในองค์กรเข้าด้วยกัน เพื่อส่งผ่านข้อมูลจากแผนกหนึ่งไปยังแผนกหนึ่ง
ทั้งนี้เนื่องจากการบริหารงานของผู้บริหารระดับสูงจาเป็นต้องใช้ข้อมูล
ร่วมกันจากหลายแผนกเพื่อประกอบการตัดสินใจ โดยมีหลักการ คือ การนา
เครื่องคอมพิวเตอร์ตามแผนกต่างๆ มาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิด
การใช้ข้อมูลร่วมกัน
งานนำเสนอ1

More Related Content

What's hot

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศkachornchit_maprang
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศnprave
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารChuan Fsk
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศAon Narinchoti
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจToy Varintorn
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Jaohjaaee
 

What's hot (9)

ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
01 ระบบสารสนเทศและทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
ความหมาย
ความหมายความหมาย
ความหมาย
 

Similar to งานนำเสนอ1

ชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-ม
ชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-มชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-ม
ชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-มmicwatcharapong
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศThanaporn Pengsri
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศPraphaphun Kaewmuan
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศkhemjiraacr2
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1Ploy Wantakan
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศParn Nichakorn
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTiger Tanatat
 
ความหมายของสารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศความหมายของสารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศKasamesak Posing
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศyanika12
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจPhutawan Murcielago
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจTrakarnta Samatchai
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

ชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-ม
ชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-มชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-ม
ชื่อ นาย-วัชรพงศ์-ทรัพยเจริญ-ชั้น-ม
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบความรู้เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ความหมายของสารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศความหมายของสารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 

More from Khim Piamprom

I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้
I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้
I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้Khim Piamprom
 
Asus เปิดตัว
Asus เปิดตัวAsus เปิดตัว
Asus เปิดตัวKhim Piamprom
 

More from Khim Piamprom (7)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้
I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้
I os 10-สามารถ-livestream-อวดสเต็ปการเล่นเกมแบบสดๆ-ได้
 
Dd
DdDd
Dd
 
News
NewsNews
News
 
Asus เปิดตัว
Asus เปิดตัวAsus เปิดตัว
Asus เปิดตัว
 
It news
It newsIt news
It news
 
It new 27
It new 27 It new 27
It new 27
 

งานนำเสนอ1