SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
สารบัญ
หนา
คําแนะนํา 1
บทที่ 1 ใชบล็อกบอกเลาใหฟง 2
บทที่ 2 การสมัครสมาชิกเว็บไซตใหบริการบล็อก 5
บทที่ 3 การสรางบล็อก และการใชงาน 12
บทที่ 4 การใชบล็อกในการจัดการเรียนรู 27
บรรณานุกรม 33
1
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
คําแนะนํา
หนังสือ เรื่อง การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ไดจัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการจัดการเรียน
การสอนแบบบูรณาการ ซึ่งครูผูสอนทุกกลุมสาระสามารถที่จะนําเทคโนโลยีดังกลาวไปใชได ซึ่งไมอยาก
เกินไปนักสําหรับครูที่จะเรียนรูในการใชงาน และนําไปจัดกิจกรรมได
ปจจุบันการใชงานคอมพิวเตอร ถือเปนเรื่องปกติสําหรับครูและนักเรียนอยูแลว ดังนั้นการใช
เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู ตองปรับปรุงและตรวจสอบดูวาสิ่งใดที่จะสามารถนําเทคโนโลยีเขามาชวย
ได หรือเปลี่ยนเทคโนโลยีที่ใชอยูใหเหมาะสมและดียิ่งขึ้น ประการสําคัญ การใชเทคโนโลยีมีจุประสงค
สําคัญคือ
1. การลดภาระ ลดคาใชจาย ลดเวลาในการทํางาน
2. เกิดการกระตุนใหเกิดการเรียนรูที่งายขึ้น สะดวกขึ้น และสามารถเรียนรูไดทุกคน ทุกที่ และทุก
เวลา
3. ไมนําเทคโนโลยีมาใชสอนแทนครู แตใชเทคโนโลยีมาชวยครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู เปนอีกหนึ่งนวัตกรรมที่ผมไดทดลอง ปรับปรุง แกไข ให
สามารถใชงานไดเหมาะสมกับบริบทของแตละโรงเรียนไดเปนอยางดี เปนการเรียนรูรวมกันในทุกกลุม
สาระการเรียนรู เปนการเรียนรูรวมกันระหวางโรงเรียน นับเปนการสรางเครือขายการเรียนรูที่ตองชวยเหลือ
พึ่งพากัน
2
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
บทที่ 1
ใชบล็อกบอกเลาใหฟง
Blog คืออะไร
Blog เปนคํารวมมาจากศัพทคําวา เว็บล็อก (WeBlog) สามารถอานไดวา We Blog หรือ Web
Log ไมวาจะอานไดอยางไรทั้งสองคํานี้ก็บงบอกถึงความหมายเดียวกัน วาคือบล็อก (Blog)
คําวา "บล็อก" สามารถใชเปนคํากริยาไดซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผูที่เขียน
บล็อกเปนอาชีพก็จะถูกเรียกวา "บล็อกเกอร"
ความเปนมาของบล็อก
“Weblog” ถูกใชงานเปนครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ป ค.ศ. 1997 เริ่มแรกคนที่
เขียนบล็อกนั้นยังทํากันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเพจขึ้นเองทีละหนา เขียนเปนงานอดิเรกของกลุมสื่อ
อิสระตางๆ หลายๆ แหงกลายเปนแหลงขาวสําคัญใหกับหนังสือพิมพหรือสํานักขาวชั้นนํา แตในปจจุบันนี้
ผูคนหลายลานคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียนบล็อกกันอยางแพรหลาย ตั้งแตนักเรียน นักศึกษา
อาจารย นักเขียน ตลอดจนผูบริหารบริษัทยักษใหญ อีกทั้งยังมีเครื่องมือหรือซอฟทแวรใหเราใชในการเขียน
บล็อกไดมากมาย เชน Drupal, WordPress, Movable Type เปนตน ตอมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย
Peter Merholz จับมาเรียกยอเหลือแต “Blog” แทนในเดือนเมษายน ป ค.ศ. 1999 และคําคํานี้เริ่มใชเปน
ครั้งแรกๆ ผานทางหนาหนังสือพิมพและนิตยสาร จนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2003 ทาง Oxford
English Dictionary จึงไดบรรจุคําวา blog ในพจนานุกรม แสดงวาไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ
บล็อก (Blog) ขึ้นแทนศัพทยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน
มากที่สุด ประจําป 2004 และคนเขียนบล็อกก็ไดรับการยอมรับจากสื่อและสํานักขาวตางๆ ถึงความรวดเร็ว
ในการใหขอมูลตั้งแตเรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุมระดับชาติ และจากเหตุการณ
เหลานี้ นับไดวาบล็อกเปนสื่อชนิดหนึ่งที่ไมตางจาก วีดีโอ, สิ่งพิมพ, โทรทัศน หรือแมกระทั่งวิทยุ เรา
สามารถเรียกไดวาบล็อกไดเขามาเปนสื่อชนิดใหมที่สําคัญอยางแทจริง
สํานักขาวเอพีรายงานวา “เว็บไซต ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน “เมอรเรียม-เว็บสเตอร” ได
ประกาศรายชื่อ คําศัพทซึ่งถูกคลิก เขาไปคนหา ความหมายผาน ระบบออนไลนมากที่สุด 10 อันดับแรก
ประจําปนี้ ซึ่งอันดับหนึ่งตกเปนของคําวา “บล็อก” (blog) ซึ่งเปนคํายอของ “เว็บ บล็อก” (web log) โดย
นายอาเธอร บิคเนล โฆษกสํานักพิมพพจนานุกรมฉบับ เมอรเรียม-เว็บสเตอร กลาววา สํานักพิมพไดเตรียม
ที่จะนําคําวา “บล็อก” บรรจุลงในพจนานุกรมฉบับลาสุดทั้งที่เปนเลมและ ฉบับออนไลนแลว แตจากความ
ตองการของผูใชที่หลั่งไหลเขามา ทําใหเมอรเรียม-เว็บสเตอรตัดสินใจบรรจุคําวา “บล็อก” ลงในเว็บไซตใน
3
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
สังกัดบางแหงไปกอน โดยใหคําจํากัดความไววา “เว็บไซตที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกสวนตัวประจําวัน
ซึ่งสะทอนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงคเชื่อมตอไปยังเว็บไซตอื่นๆ ตามความ
ประสงคของเจาของเว็บบล็อกเองดวย” โดยทั่วไปคําศัพทที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้นจะตองผานการใช
งาน อยางแพรหลาย มาไมนอยกวา 20 ป ซึ่งหมายความวาคําคํานั้นจะตองถูกนํามาใชโดยทั่วไปใน
ระยะเวลาหนึ่ง อยางไรก็ตาม ปจจุบันคําศัพท ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไขเจ็บใหมๆ อยางเชน โรค
เอดส โรคไขหวัดซารส ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้น
บล็อกมีบทบาทมากขึ้นในปจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ เนื่องจากระบบแกไขที่
เรียบงาย และสามารถตีพิมพเรื่องราวไดโดยไมตองใชความรูในการเขียนเว็บไซต เปนอีกชองทางหนึ่งใน
การเผยแพรขอมูล หรือแนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพรขอมูลสูประชาชนไดรวดเร็วและ
เสียคาใชจายนอยกวาสื่อในดานอื่นจากความนิยมที่มากขึ้น ทําใหหลายเว็บไซตเปดใหมีสวนการใชงาน
บล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกใหมีการเขาสูเว็บไซตมากขึ้นทั้งผูเขียนและผูอาน
ความหมายของคําวา Blog
บล็อก คือรูปแบบหนึ่งของเว็บไซต เปนการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบน
เว็บไซต โดยเนื้อหาของบล็อกนั้นสามารถครอบคลุมไดทุกเรื่อง มีเนื้อหาไดหลากหลาย ไมวาจะเปน
เรื่องราวสวนตัวที่สามารถเรียกไดวา ไดอารีออนไลน หรือเปนบทความเฉพาะดานตางๆ สามารถใชเปน
เครื่องมือสื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดาน เชน
สิ่งแวดลอม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจการคา เปนตน อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาใน
ประเภทตางๆ อีกมากมาย ตามความถนัด ความสนใจของเจาของบล็อก เพราะสิ่งสําคัญที่ทําใหบล็อกเปน
ที่นิยมก็คือ ผูเขียนบล็อกนั่นเอง
บล็อกถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุดไวที่ลําดับ
แรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงค และสื่อชนิดตางๆ ไมวาจะเปน เพลง วิดีโอ หรือ
สื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผานเว็บไซตได
จุดเดน และจุดแตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกเปนเครื่องมือสื่อสารที่สามารถสื่อ
ถึงความเปนกันเองระหวางผูเขียนบล็อก และผูอานบล็อกที่เปนกลุมเปาหมายผานทางระบบการแสดง
ความคิดเห็น (Comment) ของตนเองใสลงไปในบทความนั้นๆ ซึ่งทําใหผูเขียนสามารถไดผลตอบกลับโดย
ทันที บล็อกบางแหงจะมีอิทธิพลในการโนมนาวจิตใจผูอานสูงมาก แตในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียน
ขึ้นมาเพื่อใหอานกันในกลุมเฉพาะ เชน กลุมเพื่อนๆ หรือครอบครัว
4
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
สวนประกอบของ Blog
บล็อกประกอบไปดวยสวนประกอบ 3 สวน คือ
1. หัวขอ (Title)
2. เนื้อหา (Post หรือ Content)
3. วันเวลาที่เขียน (Date/Time)
การใชงานบล็อก
ผูใชงานบล็อกจะแกไขและบริหารบล็อกผานทางเว็บเบราวเซอรเหมือนการใชงานและอานเว็บไซต
ทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกตางกัน เชนบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผูเขียนหลายคน
จะสงเรื่องเขาทางบล็อก และจะตองรอใหบรรณาธิการอนุมัติใหบล็อกเผยแพรกอน บล็อกถึงจะแสดงผลใน
เว็บไซตนั้นได ซึ่งจะแตกตางจากบล็อกสวนตัวที่จะใหแสดงผลไดทันที
ผูเขียนบล็อกในปจจุบันจะใชงานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไมวา ติดตั้งซอฟตแวรของตัวเอง
หรือใชงานบล็อกผานทางเว็บไซตที่ใหบริการบล็อก ผูเขียนบล็อกสามารถใชงานไดทันทีโดยไมตองมีพื้น
ฐานความรูในดาน HTML หรือการทําเว็บไซตแตอยางใด ทําใหผูเขียนบล็อกสามารถใชเวลาสวนใหญใน
การบริหารจัดการ เพิ่มเติม ขอมูลและสารสนเทศแทนได นอกจากนี้ระบบการจัดการบล็อกจะสนับสนุน
ระบบ WYSIWYG ซึ่งทําใหงายตอการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมีเทมเพลตในหลายแบบใหเลือกใช
สําหรับผูอานบล็อกจะใชงานไดในลักษณะเหมือนอานเว็บไซตทั่วไป และสามารถแสดงความเห็น
ไดในสวนทายของแตละบล็อกโดยอาจจะตองผานการลงทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ผูอานบล็อก
สามารถอานบล็อกไดผานระบบฟด (Feed) ซึ่งมีใหบริการในบล็อกทั่วไป ทําใหผูใชสามารถอานบล็อกได
โดยตรงผานโปรแกรมตัวอื่นโดยไมจําเปนตองเขามาสูหนาบล็อกนั้น
------------------------------------
5
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
บทที่ 2
การสมัครสมาชิกเว็บไซตใหบริการบล็อก
ขั้นตอนการใชงานบล็อกผานเว็บไซต www.thaigoodview.com
การใชงานบล็อกผานเว็บไซต www.thaigoodview.com ขั้นตอนแรกคือตองสมัครเปนสมาชิกของ
เว็บไซตกอน ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกันทุกเว็บไซตที่มีการใหบริการบล็อก เพื่อใหมีการแสดงตัวตนของผูที่
เขียนบล็อก
1. เขาสูเว็บไซต โดยพิมพ www.thaigoodview.com ที่ Address bar ดังรูปที่ 2-1
รูปที่ 2-1 
2. การสมัครสมาชิก
2.1 คลิกปุม "สมัครสมาชิก" ที่มุมขวาบนของหนาตาง ดังรูปที่ 2-2
รูปที่ 2-2
6
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
จะไดหนาตางใหม ดังรูปที่ 2-3 เปนเงื่อนไขการสมัครสมาชิก หากทานที่ตองการสมัคร
สมาชิกยอมรับเงื่อนไขการเปนสมาชิก และสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได ก็คลิกที่ปุม
ยอมรับดานลาง
รูปที่ 2-3
7
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
2.2 เมื่อคลิกปุมยอมรับ จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2-4
รูปที่ 2-4
2.3 จากหนาตางในรูปที่ 2-4 ใหกรอกขอมูลลงในแบบฟอรมที่มีใหครบถวนตามคําแนะนําชอง
ใดที่มีเครื่องหมาย * แสดงวาจําเปนตองกรอกไมสามารถปลอยวางได
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูใช
• ชื่อผูใช (Username): ตองเปนภาษาอังกฤษ หรือ ตัวเลข 0-9 หรือผสมกัน หามเวนวรรค
ในกรณีที่เปนนักเรียนเพื่อใชในการจัดการเรียนรู ขอใหคุณครูบอกใหนักเรียนใชชื่อผูใช
ดังนี้ ชื่อยอโรงเรียนเปนภาษาอังกฤษตัวเล็ก แลวตามดวยเลขประจําตัวนักเรียน เชน
sss12345 หมายถึงนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย(sss) เลขประจําตัว 12345 เพื่อ
สะดวกในการตรวจงานใหคะแนน
• อีเมล: ตองเปนอีเมลที่ใชงานจริง ระบบจะสงขอมูลที่จําเปนไปยังอีเมลนี้ เชน สงรหัสผาน
ให โดยระบบจะไมเปดเผยที่อยูอีเมลตอบุคคลภายนอก
8
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
• รหัสผาน: กรุณากรอกรหัสผานของบัญชีใหมทั้งสองชอง (ไมนอยกวา 6 ตัวอักษร)
• ยืนยันรหัสผาน:
สวนที่ 2 ขอมูลสวนตัวของผูใช
• ชื่อ: ใสชื่อจริงเปนภาษาไทย
• นามสกุล: ใสนามสกุลจริงเปนภาษาไทย
• ชื่อภาษาอังกฤษ: ใสชื่อจริงเปนภาษาอังกฤษ
• นามสกุลภาษาอังกฤษ: ใสนามสกุลจริงเปนภาษาอังกฤษ
• เลขบัตรประจําตัวประชาชน: ถาจําไมไดใหใส 0 แตตองทําการแกไขในภายหลัง เนื้อหา
ของขอมูลนี้ถูกรักษาเปนความลับและไมแสดงตอสาธารณะ
• สถานะ: มีใหเลือก 3 สถานะ คือ ครู นักเรียน บุคคลทั่วไป
• ที่อยู: ขอมูลนี้จะไมแสดงใหผูอื่นเห็น เนื้อหาของขอมูลนี้ถูกรักษาเปนความลับและไม
แสดงตอสาธารณะ
• เบอรโทรศัพท: ขอมูลนี้จะไมแสดงใหผูอื่นเห็น เนื้อหาของขอมูลนี้ถูกรักษาเปนความลับ
และไมแสดงตอสาธารณะ
• อีเมล: กรุณายืนยัน email อีกครั้งหนึ่ง
• โรงเรียน: ใสชื่อโรงเรียน
• ที่อยูโรงเรียน: ใสที่อยูโรงเรียนโดยละเอียด
• เบอรโทรศัพทโรงเรียน: ใสเบอรโทรศัพทโรงเรียน
• ระดับชั้นที่กําลังศึกษา: มีใหเลือกคือ ป.1, ป.2, ป.3, ป.4, ป.5, ป.6, ม.1, ม.2, ม.3, ม.4,
ม.5, ม.6, ครู, บุคคลทั่วไป เลือกระดับชั้นที่ศึกษาอยูถาเปนนักเรียน, เลือกครูหรือบุคคล
ทั่วไปถาไมใชนักเรียน
สวนที่ 3 CAPTCHA
คําถามนี้มีไวเพื่อทดสอบวาคุณเปนมนุษยและปองกันการสงขอความขยะจาก
โปรแกรมอัตโนมัติ เชน
Math Question: * 1 + 11 =
Solve this simple math problem and enter the result. E.g. for 1+3, enter 4.
9
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
2.4 คลิกปุม “สรางบัญชีผูใชใหม”
2.4.1 ถาพบหนาตางสมัครสมาชิกหนาตางเดิม ใหอานขอผิดพลาดที่ระบบแจง แลวทํา
การแกไข และคลิกปุม “สรางบัญชีผูใชใหม” อีกครั้ง
2.4.2 ถาสมัครเรียบรอยแลวจะพบกับหนาตางแจงวา "คุณสมัครสมาชิกเรียบรอยแลว"
ดังรูปที่ 2-5
รูปที่ 2-5
3. การเขาสูระบบ
3.1 คลิกปุม "เขาสูระบบ" ที่มุมขวาบนของหนาตาง(รูปที่ 2-6 เพื่อเขาสูระบบ จะพบหนาตาง
การเขาสูระบบ ใหกรอกชื่อผูใชงาน (Username) และรหัสผาน ใหถูกตอง คลิกปุมล็อกอิน
รูปที่ 2-6
3.2 เมื่อเลิกใชงานกรุณาคลิก "ออกจากระบบ" ดวยทุกครั้ง
หมายเหตุ เมื่อเขาสูระบบเรียบรอยแลว ถาผูใชไมทําการใชงานใดๆ เกิน 30 นาที ระบบจะ
ทําการ ออกจากระบบใหอัตโนมัติ
10
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
4. การแกไขประวัติสวนตัว และรหัสผาน
4.1 คลิกเมนู “บัญชีผูใชของฉัน” (บล็อกทางดานขวามือ)
4.2 คลิกเมนู “แกไข” จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2-7
รูปที่ 2-7
4.2.1 เมนูตั้งคาบัญชีผูใช ใชสําหรับ
• แกไขรหัสผาน
• ใสรูปภาพของผูใชที่ขนาดไมเกิน 85x85 pixel (50 kb)
• เมื่อทําการแกไขเรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน”
4.2.2 เมนูขอมูลสวนตัวของผูใช ใชสําหรับ
• แกไขประวัติสวนตัวได
• เมื่อทําการแกไขเรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน”
5. ตรวจสอบสิ่งที่ฉันสราง เมื่อตองการเขาถึง แกไข หรือตรวจสอบสิ่งที่เคยสรางไว ใหคลิกเมนู
“สิ่งที่ฉันสราง” (บล็อกทางดานขวามือ) จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2-8
11
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 2-8
------------------------------------
12
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
บทที่ 3
การสรางบล็อก และการใชงาน
หลังจากสมัครสมาชิกเว็บไซตที่ตองการจะสราง Blog แลว ขั้นตอนตอไปคือการนําขอมูลใสลงไป
ใน Blog สิ่งที่จะใสลงใน Blog ไดนั้นก็ขึ้นอยูกับเว็บที่ใหบริการวาจะอนุญาตใหใสขอมูลอะไรไดบาง สวน
ใหญก็จะเปนขอความและภาพนิ่ง หรืออาจจะใหใสภาพเคลื่อนไหว เชน Flash หรือภาพยนตร เปนตน
สําหรับในเว็บไซต www.thaigoodview.com สามารถใสขอความ ภาพนิ่ง และ Flash ได
ขั้นตอนการใสขอมูลลงใน Blog ที่เว็บไซต www.thaigoodview.com มีดังนี้
1. หลังจากสมัครสมาชิกแลวใหเขาสูระบบ
รูปที่ 3-1
1.1 คลิกเมนู “สรางเนื้อหา” (บล็อกทางดานขวามือ-รูปที่ 3-1)
1.2 สําหรับสมาชิกทั่วไปจะไดรับสิทธิ์ในการสรางสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ กระทู ขาว บล็อก สื่อการเรียนรู
และเพื่อนบาน นอกจากนี้ยังมีพื้นที่สําหรับเก็บไฟลรูปอีก 1 เมกกะไบต (ถาตองการพื้นที่เพิ่มเติม
แจงไดที่ ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล 081-8693782)
1.3 เนื้อหาที่สรางขึ้นมาแตละครั้งจะมี URL เปนของตนเอง ดังนี้
http://www.thaigoodview.com/node/หมายเลขตามลําดับการสราง
1.4 คลิกเลือกเมนูสราง “บล็อก” ดังรูปที่ 3-2 จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2.1-3
รูปที่ 3-2
13
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-3
1.4.1 ใสหัวขอบล็อกที่ตองการสรางลงในฟลด หัวขอ (หมายเลข 1 รูปที่ 3-3)จะใสเปนภาษาอะไร
ก็ได แตควรเปนขอความที่เปนหัวใจของเนื้อหาในหนานั้น เพราะมันคือสวนที่เรียกวาเปน
<title>…..</title>
1.4.2 ใสเนื้อหาของบล็อกลงในฟลด เนื้อความ (หมายเลข 2 รูปที่ 3-3)เปนสวนที่อยูระหวาง
<body>…</body> ซึ่งสามารถใสขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว Flash ภาพยนตร
เสียง ได นอกจากนี้ยังสามารถใสสัญลักษณพิเศษ Emotions และการสรางตาราง และที่จะ
ขาดเสียมิไดในการสรางเว็บเพจคือ การเชื่อมโยง (Link) ซึ่งวิธีการทั้งหมดโดยละเอียดจะได
กลาวตอไป
1.4.3 ทานสามารถใชเครื่องมือที่มีในฟลดเนื้อความเพื่อชวยพิมพ ปรับแตง แทรกรูปภาพ แทรก
ตาราง โดยไมตองมีความรู HTML (หมายเลข 3 รูปที่ 3-3)
1.4.4 ถาทานมีความรู HTML สามารถคลิกที่เมนู ปดใชงานแถบเครื่องมือ (disable rich-text) ใต
ฟลดเนื้อความ เพื่อสรางบล็อกดวยคําสั่ง HTML (หมายเลข 4 รูปที่ 3-3)
14
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
1.4.5 คลิกปุม “ยืนยัน” เพื่อใหระบบทําการสรางบล็อกที่ทานสรางขึ้นมาโดยอัตโนมัติ (หมายเลข
5 รูปที่ 3-3)
1.4.6 หากตองการกลับมาแกไข ก็ใหเขา URL ของเนื้อหาที่ตองการแกไข แลวคลิกเลือกเมนู แกไข
เมื่อทําการแกไขเปนที่เรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน” เพื่อบันทึกขอมูลที่ไดทําการแกไข
หมายเหตุ ฟลดที่มีเครื่องหมายดอกจันสีเหลือง หมายความวาฟลดนั้นจําเปนตองกรอกขอมูล
1.5 การใสเนื้อหาของบล็อกลงในฟลด เนื้อความ (หมายเลข 2 รูปที่ 3-3)
• กรณีที่เปนขอความ ทานสามารถพิมพลงไปไดเลย โดยมีเครื่องมือใหทานสามารถตกแตง
ขอความใหนาสนใจได เชน
ตัวหนา ตัวเอียง ขีดเสนใต
จัดชิดซาย จัดกึ่งกลาง จัดชิดขวา
การใสปุมอัตโนมัติ
การยอหนา
การใสสีตัวอักษร และการเนนขอความ
ยกกําลัง ตัวหอย
สําหรับตองการเลือกชนิดและขนาดของ Font ระบบ CMS ไดตั้งคาเริ่มตนใหเปน
ชนิดและขนาด Font มาตรฐานแลว คือ Font Tahoma ขนาด 10 พิกเซล ซึ่งสามารถดู
ภาษาไทยไดทุกบราวเซอร
ดังนั้น ถาตองการคัดลอกขอความจากที่ใดๆ มา ตองวางลงใน Notepad กอน เพื่อ
ลางการจัดรูปแบบตางๆออก แลวคัดลอกจาก Notepad มาวางใหม จะไมเกิดปญหา
• กรณีเปนสัญลักษณพิเศษ ใหคลิกที่ปุม (Insert custom Character) จะไดหนาตางใหม
ดังรูปที่ 3-4 ก็สามารถเลือกสัญลักษณตามที่ตองการได
15
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-4
• กรณีเปน Emotions ใหคลิกที่ปุม (Emotions) จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 3-5 ก็สามารถ
เลือกภาพ Emotions ตามที่ตองการได
รูปที่ 3-5
• กรณีการแทรกรูปภาพ ใหคลิกที่ไอคอนรูปตนไม (Insert/edit image) ดังรูปที่ 3-6
รูปที่ 3-6
จะไดหนาตางใหมขึ้นมาดังรูปที่ 3-7 ใหคลิกปุม Browse ตามลูกศรชี้
16
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-7
จะไดหนาตางใหมขึ้นมาดังรูปที่ 3-8
รูปที่ 3-8
17
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
จากรูปที่ 3.8 บริเวณ 1 หมายถึง ไฟลที่ได Upload ไปเก็บไวที่ Folder ของทานแลว จะมี 5
คอลัมน คือ
o Filename คือ ชื่อของไฟล
o Size ขนาดของไฟล
o Dimension ขนาดของภาพ ความกวางและสูงของภาพ มีหนวยเปนพิกเซล
(ไมเกิน 600x600 พิกเซล ไมเชนนั้นจะไมสามารถอัพโหลดขึ้นบนเว็บได)
o Date วันเดือนปที่ upload ไฟล
o Operation การดําเนินการกับภาพ ไดแก ลบ ลบภาพทิ้ง add ใสภาพลงในสื่อที่สราง
บริเวณ 2 หมายถึง พื้นที่แสดงรูปภาพที่ถูกเลือก ดังรูปที่ 3-9
o Directory : file/u29 หมายถึงที่อยูของภาพที่แสดงอยู
รูปที่ 3-9
ถาทานตองการแทรกไฟลภาพจากที่เก็บในไวเครื่องคอมพิวเตอร ใหคลิกปุม Browse ตรง
ตําแหนงที่ 4 จากรูปที่ 3-8 เมื่อเลือกไฟลภาพที่ตองการไดแลวใหคลิกปุม Upload File ตรง
ตําแหนงที่ 5 จากรูปที่ 3-8 ก็จะไดดังรูปที่ 3-9
18
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
จากรูปที่ 3-9 จะไดไฟล 1111.jpg เก็บไวในหอง file/u29 ที่เว็บ www.thaigoodview.com
เรียบรอยแลว
สามารถเรียกมาใชงานเมื่อใดก็ไดโดยคลิกที่ ปุม add หรือจะลบทิ้งก็คลิก ลบ (แตถาภาพที่จะ
ลบ ไดเคยเลือกไปใชงานแลวและยังใชงานอยู หามลบเด็ดขาด เพราะจะทําใหงานที่ใชภาพ
ดังกลาว ไมมีภาพปรากฏ)
เมื่อคลิกปุม add ก็จะปรากฏไฟลภาพ 1111.jpg ที่ชอง Image URL ในหนาตางเดิมดัง
รูปที่ 3-10
รูปที่ 3-10
จากรูปที่ 3-10 ชอง Image URL ปรากฏที่อยูของภาพคือ /files/u29/1111.jpg ซึ่ง
หมายถึง http://www.thaigoodview.com /files/u29/1111.jpg ถาไมตองการปรับแตงใดๆ แลว
ใหคลิกปุม “Insert” เพื่อแทรกรูปภาพที่เลือกไว
การปรับแตง ในหนาตางตามรูปที่ 3-10 มีรายละเอียดในการปรับแตงภาพดังนี้
Image description คือรายละเอียดของภาพ จะใสหรือไมก็ได (หลายคนนิยมใสวานําภาพนี้มา
จากที่ใด เปนการอางอิง เชน ภาพจาก http://www3.ipst.ac.th/images2/36yearsIPSTm2.jpg)
Alignment คือการกําหนดตําแหนงที่จะวางรูปภาพ เชน ถามีขอความอยูในบรรทัดเดียว จะใหอยู
อยางไรกับขอความ บน กลาง หรือลาง และที่พิเศษคือสามารถกําหนดใหภาพอยูทางซาย หรือ
ทางขวา แลวขอความทั้งหมดอยู ทางขวาหรือซาย เชน รูปที่ 3-11
19
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-11
Dimensions คือขนาดของภาพ หนวยเปนพิกเซล ซึ่งภาพที่จะนํามาใชงานนั้น
Border คือขนาดของขอบภาพ
Vertical space คือชองวางตามแนวตั้ง
Horizontal space คือชองวางตามแนวนอน
เมื่อตั้งคาตามที่ตองการแลว ก็คลิกที่ปุม Insert ภาพก็จะมาปรากฏดังรูปที่ 3-12
รูปที่ 3-12
หากตองการแกไขภาพ ก็คลิกเลือกภาพที่จะแกไข แลวคลิกปุมตนไมก็จะประกฎหนาตาง
ดังรูปที่ 3-10 ขึ้นมาใหแกไข
20
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
ขอควรตรวจสอบ
จากรูปที่ 3-8 บริเวณที่ 6 จะเปนรายละเอียดวาผูใชงานไดใชพื้นที่ในการเก็บขอมูลรูปภาพไวเทาไร
เหลือเทาไร ดังรูปที่ 3-13
รูปที่ 3-13
o Limits : File size = 100 KB หมายถึง ไฟลตองมีขนาดไมเกิน 100 kb.
o Dimension = 500x500 หมายถึง ภาพตองกวางและสูงไมเกิน 500 พิกเซล
o Quota = 497.79 KB/15000 kb. หมายถึง ใชพื้นที่เก็บภาพไป 497.79 kb. จากที่มีพื้นที่
เก็บได 150000 kb. (กรณีที่พื้นที่เต็มสามารถแจงขอเพิ่มพื้นที่เก็บได)
o Resize image หมายถึงตองการใหยอภาพลงเปนขนาดเทาไรใหเติมลงชอง เมื่อยอแลว
ทับไฟลเดิมก็ไมตองเลือก Create a copy แตถาตองการเปนไฟลใหมก็เลือก Create a
copy
o ดังนั้นที่ตองระมัดระวังคือ ขนาดของภาพ และพื้นที่ในการจัดเก็บขอมูล
• กรณีแทรก flash ใหคลิกที่ไอคอน รูปฟลม (Insert/edit embedded media) จะได
หนาตางดังรูปที่ 3-14 ก็ดําเนินการแทรก flash ไดตามตองการ โดยมีขั้นตอนการแทรก
คลายกันกับการแทรกรูปภาพ
21
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-14
• การสรางตาราง เมื่อคลิกที่ปุมสรางตาราง จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 3-15 เพื่อให
กําหนดคาตารางที่ตองการ และเมื่อไดกําหนดคาตารางตามตองการเปนที่เรียบรอยแลว คลิก
ปุม “Insert”
22
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-15
o Columns คือ จํานวนคอลัมนของตารางที่ตองการแทรก
o Rows คือ จํานวนแถวของตารางที่ตองการแทรก
o Alignment คือ การจัดตําแหนงของตาราง
o Border คือ ขนาดของเสนขอบตารางที่ตองการแทรก มีหนวยเปนพิกเซล
o Width คือ ความกวางของตาราง มีหนวยเปนพิกเซล (ไมควรเกิน 500 พิกเซล)
o Height คือ ความสูงของตาราง มีหนวยเปนพิกเซล
ขอควรระวัง หากกําหนดความกวางของตารางเกิน 500 พิกเซล จะมีปญหาการ
นําเสนอที่ทําใหเสียรูปแบบ
• การเชื่อมโยง (Link)
การเชื่อมโยง สามารถกระทําได 2 วิธี คือ เชื่อมโยงจากขอความ และเชื่อมโยงจากรูปภาพ
o เชื่อมโยงจากขอความ ใหเลือกขอความที่จะเชื่อมโยง แลวคลิกที่ปุมโซ จะไดหนาตา
ใหมดังรูปที่ 3-16 และเมื่อไดกําหนดคาตามตองการเปนที่เรียบรอยแลว คลิกปุม
“Insert”
23
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-16
Link URL หมายถึง ที่อยูของเว็บไซต รูปภาพ ไฟลเอกสาร สื่อ ฯ ที่ตองการ
เชื่อมโยง
Target หมายถึง ลักษณะการเปดเมื่อผูใชคลิก ตองการใหเปด URL นั้น
แทนที่หนาตางเดิม หรือเปดหนาตางใหม
Title หมายถึง ขอความที่ตองการใหแสดงเมื่อมีผูใชนําเมาสไปแตะ link
o เชื่อมโยงจากรูปภาพ ใหคลิกเลือกภาพที่ตองการจะเชื่อมโยง แลวคลิกที่ปุม
แลวดําเนินการเหมือนเชื่อมโยงขอความ
24
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
• การใชคําสั่งขึ้นหนาใหมอัตโนมัติ ดวยคําสั่ง <!--pagebreak-->
รูปที่ 3-17
o กําหนดขอบเขตขอมูลของแตละหนาตามความตองการ แลวจดจําขอมูลทายสุดที่
ตองการตัดขึ้นหนาใหมไว หมายเลข 1 รูปที่ 3-17
o คลิกปดใชงานแถบเครื่องมือ(disable rich-text) หมายเลข 2 รูปที่ 3-17 ใตฟลด
เนื้อความ จะสังเกตเห็นวาแถบเครื่องมือจะหายไป และขอมูลที่อยูในฟลดเนื้อความ
จะกลายเปนคําสั่งภาษา HTML ดังรูปที่ 3-18
25
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 3-18
o หาตําแหนงที่ตองการใหขอมูลถูกตัดขึ้นหนาใหม (ที่จําไวในขอ 1) เมื่อพบแลวให
พิมพคําสั่ง <!--pagebreak--> ทายขอมูลที่ตองการตัดขึ้นหนาใหม ดังรูปที่ 2.1-18
รูปที่ 3-19
26
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
o เมื่อแทรกคําสั่งเรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน” จะพบวาขอมูลถูกตัดขึ้นหนาใหม
อัตโนมัติ โดยมี link เชื่อมโยงไปยังแตละหนาที่ทําการแบงไว ดังรูปที่ 3-20
รูปที่ 3-20
------------------------------------
27
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
บทที่ 4
การใชบล็อกในการจัดการเรียนรู
หลังจากที่ไดรูวาบล็อกคืออะไร สามารถทําอะไรไดบาง สมัครสมาชิกแลว สรางบล็อกเปนแลว
คราวนี้ก็เขาสูวิธีการที่จะนําบล็อกไปใชในการจัดการเรียนรู วาจะดําเนินการอยางไร
เพื่อใหเขาใจไดงายขึ้น ผมจะยกตัวอยางที่ผมไดทดลองใช และเพื่อนครูที่กําลังทดลองใชกันอยู
ดังนี้
ขั้นที่ 1 เลือกเนื้อหาที่จะใช
การที่ครูผูสอนจะใชบล็อกเพื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนนั้น มิไดหมายความวาทั้งภาคเรียน
ตองใชตลอด แตควรเลือกใชในบางกรณีเพื่อทําใหการจัดการเรียนรูที่ไปกระตุนใหการเรียนการสอนมี
เทคนิควิธีการที่แปลกออกไป โดยมีจุดมุงหมายหลักๆ ดังนี้
1. เพื่อใหนักเรียนสามารถใชอินเทอรเน็ตในสิ่งที่เปนประโยชน มิใชใชอินเทอรเน็ตเพียงแคเลนเกม
หรือใชในสิ่งที่ไมคอยจะมีสาระมากนัก เปนการลดการใชอินเทอรเน็ตในทางที่ไมเหมาะสม
2. เพื่อใหนักเรียนไดรูจักการคนควาขอมูลตามหัวขอที่ครูกําหนด แลวนํามาเรียบเรียงใหม ซึ่ง
เหมือนกับทํารายงานสงครู มิไดมุงเนนใหนักเรียนไปคัดลอกขอมูลจากหนังสือ จากไฟล Word
ไฟล PowerPoint หรือ เว็บไซตตางๆ แลวมาใสลงเลย
3. เพื่อเปนการประหยัดคาใชจาย ไมตองเสียคากระดาษ คาหมึก คาเย็บเลมสงครู
4. เพื่อใหผลงานของนักเรียนไดถูกตรวจสอบจากผูอื่นดวย ทําใหตองมีการอางอิงอยางถูกตอง จะ
ละเลยเพราะคิดวาครูผูสอนไมรูไมได เปนการปลูกฝงใหนักเรียนเคารพสิทธิผูอื่น
5. เพื่อใหครูและนักเรียนไดรูจักกับเทคโนโลยีใหมๆ ที่สามารถนํามาใชในการจัดการเรียนรูได
6. เพื่อเปนแหลงขอมูลสําหรับผูอื่นที่ไดเขามาศึกษาคนควาตอไป ดังนั้น ควรเลือกเนื้อหาที่ตองมีการ
เขียนรายงานหลังจากไปคนความา สามารถแทรกภาพไดดวย
28
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
ขั้นที่ 2 สรางบล็อกสั่งงาน
โดยสรางขึ้นมาเพียงภาคเรียนละ 1 Node เชน http://www.thaigoodview.com/node/21509 ดัง
รูปที่ 4-1
รูปที่ 4-1
ในขั้นตอนนี้มีจุดประสงคเพื่อ ใหครูผูสอนสราง URL เพื่อไปบอกนักเรียนวา ครูไดสั่งงานทั้งภาค
เรียนไวแลวที่ URL ไหน ไมวาครูคนนั้นจะสอนกี่หอง กี่วิชา ในภาคเรียน 1 ภาคเรียน ก็สรางเพียง 1 Node
เพราะครูจะไดไมยุงยากในการจํา นักเรียนก็ไมงง แมจะอยูตางหองกัน พอเปลี่ยนภาคเรียนใหมคอยสราง
Node ใหม ลองดูตัวอยางที่ http://www.thaigoodview.com/node/21509
สําหรับคุณครูที่อยากสรางรายวิชาละ 1 Node ทานก็สามารถทําได ลองดูตัวอยางที่
http://www.thaigoodview.com/node/21175 ดังรูปที่ 4-2
29
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 4-2
ขั้นที่ 3 สรางบล็อกสงงาน
ควรสราง 1 Node ตอ 1 งาน เพื่อสะดวกในการสงงานของนักเรียน และสะดวกในการตรวจงาน
ของครู เชน http://www.thaigoodview.com/node/21511 ดังรูปที่ 4-3
รูปที่ 4-3
30
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
ในขั้นตอนนี้ครูผูสอนตองเตรียมการลวงหนาเชนเดียวกัน ซึ่งตองสัมพันธกับตอนที่ 2 เชน ตอนที่ 2
สั่งงานไววา
ชั้นม.6/1
- งานครั้งที่ 1
- งานครั้งที่ 2
- งานครั้งที่ 3
- .............
ตองไปสราง Node งานครั้งที่ 1 ไว วาจะใหนักเรียนทําอะไร สงงานอยางไร หมดเขตสงเมื่อไร
คะแนนเทาไร พรอมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่ตองการแจงใหนักเรียนทราบ
สราง Node งานครั้งที่ 2 ไว วาจะใหนักเรียนทําอะไร สงงานอยางไร หมดเขตสงเมื่อไร คะแนน
เทาไร พรอมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่ตองการแจงใหนักเรียนทราบ
สราง Node งานครั้งที่ 3 ไว วาจะใหนักเรียนทําอะไร สงงานอยางไร หมดเขตสงเมื่อไร คะแนน
เทาไร พรอมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่ตองการแจงใหนักเรียนทราบ
เสร็จแลว กลับไปทําลิงคหนาที่ทําในขั้นตอนที่ 2 ใหมายังหนาในขั้นตอนที่ 3
ขั้นที่ 4 ใหนักเรียนสมัครสมาชิก และอธิบายการเรียนการสอนสอนโดยใชบล็อก
นักเรียนตองทําดังนี้
- สมัครสมาชิก อานบทที่ 2 เรื่องการสมัครสมาชิกเว็บไซตใหบริการ Blog
- วิธีการใชบล็อก อานบทที่ 3 เรื่องการสราง Blog และการใชงาน
ขั้นที่ 5 การสงงานของนักเรียน
ในการสงงานของนักเรียนสามารถทําไดหลากหลายวิธีเชนกัน ตัวอยางเชน ใหนักเรียนทําลงใน
กระดาษแลวสงครูโดยตรง แตวิธีที่ประหยัด และนักเรียนชื่นชอบ คือการใหตอบสงในบล็อก เมื่อทําเสร็จ
นักเรียนจะได URL ของแตละคน หลังจากนั้นใหมาแจงสง โดยคลิกที่แสดงความคิดเห็น แลวแจง URL
ของบล็อกที่ตนเองสรางไว ซึ่งในการแจงสง นักเรียนตองแจงตรงตามหองที่ครูกําหนดไวในขั้นที่ 3 เชน
http://www.thaigoodview.com/node/21511 ดังรูปที่ 4-4
31
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 4-4
ขั้นที่ 6 การตรวจงานของครูผูสอน
ครูผูสอนเขาไปยังหองที่ใหนักเรียนสงงาน แลวคลิกที่ URL ที่นักเรียนแจงสง แลวใหขอคิดเห็นที่
แสดงความคิดเห็นของแตละชิ้นงาน เชน http://www.thaigoodview.com/node/23185 ดังรูปที่ 4-5
32
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
รูปที่ 4-5
------------------------------------
33
การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล
 
บรรณานุกรม
 
Rebecca Blood. Weblogs: a history and perspective. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://www.rebeccablood.net/essays/weblog_history.html. (วันที่คนขอมูล : 25 กุมภาพันธ
2552).
Pamela Paul. The New Family Album. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,993832-3,00.html. (วันที่คนขอมูล : 25
กุมภาพันธ 2552).
Wikipedia. Blog. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://en.wikipedia.org/wiki/Weblog. (วันที่คนขอมูล :
25 กุมภาพันธ 2552).
nut-tangmo. ประวัติ blog. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://nuttangmo.blogspot.com/2008/02/blog_07.html. (วันที่คนขอมูล : 25 กุมภาพันธ
2552).
พูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล. การใชบล็อก (Blog) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
http://www.thaigoodview.com/node/20850. (วันที่คนขอมูล : 30 มีนาคม 2552).

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรAriya Soparux
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 

What's hot (8)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112แบบร่างโครงงาน112
แบบร่างโครงงาน112
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ขนิษฐา
ขนิษฐาขนิษฐา
ขนิษฐา
 
555555555555
555555555555555555555555
555555555555
 

Viewers also liked

WDS - BM4CD Report 1 PDF
WDS - BM4CD Report 1 PDFWDS - BM4CD Report 1 PDF
WDS - BM4CD Report 1 PDFAnthony Gini
 
Contaminacion
ContaminacionContaminacion
Contaminacionargelures
 
151210_ICT활용지원단SW연수
151210_ICT활용지원단SW연수151210_ICT활용지원단SW연수
151210_ICT활용지원단SW연수Choi Man Dream
 
Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.
Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.
Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.andre7black57
 
Weidenhammer Application Development Practice
Weidenhammer Application Development PracticeWeidenhammer Application Development Practice
Weidenhammer Application Development PracticeFred Smollinger
 
Presentación colectiva.
Presentación colectiva.Presentación colectiva.
Presentación colectiva.dearumdeae
 
Eric Burnside Portfolio 2017
Eric Burnside Portfolio 2017Eric Burnside Portfolio 2017
Eric Burnside Portfolio 2017Eric Burnside
 
Mi primera-hora-con-eclipse
Mi primera-hora-con-eclipseMi primera-hora-con-eclipse
Mi primera-hora-con-eclipseAranza Angeles
 
The Educational Video Clips of Superman
The Educational Video Clips of SupermanThe Educational Video Clips of Superman
The Educational Video Clips of SupermanChoi Man Dream
 
Weidenhammer Mobile Application Development Practice
Weidenhammer Mobile Application Development PracticeWeidenhammer Mobile Application Development Practice
Weidenhammer Mobile Application Development PracticeFred Smollinger
 
.ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
.ใบงานแบบสำรวจตัวเอง.ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
.ใบงานแบบสำรวจตัวเองJay's Watcharakorn
 
Weidenhammer Creative Project Highlights
Weidenhammer Creative Project HighlightsWeidenhammer Creative Project Highlights
Weidenhammer Creative Project HighlightsFred Smollinger
 
Sezamie otwórz się - storytelling dla NGO
Sezamie otwórz się - storytelling dla NGOSezamie otwórz się - storytelling dla NGO
Sezamie otwórz się - storytelling dla NGOSzczepan Kasiński
 

Viewers also liked (16)

WDS - BM4CD Report 1 PDF
WDS - BM4CD Report 1 PDFWDS - BM4CD Report 1 PDF
WDS - BM4CD Report 1 PDF
 
Contaminacion
ContaminacionContaminacion
Contaminacion
 
151210_ICT활용지원단SW연수
151210_ICT활용지원단SW연수151210_ICT활용지원단SW연수
151210_ICT활용지원단SW연수
 
Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.
Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.
Drugs, pregnancy, and lactation: ondansetron--troubling data.
 
Weidenhammer Application Development Practice
Weidenhammer Application Development PracticeWeidenhammer Application Development Practice
Weidenhammer Application Development Practice
 
Practica4 aranza
Practica4 aranzaPractica4 aranza
Practica4 aranza
 
Presentación colectiva.
Presentación colectiva.Presentación colectiva.
Presentación colectiva.
 
Eric Burnside Portfolio 2017
Eric Burnside Portfolio 2017Eric Burnside Portfolio 2017
Eric Burnside Portfolio 2017
 
Mi primera-hora-con-eclipse
Mi primera-hora-con-eclipseMi primera-hora-con-eclipse
Mi primera-hora-con-eclipse
 
The Educational Video Clips of Superman
The Educational Video Clips of SupermanThe Educational Video Clips of Superman
The Educational Video Clips of Superman
 
Weidenhammer Mobile Application Development Practice
Weidenhammer Mobile Application Development PracticeWeidenhammer Mobile Application Development Practice
Weidenhammer Mobile Application Development Practice
 
.ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
.ใบงานแบบสำรวจตัวเอง.ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
.ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
 
Weidenhammer Creative Project Highlights
Weidenhammer Creative Project HighlightsWeidenhammer Creative Project Highlights
Weidenhammer Creative Project Highlights
 
LinkedIn-Jelly
LinkedIn-JellyLinkedIn-Jelly
LinkedIn-Jelly
 
Impacts Of Tourism
Impacts Of TourismImpacts Of Tourism
Impacts Of Tourism
 
Sezamie otwórz się - storytelling dla NGO
Sezamie otwórz się - storytelling dla NGOSezamie otwórz się - storytelling dla NGO
Sezamie otwórz się - storytelling dla NGO
 

Similar to ความรู้เบื่องต้นเรื่องการทำ blogger

โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์Pitthaya Onsuk
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์teeraratWI
 
โครงงานNoteBook
โครงงานNoteBookโครงงานNoteBook
โครงงานNoteBooksirikandaTom
 
โครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBookโครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBooksirikandaTom
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4shopper38
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4pornnapafang
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teerarat55
 
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2juthaporn222
 
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2juthaporn222
 
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2juthaporn22
 
โครงงาน แรม
โครงงาน แรมโครงงาน แรม
โครงงาน แรมteerarat55
 
บล็อกคืออะไร
บล็อกคืออะไรบล็อกคืออะไร
บล็อกคืออะไรSupaporn Jittrong
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
TeenhiphopPrint25
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรกลอนแก้ว สาลีศรี
 

Similar to ความรู้เบื่องต้นเรื่องการทำ blogger (20)

โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์โครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงงาน คอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
นิ่ม
นิ่มนิ่ม
นิ่ม
 
โครงงานNoteBook
โครงงานNoteBookโครงงานNoteBook
โครงงานNoteBook
 
โครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBookโครงงาน NoteBook
โครงงาน NoteBook
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
แบบนำเสนอโครงงานเรื่องไมโครโพรเซสเซอร์5.4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
 
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
 
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
โครงงาน Mpeg4 ม.5.2
 
โครงงาน แรม
โครงงาน แรมโครงงาน แรม
โครงงาน แรม
 
บล็อกคืออะไร
บล็อกคืออะไรบล็อกคืออะไร
บล็อกคืออะไร
 
Teenhiphop
TeenhiphopTeenhiphop
Teenhiphop
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blog
 

ความรู้เบื่องต้นเรื่องการทำ blogger

  • 1.
  • 2. การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   สารบัญ หนา คําแนะนํา 1 บทที่ 1 ใชบล็อกบอกเลาใหฟง 2 บทที่ 2 การสมัครสมาชิกเว็บไซตใหบริการบล็อก 5 บทที่ 3 การสรางบล็อก และการใชงาน 12 บทที่ 4 การใชบล็อกในการจัดการเรียนรู 27 บรรณานุกรม 33
  • 3. 1 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   คําแนะนํา หนังสือ เรื่อง การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ไดจัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการ ซึ่งครูผูสอนทุกกลุมสาระสามารถที่จะนําเทคโนโลยีดังกลาวไปใชได ซึ่งไมอยาก เกินไปนักสําหรับครูที่จะเรียนรูในการใชงาน และนําไปจัดกิจกรรมได ปจจุบันการใชงานคอมพิวเตอร ถือเปนเรื่องปกติสําหรับครูและนักเรียนอยูแลว ดังนั้นการใช เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู ตองปรับปรุงและตรวจสอบดูวาสิ่งใดที่จะสามารถนําเทคโนโลยีเขามาชวย ได หรือเปลี่ยนเทคโนโลยีที่ใชอยูใหเหมาะสมและดียิ่งขึ้น ประการสําคัญ การใชเทคโนโลยีมีจุประสงค สําคัญคือ 1. การลดภาระ ลดคาใชจาย ลดเวลาในการทํางาน 2. เกิดการกระตุนใหเกิดการเรียนรูที่งายขึ้น สะดวกขึ้น และสามารถเรียนรูไดทุกคน ทุกที่ และทุก เวลา 3. ไมนําเทคโนโลยีมาใชสอนแทนครู แตใชเทคโนโลยีมาชวยครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู เปนอีกหนึ่งนวัตกรรมที่ผมไดทดลอง ปรับปรุง แกไข ให สามารถใชงานไดเหมาะสมกับบริบทของแตละโรงเรียนไดเปนอยางดี เปนการเรียนรูรวมกันในทุกกลุม สาระการเรียนรู เปนการเรียนรูรวมกันระหวางโรงเรียน นับเปนการสรางเครือขายการเรียนรูที่ตองชวยเหลือ พึ่งพากัน
  • 4. 2 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   บทที่ 1 ใชบล็อกบอกเลาใหฟง Blog คืออะไร Blog เปนคํารวมมาจากศัพทคําวา เว็บล็อก (WeBlog) สามารถอานไดวา We Blog หรือ Web Log ไมวาจะอานไดอยางไรทั้งสองคํานี้ก็บงบอกถึงความหมายเดียวกัน วาคือบล็อก (Blog) คําวา "บล็อก" สามารถใชเปนคํากริยาไดซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผูที่เขียน บล็อกเปนอาชีพก็จะถูกเรียกวา "บล็อกเกอร" ความเปนมาของบล็อก “Weblog” ถูกใชงานเปนครั้งแรกโดย Jorn Barger ในเดือนธันวาคม ป ค.ศ. 1997 เริ่มแรกคนที่ เขียนบล็อกนั้นยังทํากันในระบบ Manual คือเขียนเว็บเพจขึ้นเองทีละหนา เขียนเปนงานอดิเรกของกลุมสื่อ อิสระตางๆ หลายๆ แหงกลายเปนแหลงขาวสําคัญใหกับหนังสือพิมพหรือสํานักขาวชั้นนํา แตในปจจุบันนี้ ผูคนหลายลานคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียนบล็อกกันอยางแพรหลาย ตั้งแตนักเรียน นักศึกษา อาจารย นักเขียน ตลอดจนผูบริหารบริษัทยักษใหญ อีกทั้งยังมีเครื่องมือหรือซอฟทแวรใหเราใชในการเขียน บล็อกไดมากมาย เชน Drupal, WordPress, Movable Type เปนตน ตอมามีฝรั่งที่ชอบเรียกสั้นๆ ชื่อนาย Peter Merholz จับมาเรียกยอเหลือแต “Blog” แทนในเดือนเมษายน ป ค.ศ. 1999 และคําคํานี้เริ่มใชเปน ครั้งแรกๆ ผานทางหนาหนังสือพิมพและนิตยสาร จนมาถึงวันที่ 13 มีนาคม ค.ศ. 2003 ทาง Oxford English Dictionary จึงไดบรรจุคําวา blog ในพจนานุกรม แสดงวาไดรับการยอมรับอยางเปนทางการ บล็อก (Blog) ขึ้นแทนศัพทยอดฮิต อันดับหนึ่ง ซึ่งถูกเสาะแสวงหา ความหมาย ทางพจนานุกรมออนไลน มากที่สุด ประจําป 2004 และคนเขียนบล็อกก็ไดรับการยอมรับจากสื่อและสํานักขาวตางๆ ถึงความรวดเร็ว ในการใหขอมูลตั้งแตเรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุมระดับชาติ และจากเหตุการณ เหลานี้ นับไดวาบล็อกเปนสื่อชนิดหนึ่งที่ไมตางจาก วีดีโอ, สิ่งพิมพ, โทรทัศน หรือแมกระทั่งวิทยุ เรา สามารถเรียกไดวาบล็อกไดเขามาเปนสื่อชนิดใหมที่สําคัญอยางแทจริง สํานักขาวเอพีรายงานวา “เว็บไซต ดิกชั่นนารีหรือ พจนานุกรมออนไลน “เมอรเรียม-เว็บสเตอร” ได ประกาศรายชื่อ คําศัพทซึ่งถูกคลิก เขาไปคนหา ความหมายผาน ระบบออนไลนมากที่สุด 10 อันดับแรก ประจําปนี้ ซึ่งอันดับหนึ่งตกเปนของคําวา “บล็อก” (blog) ซึ่งเปนคํายอของ “เว็บ บล็อก” (web log) โดย นายอาเธอร บิคเนล โฆษกสํานักพิมพพจนานุกรมฉบับ เมอรเรียม-เว็บสเตอร กลาววา สํานักพิมพไดเตรียม ที่จะนําคําวา “บล็อก” บรรจุลงในพจนานุกรมฉบับลาสุดทั้งที่เปนเลมและ ฉบับออนไลนแลว แตจากความ ตองการของผูใชที่หลั่งไหลเขามา ทําใหเมอรเรียม-เว็บสเตอรตัดสินใจบรรจุคําวา “บล็อก” ลงในเว็บไซตใน
  • 5. 3 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   สังกัดบางแหงไปกอน โดยใหคําจํากัดความไววา “เว็บไซตที่บรรจุ เรื่องราวเกี่ยวกับบันทึกสวนตัวประจําวัน ซึ่งสะทอนถึงมุมมอง ความคิดเห็นของบุคคล โดยอาจรวมลิงคเชื่อมตอไปยังเว็บไซตอื่นๆ ตามความ ประสงคของเจาของเว็บบล็อกเองดวย” โดยทั่วไปคําศัพทที่ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมนั้นจะตองผานการใช งาน อยางแพรหลาย มาไมนอยกวา 20 ป ซึ่งหมายความวาคําคํานั้นจะตองถูกนํามาใชโดยทั่วไปใน ระยะเวลาหนึ่ง อยางไรก็ตาม ปจจุบันคําศัพท ทางเทคโนโลยีรวมไปถึงโรคภัยไขเจ็บใหมๆ อยางเชน โรค เอดส โรคไขหวัดซารส ถูกบรรจุลงในพจนานุกรมภายในระยะเวลาอันสั้น บล็อกมีบทบาทมากขึ้นในปจจุบันในวงการสื่อมวลชนในหลายประเทศ เนื่องจากระบบแกไขที่ เรียบงาย และสามารถตีพิมพเรื่องราวไดโดยไมตองใชความรูในการเขียนเว็บไซต เปนอีกชองทางหนึ่งใน การเผยแพรขอมูล หรือแนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพรขอมูลสูประชาชนไดรวดเร็วและ เสียคาใชจายนอยกวาสื่อในดานอื่นจากความนิยมที่มากขึ้น ทําใหหลายเว็บไซตเปดใหมีสวนการใชงาน บล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกใหมีการเขาสูเว็บไซตมากขึ้นทั้งผูเขียนและผูอาน ความหมายของคําวา Blog บล็อก คือรูปแบบหนึ่งของเว็บไซต เปนการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบน เว็บไซต โดยเนื้อหาของบล็อกนั้นสามารถครอบคลุมไดทุกเรื่อง มีเนื้อหาไดหลากหลาย ไมวาจะเปน เรื่องราวสวนตัวที่สามารถเรียกไดวา ไดอารีออนไลน หรือเปนบทความเฉพาะดานตางๆ สามารถใชเปน เครื่องมือสื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดาน เชน สิ่งแวดลอม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจการคา เปนตน อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาใน ประเภทตางๆ อีกมากมาย ตามความถนัด ความสนใจของเจาของบล็อก เพราะสิ่งสําคัญที่ทําใหบล็อกเปน ที่นิยมก็คือ ผูเขียนบล็อกนั่นเอง บล็อกถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุดไวที่ลําดับ แรกสุด โดยปกติบล็อกจะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงค และสื่อชนิดตางๆ ไมวาจะเปน เพลง วิดีโอ หรือ สื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผานเว็บไซตได จุดเดน และจุดแตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกเปนเครื่องมือสื่อสารที่สามารถสื่อ ถึงความเปนกันเองระหวางผูเขียนบล็อก และผูอานบล็อกที่เปนกลุมเปาหมายผานทางระบบการแสดง ความคิดเห็น (Comment) ของตนเองใสลงไปในบทความนั้นๆ ซึ่งทําใหผูเขียนสามารถไดผลตอบกลับโดย ทันที บล็อกบางแหงจะมีอิทธิพลในการโนมนาวจิตใจผูอานสูงมาก แตในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียน ขึ้นมาเพื่อใหอานกันในกลุมเฉพาะ เชน กลุมเพื่อนๆ หรือครอบครัว
  • 6. 4 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   สวนประกอบของ Blog บล็อกประกอบไปดวยสวนประกอบ 3 สวน คือ 1. หัวขอ (Title) 2. เนื้อหา (Post หรือ Content) 3. วันเวลาที่เขียน (Date/Time) การใชงานบล็อก ผูใชงานบล็อกจะแกไขและบริหารบล็อกผานทางเว็บเบราวเซอรเหมือนการใชงานและอานเว็บไซต ทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกตางกัน เชนบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผูเขียนหลายคน จะสงเรื่องเขาทางบล็อก และจะตองรอใหบรรณาธิการอนุมัติใหบล็อกเผยแพรกอน บล็อกถึงจะแสดงผลใน เว็บไซตนั้นได ซึ่งจะแตกตางจากบล็อกสวนตัวที่จะใหแสดงผลไดทันที ผูเขียนบล็อกในปจจุบันจะใชงานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไมวา ติดตั้งซอฟตแวรของตัวเอง หรือใชงานบล็อกผานทางเว็บไซตที่ใหบริการบล็อก ผูเขียนบล็อกสามารถใชงานไดทันทีโดยไมตองมีพื้น ฐานความรูในดาน HTML หรือการทําเว็บไซตแตอยางใด ทําใหผูเขียนบล็อกสามารถใชเวลาสวนใหญใน การบริหารจัดการ เพิ่มเติม ขอมูลและสารสนเทศแทนได นอกจากนี้ระบบการจัดการบล็อกจะสนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทําใหงายตอการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมีเทมเพลตในหลายแบบใหเลือกใช สําหรับผูอานบล็อกจะใชงานไดในลักษณะเหมือนอานเว็บไซตทั่วไป และสามารถแสดงความเห็น ไดในสวนทายของแตละบล็อกโดยอาจจะตองผานการลงทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ผูอานบล็อก สามารถอานบล็อกไดผานระบบฟด (Feed) ซึ่งมีใหบริการในบล็อกทั่วไป ทําใหผูใชสามารถอานบล็อกได โดยตรงผานโปรแกรมตัวอื่นโดยไมจําเปนตองเขามาสูหนาบล็อกนั้น ------------------------------------
  • 7. 5 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   บทที่ 2 การสมัครสมาชิกเว็บไซตใหบริการบล็อก ขั้นตอนการใชงานบล็อกผานเว็บไซต www.thaigoodview.com การใชงานบล็อกผานเว็บไซต www.thaigoodview.com ขั้นตอนแรกคือตองสมัครเปนสมาชิกของ เว็บไซตกอน ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกันทุกเว็บไซตที่มีการใหบริการบล็อก เพื่อใหมีการแสดงตัวตนของผูที่ เขียนบล็อก 1. เขาสูเว็บไซต โดยพิมพ www.thaigoodview.com ที่ Address bar ดังรูปที่ 2-1 รูปที่ 2-1  2. การสมัครสมาชิก 2.1 คลิกปุม "สมัครสมาชิก" ที่มุมขวาบนของหนาตาง ดังรูปที่ 2-2 รูปที่ 2-2
  • 8. 6 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   จะไดหนาตางใหม ดังรูปที่ 2-3 เปนเงื่อนไขการสมัครสมาชิก หากทานที่ตองการสมัคร สมาชิกยอมรับเงื่อนไขการเปนสมาชิก และสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขได ก็คลิกที่ปุม ยอมรับดานลาง รูปที่ 2-3
  • 9. 7 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   2.2 เมื่อคลิกปุมยอมรับ จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2-4 รูปที่ 2-4 2.3 จากหนาตางในรูปที่ 2-4 ใหกรอกขอมูลลงในแบบฟอรมที่มีใหครบถวนตามคําแนะนําชอง ใดที่มีเครื่องหมาย * แสดงวาจําเปนตองกรอกไมสามารถปลอยวางได สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูใช • ชื่อผูใช (Username): ตองเปนภาษาอังกฤษ หรือ ตัวเลข 0-9 หรือผสมกัน หามเวนวรรค ในกรณีที่เปนนักเรียนเพื่อใชในการจัดการเรียนรู ขอใหคุณครูบอกใหนักเรียนใชชื่อผูใช ดังนี้ ชื่อยอโรงเรียนเปนภาษาอังกฤษตัวเล็ก แลวตามดวยเลขประจําตัวนักเรียน เชน sss12345 หมายถึงนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย(sss) เลขประจําตัว 12345 เพื่อ สะดวกในการตรวจงานใหคะแนน • อีเมล: ตองเปนอีเมลที่ใชงานจริง ระบบจะสงขอมูลที่จําเปนไปยังอีเมลนี้ เชน สงรหัสผาน ให โดยระบบจะไมเปดเผยที่อยูอีเมลตอบุคคลภายนอก
  • 10. 8 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   • รหัสผาน: กรุณากรอกรหัสผานของบัญชีใหมทั้งสองชอง (ไมนอยกวา 6 ตัวอักษร) • ยืนยันรหัสผาน: สวนที่ 2 ขอมูลสวนตัวของผูใช • ชื่อ: ใสชื่อจริงเปนภาษาไทย • นามสกุล: ใสนามสกุลจริงเปนภาษาไทย • ชื่อภาษาอังกฤษ: ใสชื่อจริงเปนภาษาอังกฤษ • นามสกุลภาษาอังกฤษ: ใสนามสกุลจริงเปนภาษาอังกฤษ • เลขบัตรประจําตัวประชาชน: ถาจําไมไดใหใส 0 แตตองทําการแกไขในภายหลัง เนื้อหา ของขอมูลนี้ถูกรักษาเปนความลับและไมแสดงตอสาธารณะ • สถานะ: มีใหเลือก 3 สถานะ คือ ครู นักเรียน บุคคลทั่วไป • ที่อยู: ขอมูลนี้จะไมแสดงใหผูอื่นเห็น เนื้อหาของขอมูลนี้ถูกรักษาเปนความลับและไม แสดงตอสาธารณะ • เบอรโทรศัพท: ขอมูลนี้จะไมแสดงใหผูอื่นเห็น เนื้อหาของขอมูลนี้ถูกรักษาเปนความลับ และไมแสดงตอสาธารณะ • อีเมล: กรุณายืนยัน email อีกครั้งหนึ่ง • โรงเรียน: ใสชื่อโรงเรียน • ที่อยูโรงเรียน: ใสที่อยูโรงเรียนโดยละเอียด • เบอรโทรศัพทโรงเรียน: ใสเบอรโทรศัพทโรงเรียน • ระดับชั้นที่กําลังศึกษา: มีใหเลือกคือ ป.1, ป.2, ป.3, ป.4, ป.5, ป.6, ม.1, ม.2, ม.3, ม.4, ม.5, ม.6, ครู, บุคคลทั่วไป เลือกระดับชั้นที่ศึกษาอยูถาเปนนักเรียน, เลือกครูหรือบุคคล ทั่วไปถาไมใชนักเรียน สวนที่ 3 CAPTCHA คําถามนี้มีไวเพื่อทดสอบวาคุณเปนมนุษยและปองกันการสงขอความขยะจาก โปรแกรมอัตโนมัติ เชน Math Question: * 1 + 11 = Solve this simple math problem and enter the result. E.g. for 1+3, enter 4.
  • 11. 9 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   2.4 คลิกปุม “สรางบัญชีผูใชใหม” 2.4.1 ถาพบหนาตางสมัครสมาชิกหนาตางเดิม ใหอานขอผิดพลาดที่ระบบแจง แลวทํา การแกไข และคลิกปุม “สรางบัญชีผูใชใหม” อีกครั้ง 2.4.2 ถาสมัครเรียบรอยแลวจะพบกับหนาตางแจงวา "คุณสมัครสมาชิกเรียบรอยแลว" ดังรูปที่ 2-5 รูปที่ 2-5 3. การเขาสูระบบ 3.1 คลิกปุม "เขาสูระบบ" ที่มุมขวาบนของหนาตาง(รูปที่ 2-6 เพื่อเขาสูระบบ จะพบหนาตาง การเขาสูระบบ ใหกรอกชื่อผูใชงาน (Username) และรหัสผาน ใหถูกตอง คลิกปุมล็อกอิน รูปที่ 2-6 3.2 เมื่อเลิกใชงานกรุณาคลิก "ออกจากระบบ" ดวยทุกครั้ง หมายเหตุ เมื่อเขาสูระบบเรียบรอยแลว ถาผูใชไมทําการใชงานใดๆ เกิน 30 นาที ระบบจะ ทําการ ออกจากระบบใหอัตโนมัติ
  • 12. 10 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   4. การแกไขประวัติสวนตัว และรหัสผาน 4.1 คลิกเมนู “บัญชีผูใชของฉัน” (บล็อกทางดานขวามือ) 4.2 คลิกเมนู “แกไข” จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2-7 รูปที่ 2-7 4.2.1 เมนูตั้งคาบัญชีผูใช ใชสําหรับ • แกไขรหัสผาน • ใสรูปภาพของผูใชที่ขนาดไมเกิน 85x85 pixel (50 kb) • เมื่อทําการแกไขเรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน” 4.2.2 เมนูขอมูลสวนตัวของผูใช ใชสําหรับ • แกไขประวัติสวนตัวได • เมื่อทําการแกไขเรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน” 5. ตรวจสอบสิ่งที่ฉันสราง เมื่อตองการเขาถึง แกไข หรือตรวจสอบสิ่งที่เคยสรางไว ใหคลิกเมนู “สิ่งที่ฉันสราง” (บล็อกทางดานขวามือ) จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2-8
  • 14. 12 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   บทที่ 3 การสรางบล็อก และการใชงาน หลังจากสมัครสมาชิกเว็บไซตที่ตองการจะสราง Blog แลว ขั้นตอนตอไปคือการนําขอมูลใสลงไป ใน Blog สิ่งที่จะใสลงใน Blog ไดนั้นก็ขึ้นอยูกับเว็บที่ใหบริการวาจะอนุญาตใหใสขอมูลอะไรไดบาง สวน ใหญก็จะเปนขอความและภาพนิ่ง หรืออาจจะใหใสภาพเคลื่อนไหว เชน Flash หรือภาพยนตร เปนตน สําหรับในเว็บไซต www.thaigoodview.com สามารถใสขอความ ภาพนิ่ง และ Flash ได ขั้นตอนการใสขอมูลลงใน Blog ที่เว็บไซต www.thaigoodview.com มีดังนี้ 1. หลังจากสมัครสมาชิกแลวใหเขาสูระบบ รูปที่ 3-1 1.1 คลิกเมนู “สรางเนื้อหา” (บล็อกทางดานขวามือ-รูปที่ 3-1) 1.2 สําหรับสมาชิกทั่วไปจะไดรับสิทธิ์ในการสรางสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ กระทู ขาว บล็อก สื่อการเรียนรู และเพื่อนบาน นอกจากนี้ยังมีพื้นที่สําหรับเก็บไฟลรูปอีก 1 เมกกะไบต (ถาตองการพื้นที่เพิ่มเติม แจงไดที่ ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล 081-8693782) 1.3 เนื้อหาที่สรางขึ้นมาแตละครั้งจะมี URL เปนของตนเอง ดังนี้ http://www.thaigoodview.com/node/หมายเลขตามลําดับการสราง 1.4 คลิกเลือกเมนูสราง “บล็อก” ดังรูปที่ 3-2 จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 2.1-3 รูปที่ 3-2
  • 15. 13 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 3-3 1.4.1 ใสหัวขอบล็อกที่ตองการสรางลงในฟลด หัวขอ (หมายเลข 1 รูปที่ 3-3)จะใสเปนภาษาอะไร ก็ได แตควรเปนขอความที่เปนหัวใจของเนื้อหาในหนานั้น เพราะมันคือสวนที่เรียกวาเปน <title>…..</title> 1.4.2 ใสเนื้อหาของบล็อกลงในฟลด เนื้อความ (หมายเลข 2 รูปที่ 3-3)เปนสวนที่อยูระหวาง <body>…</body> ซึ่งสามารถใสขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว Flash ภาพยนตร เสียง ได นอกจากนี้ยังสามารถใสสัญลักษณพิเศษ Emotions และการสรางตาราง และที่จะ ขาดเสียมิไดในการสรางเว็บเพจคือ การเชื่อมโยง (Link) ซึ่งวิธีการทั้งหมดโดยละเอียดจะได กลาวตอไป 1.4.3 ทานสามารถใชเครื่องมือที่มีในฟลดเนื้อความเพื่อชวยพิมพ ปรับแตง แทรกรูปภาพ แทรก ตาราง โดยไมตองมีความรู HTML (หมายเลข 3 รูปที่ 3-3) 1.4.4 ถาทานมีความรู HTML สามารถคลิกที่เมนู ปดใชงานแถบเครื่องมือ (disable rich-text) ใต ฟลดเนื้อความ เพื่อสรางบล็อกดวยคําสั่ง HTML (หมายเลข 4 รูปที่ 3-3)
  • 16. 14 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   1.4.5 คลิกปุม “ยืนยัน” เพื่อใหระบบทําการสรางบล็อกที่ทานสรางขึ้นมาโดยอัตโนมัติ (หมายเลข 5 รูปที่ 3-3) 1.4.6 หากตองการกลับมาแกไข ก็ใหเขา URL ของเนื้อหาที่ตองการแกไข แลวคลิกเลือกเมนู แกไข เมื่อทําการแกไขเปนที่เรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน” เพื่อบันทึกขอมูลที่ไดทําการแกไข หมายเหตุ ฟลดที่มีเครื่องหมายดอกจันสีเหลือง หมายความวาฟลดนั้นจําเปนตองกรอกขอมูล 1.5 การใสเนื้อหาของบล็อกลงในฟลด เนื้อความ (หมายเลข 2 รูปที่ 3-3) • กรณีที่เปนขอความ ทานสามารถพิมพลงไปไดเลย โดยมีเครื่องมือใหทานสามารถตกแตง ขอความใหนาสนใจได เชน ตัวหนา ตัวเอียง ขีดเสนใต จัดชิดซาย จัดกึ่งกลาง จัดชิดขวา การใสปุมอัตโนมัติ การยอหนา การใสสีตัวอักษร และการเนนขอความ ยกกําลัง ตัวหอย สําหรับตองการเลือกชนิดและขนาดของ Font ระบบ CMS ไดตั้งคาเริ่มตนใหเปน ชนิดและขนาด Font มาตรฐานแลว คือ Font Tahoma ขนาด 10 พิกเซล ซึ่งสามารถดู ภาษาไทยไดทุกบราวเซอร ดังนั้น ถาตองการคัดลอกขอความจากที่ใดๆ มา ตองวางลงใน Notepad กอน เพื่อ ลางการจัดรูปแบบตางๆออก แลวคัดลอกจาก Notepad มาวางใหม จะไมเกิดปญหา • กรณีเปนสัญลักษณพิเศษ ใหคลิกที่ปุม (Insert custom Character) จะไดหนาตางใหม ดังรูปที่ 3-4 ก็สามารถเลือกสัญลักษณตามที่ตองการได
  • 17. 15 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 3-4 • กรณีเปน Emotions ใหคลิกที่ปุม (Emotions) จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 3-5 ก็สามารถ เลือกภาพ Emotions ตามที่ตองการได รูปที่ 3-5 • กรณีการแทรกรูปภาพ ใหคลิกที่ไอคอนรูปตนไม (Insert/edit image) ดังรูปที่ 3-6 รูปที่ 3-6 จะไดหนาตางใหมขึ้นมาดังรูปที่ 3-7 ใหคลิกปุม Browse ตามลูกศรชี้
  • 19. 17 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   จากรูปที่ 3.8 บริเวณ 1 หมายถึง ไฟลที่ได Upload ไปเก็บไวที่ Folder ของทานแลว จะมี 5 คอลัมน คือ o Filename คือ ชื่อของไฟล o Size ขนาดของไฟล o Dimension ขนาดของภาพ ความกวางและสูงของภาพ มีหนวยเปนพิกเซล (ไมเกิน 600x600 พิกเซล ไมเชนนั้นจะไมสามารถอัพโหลดขึ้นบนเว็บได) o Date วันเดือนปที่ upload ไฟล o Operation การดําเนินการกับภาพ ไดแก ลบ ลบภาพทิ้ง add ใสภาพลงในสื่อที่สราง บริเวณ 2 หมายถึง พื้นที่แสดงรูปภาพที่ถูกเลือก ดังรูปที่ 3-9 o Directory : file/u29 หมายถึงที่อยูของภาพที่แสดงอยู รูปที่ 3-9 ถาทานตองการแทรกไฟลภาพจากที่เก็บในไวเครื่องคอมพิวเตอร ใหคลิกปุม Browse ตรง ตําแหนงที่ 4 จากรูปที่ 3-8 เมื่อเลือกไฟลภาพที่ตองการไดแลวใหคลิกปุม Upload File ตรง ตําแหนงที่ 5 จากรูปที่ 3-8 ก็จะไดดังรูปที่ 3-9
  • 20. 18 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   จากรูปที่ 3-9 จะไดไฟล 1111.jpg เก็บไวในหอง file/u29 ที่เว็บ www.thaigoodview.com เรียบรอยแลว สามารถเรียกมาใชงานเมื่อใดก็ไดโดยคลิกที่ ปุม add หรือจะลบทิ้งก็คลิก ลบ (แตถาภาพที่จะ ลบ ไดเคยเลือกไปใชงานแลวและยังใชงานอยู หามลบเด็ดขาด เพราะจะทําใหงานที่ใชภาพ ดังกลาว ไมมีภาพปรากฏ) เมื่อคลิกปุม add ก็จะปรากฏไฟลภาพ 1111.jpg ที่ชอง Image URL ในหนาตางเดิมดัง รูปที่ 3-10 รูปที่ 3-10 จากรูปที่ 3-10 ชอง Image URL ปรากฏที่อยูของภาพคือ /files/u29/1111.jpg ซึ่ง หมายถึง http://www.thaigoodview.com /files/u29/1111.jpg ถาไมตองการปรับแตงใดๆ แลว ใหคลิกปุม “Insert” เพื่อแทรกรูปภาพที่เลือกไว การปรับแตง ในหนาตางตามรูปที่ 3-10 มีรายละเอียดในการปรับแตงภาพดังนี้ Image description คือรายละเอียดของภาพ จะใสหรือไมก็ได (หลายคนนิยมใสวานําภาพนี้มา จากที่ใด เปนการอางอิง เชน ภาพจาก http://www3.ipst.ac.th/images2/36yearsIPSTm2.jpg) Alignment คือการกําหนดตําแหนงที่จะวางรูปภาพ เชน ถามีขอความอยูในบรรทัดเดียว จะใหอยู อยางไรกับขอความ บน กลาง หรือลาง และที่พิเศษคือสามารถกําหนดใหภาพอยูทางซาย หรือ ทางขวา แลวขอความทั้งหมดอยู ทางขวาหรือซาย เชน รูปที่ 3-11
  • 21. 19 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 3-11 Dimensions คือขนาดของภาพ หนวยเปนพิกเซล ซึ่งภาพที่จะนํามาใชงานนั้น Border คือขนาดของขอบภาพ Vertical space คือชองวางตามแนวตั้ง Horizontal space คือชองวางตามแนวนอน เมื่อตั้งคาตามที่ตองการแลว ก็คลิกที่ปุม Insert ภาพก็จะมาปรากฏดังรูปที่ 3-12 รูปที่ 3-12 หากตองการแกไขภาพ ก็คลิกเลือกภาพที่จะแกไข แลวคลิกปุมตนไมก็จะประกฎหนาตาง ดังรูปที่ 3-10 ขึ้นมาใหแกไข
  • 22. 20 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   ขอควรตรวจสอบ จากรูปที่ 3-8 บริเวณที่ 6 จะเปนรายละเอียดวาผูใชงานไดใชพื้นที่ในการเก็บขอมูลรูปภาพไวเทาไร เหลือเทาไร ดังรูปที่ 3-13 รูปที่ 3-13 o Limits : File size = 100 KB หมายถึง ไฟลตองมีขนาดไมเกิน 100 kb. o Dimension = 500x500 หมายถึง ภาพตองกวางและสูงไมเกิน 500 พิกเซล o Quota = 497.79 KB/15000 kb. หมายถึง ใชพื้นที่เก็บภาพไป 497.79 kb. จากที่มีพื้นที่ เก็บได 150000 kb. (กรณีที่พื้นที่เต็มสามารถแจงขอเพิ่มพื้นที่เก็บได) o Resize image หมายถึงตองการใหยอภาพลงเปนขนาดเทาไรใหเติมลงชอง เมื่อยอแลว ทับไฟลเดิมก็ไมตองเลือก Create a copy แตถาตองการเปนไฟลใหมก็เลือก Create a copy o ดังนั้นที่ตองระมัดระวังคือ ขนาดของภาพ และพื้นที่ในการจัดเก็บขอมูล • กรณีแทรก flash ใหคลิกที่ไอคอน รูปฟลม (Insert/edit embedded media) จะได หนาตางดังรูปที่ 3-14 ก็ดําเนินการแทรก flash ไดตามตองการ โดยมีขั้นตอนการแทรก คลายกันกับการแทรกรูปภาพ
  • 23. 21 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 3-14 • การสรางตาราง เมื่อคลิกที่ปุมสรางตาราง จะไดหนาตางใหมดังรูปที่ 3-15 เพื่อให กําหนดคาตารางที่ตองการ และเมื่อไดกําหนดคาตารางตามตองการเปนที่เรียบรอยแลว คลิก ปุม “Insert”
  • 24. 22 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 3-15 o Columns คือ จํานวนคอลัมนของตารางที่ตองการแทรก o Rows คือ จํานวนแถวของตารางที่ตองการแทรก o Alignment คือ การจัดตําแหนงของตาราง o Border คือ ขนาดของเสนขอบตารางที่ตองการแทรก มีหนวยเปนพิกเซล o Width คือ ความกวางของตาราง มีหนวยเปนพิกเซล (ไมควรเกิน 500 พิกเซล) o Height คือ ความสูงของตาราง มีหนวยเปนพิกเซล ขอควรระวัง หากกําหนดความกวางของตารางเกิน 500 พิกเซล จะมีปญหาการ นําเสนอที่ทําใหเสียรูปแบบ • การเชื่อมโยง (Link) การเชื่อมโยง สามารถกระทําได 2 วิธี คือ เชื่อมโยงจากขอความ และเชื่อมโยงจากรูปภาพ o เชื่อมโยงจากขอความ ใหเลือกขอความที่จะเชื่อมโยง แลวคลิกที่ปุมโซ จะไดหนาตา ใหมดังรูปที่ 3-16 และเมื่อไดกําหนดคาตามตองการเปนที่เรียบรอยแลว คลิกปุม “Insert”
  • 25. 23 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 3-16 Link URL หมายถึง ที่อยูของเว็บไซต รูปภาพ ไฟลเอกสาร สื่อ ฯ ที่ตองการ เชื่อมโยง Target หมายถึง ลักษณะการเปดเมื่อผูใชคลิก ตองการใหเปด URL นั้น แทนที่หนาตางเดิม หรือเปดหนาตางใหม Title หมายถึง ขอความที่ตองการใหแสดงเมื่อมีผูใชนําเมาสไปแตะ link o เชื่อมโยงจากรูปภาพ ใหคลิกเลือกภาพที่ตองการจะเชื่อมโยง แลวคลิกที่ปุม แลวดําเนินการเหมือนเชื่อมโยงขอความ
  • 26. 24 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   • การใชคําสั่งขึ้นหนาใหมอัตโนมัติ ดวยคําสั่ง <!--pagebreak--> รูปที่ 3-17 o กําหนดขอบเขตขอมูลของแตละหนาตามความตองการ แลวจดจําขอมูลทายสุดที่ ตองการตัดขึ้นหนาใหมไว หมายเลข 1 รูปที่ 3-17 o คลิกปดใชงานแถบเครื่องมือ(disable rich-text) หมายเลข 2 รูปที่ 3-17 ใตฟลด เนื้อความ จะสังเกตเห็นวาแถบเครื่องมือจะหายไป และขอมูลที่อยูในฟลดเนื้อความ จะกลายเปนคําสั่งภาษา HTML ดังรูปที่ 3-18
  • 27. 25 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 3-18 o หาตําแหนงที่ตองการใหขอมูลถูกตัดขึ้นหนาใหม (ที่จําไวในขอ 1) เมื่อพบแลวให พิมพคําสั่ง <!--pagebreak--> ทายขอมูลที่ตองการตัดขึ้นหนาใหม ดังรูปที่ 2.1-18 รูปที่ 3-19
  • 28. 26 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   o เมื่อแทรกคําสั่งเรียบรอยแลว คลิกปุม “ยืนยัน” จะพบวาขอมูลถูกตัดขึ้นหนาใหม อัตโนมัติ โดยมี link เชื่อมโยงไปยังแตละหนาที่ทําการแบงไว ดังรูปที่ 3-20 รูปที่ 3-20 ------------------------------------
  • 29. 27 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   บทที่ 4 การใชบล็อกในการจัดการเรียนรู หลังจากที่ไดรูวาบล็อกคืออะไร สามารถทําอะไรไดบาง สมัครสมาชิกแลว สรางบล็อกเปนแลว คราวนี้ก็เขาสูวิธีการที่จะนําบล็อกไปใชในการจัดการเรียนรู วาจะดําเนินการอยางไร เพื่อใหเขาใจไดงายขึ้น ผมจะยกตัวอยางที่ผมไดทดลองใช และเพื่อนครูที่กําลังทดลองใชกันอยู ดังนี้ ขั้นที่ 1 เลือกเนื้อหาที่จะใช การที่ครูผูสอนจะใชบล็อกเพื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนนั้น มิไดหมายความวาทั้งภาคเรียน ตองใชตลอด แตควรเลือกใชในบางกรณีเพื่อทําใหการจัดการเรียนรูที่ไปกระตุนใหการเรียนการสอนมี เทคนิควิธีการที่แปลกออกไป โดยมีจุดมุงหมายหลักๆ ดังนี้ 1. เพื่อใหนักเรียนสามารถใชอินเทอรเน็ตในสิ่งที่เปนประโยชน มิใชใชอินเทอรเน็ตเพียงแคเลนเกม หรือใชในสิ่งที่ไมคอยจะมีสาระมากนัก เปนการลดการใชอินเทอรเน็ตในทางที่ไมเหมาะสม 2. เพื่อใหนักเรียนไดรูจักการคนควาขอมูลตามหัวขอที่ครูกําหนด แลวนํามาเรียบเรียงใหม ซึ่ง เหมือนกับทํารายงานสงครู มิไดมุงเนนใหนักเรียนไปคัดลอกขอมูลจากหนังสือ จากไฟล Word ไฟล PowerPoint หรือ เว็บไซตตางๆ แลวมาใสลงเลย 3. เพื่อเปนการประหยัดคาใชจาย ไมตองเสียคากระดาษ คาหมึก คาเย็บเลมสงครู 4. เพื่อใหผลงานของนักเรียนไดถูกตรวจสอบจากผูอื่นดวย ทําใหตองมีการอางอิงอยางถูกตอง จะ ละเลยเพราะคิดวาครูผูสอนไมรูไมได เปนการปลูกฝงใหนักเรียนเคารพสิทธิผูอื่น 5. เพื่อใหครูและนักเรียนไดรูจักกับเทคโนโลยีใหมๆ ที่สามารถนํามาใชในการจัดการเรียนรูได 6. เพื่อเปนแหลงขอมูลสําหรับผูอื่นที่ไดเขามาศึกษาคนควาตอไป ดังนั้น ควรเลือกเนื้อหาที่ตองมีการ เขียนรายงานหลังจากไปคนความา สามารถแทรกภาพไดดวย
  • 30. 28 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   ขั้นที่ 2 สรางบล็อกสั่งงาน โดยสรางขึ้นมาเพียงภาคเรียนละ 1 Node เชน http://www.thaigoodview.com/node/21509 ดัง รูปที่ 4-1 รูปที่ 4-1 ในขั้นตอนนี้มีจุดประสงคเพื่อ ใหครูผูสอนสราง URL เพื่อไปบอกนักเรียนวา ครูไดสั่งงานทั้งภาค เรียนไวแลวที่ URL ไหน ไมวาครูคนนั้นจะสอนกี่หอง กี่วิชา ในภาคเรียน 1 ภาคเรียน ก็สรางเพียง 1 Node เพราะครูจะไดไมยุงยากในการจํา นักเรียนก็ไมงง แมจะอยูตางหองกัน พอเปลี่ยนภาคเรียนใหมคอยสราง Node ใหม ลองดูตัวอยางที่ http://www.thaigoodview.com/node/21509 สําหรับคุณครูที่อยากสรางรายวิชาละ 1 Node ทานก็สามารถทําได ลองดูตัวอยางที่ http://www.thaigoodview.com/node/21175 ดังรูปที่ 4-2
  • 31. 29 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 4-2 ขั้นที่ 3 สรางบล็อกสงงาน ควรสราง 1 Node ตอ 1 งาน เพื่อสะดวกในการสงงานของนักเรียน และสะดวกในการตรวจงาน ของครู เชน http://www.thaigoodview.com/node/21511 ดังรูปที่ 4-3 รูปที่ 4-3
  • 32. 30 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   ในขั้นตอนนี้ครูผูสอนตองเตรียมการลวงหนาเชนเดียวกัน ซึ่งตองสัมพันธกับตอนที่ 2 เชน ตอนที่ 2 สั่งงานไววา ชั้นม.6/1 - งานครั้งที่ 1 - งานครั้งที่ 2 - งานครั้งที่ 3 - ............. ตองไปสราง Node งานครั้งที่ 1 ไว วาจะใหนักเรียนทําอะไร สงงานอยางไร หมดเขตสงเมื่อไร คะแนนเทาไร พรอมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่ตองการแจงใหนักเรียนทราบ สราง Node งานครั้งที่ 2 ไว วาจะใหนักเรียนทําอะไร สงงานอยางไร หมดเขตสงเมื่อไร คะแนน เทาไร พรอมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่ตองการแจงใหนักเรียนทราบ สราง Node งานครั้งที่ 3 ไว วาจะใหนักเรียนทําอะไร สงงานอยางไร หมดเขตสงเมื่อไร คะแนน เทาไร พรอมทั้งรายละเอียดอื่นๆ ที่ตองการแจงใหนักเรียนทราบ เสร็จแลว กลับไปทําลิงคหนาที่ทําในขั้นตอนที่ 2 ใหมายังหนาในขั้นตอนที่ 3 ขั้นที่ 4 ใหนักเรียนสมัครสมาชิก และอธิบายการเรียนการสอนสอนโดยใชบล็อก นักเรียนตองทําดังนี้ - สมัครสมาชิก อานบทที่ 2 เรื่องการสมัครสมาชิกเว็บไซตใหบริการ Blog - วิธีการใชบล็อก อานบทที่ 3 เรื่องการสราง Blog และการใชงาน ขั้นที่ 5 การสงงานของนักเรียน ในการสงงานของนักเรียนสามารถทําไดหลากหลายวิธีเชนกัน ตัวอยางเชน ใหนักเรียนทําลงใน กระดาษแลวสงครูโดยตรง แตวิธีที่ประหยัด และนักเรียนชื่นชอบ คือการใหตอบสงในบล็อก เมื่อทําเสร็จ นักเรียนจะได URL ของแตละคน หลังจากนั้นใหมาแจงสง โดยคลิกที่แสดงความคิดเห็น แลวแจง URL ของบล็อกที่ตนเองสรางไว ซึ่งในการแจงสง นักเรียนตองแจงตรงตามหองที่ครูกําหนดไวในขั้นที่ 3 เชน http://www.thaigoodview.com/node/21511 ดังรูปที่ 4-4
  • 33. 31 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   รูปที่ 4-4 ขั้นที่ 6 การตรวจงานของครูผูสอน ครูผูสอนเขาไปยังหองที่ใหนักเรียนสงงาน แลวคลิกที่ URL ที่นักเรียนแจงสง แลวใหขอคิดเห็นที่ แสดงความคิดเห็นของแตละชิ้นงาน เชน http://www.thaigoodview.com/node/23185 ดังรูปที่ 4-5
  • 35. 33 การใชบล็อก(Blog) ในการจัดการเรียนรู ครูพูนศักดิ์สักกทัตติยกุล   บรรณานุกรม   Rebecca Blood. Weblogs: a history and perspective. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.rebeccablood.net/essays/weblog_history.html. (วันที่คนขอมูล : 25 กุมภาพันธ 2552). Pamela Paul. The New Family Album. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,993832-3,00.html. (วันที่คนขอมูล : 25 กุมภาพันธ 2552). Wikipedia. Blog. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://en.wikipedia.org/wiki/Weblog. (วันที่คนขอมูล : 25 กุมภาพันธ 2552). nut-tangmo. ประวัติ blog. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://nuttangmo.blogspot.com/2008/02/blog_07.html. (วันที่คนขอมูล : 25 กุมภาพันธ 2552). พูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล. การใชบล็อก (Blog) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thaigoodview.com/node/20850. (วันที่คนขอมูล : 30 มีนาคม 2552).