SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 2

                                      เอกสารที่เกี่ยวของ

         ในการจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ดวย Wordpress
เรื่อง GPRS อัจฉริยะแหงการเชื่อมตอ นี้ ผูจัดทําโครงงานไดศึกษาเอกสารและจากเว็บไซตตางๆ ที่
เกี่ยวของดังตอไปนี้

         2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต
         2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
         2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)

2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต
         เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ เปนอยางมาก
ตัวอยางเชน
1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศชวยในดานการคนควาศึกษาแหลงขอมูล ทําใหการศึกษางายขึ้น
และ
ไรขีดจํากัด ผูเรียนมีความสะดวกในการคนควาวิจัย
2. การดํารงชีวิตประจําวัน ทําใหมีความสะดวกคลองตัวและรวดเร็วในการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่
เกิดขึ้นใน


ชีวิตประจําวัน สามารถทํางานไดหลายอยางในเวลาเดียวกันไดหรือทํางานใชเวลานอยลง
3. การดําเนินธุรกิจ ทําใหมีการแขงขันระหวางธุรกิจมากขึ้น ทําใหตองมีการพัฒนาองคกรเพื่อให
ทันกับขอมูล
ขาวสารอยูตลอดเวลา อันสงผลตอการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง
4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ดานที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เพราะมีการติดตอสื่อสารที่เจริญกาวหนา
ทันสมัย รวดเร็ว
ถูกตองและทําใหเปนโลกที่ไรพรมแดน
5. ระบบการทํางานมีคอมพิวเตอรมาใชซื่อสามารถทํางานไดมากขึ้น งานบางอยางมนุษยทําไมไดก็
ใช
คอมพิวเตอรชวยทํางานแทนซึ่งไดผลถูกตองรวดเร็ว
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตองประกอบดวย
1. ฮารดแวร Hardware
2. ซอฟตแวร Software
3. อุปกรณที่ใชในการใหบริการขอมูลและติดตอสื่อสาร
พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวยสวนประกอบ ดังนี้
1. องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร ไดแก
1. ฮารดแวร Hardware
2. ซอฟตแวร Software
3. ขอมูล Data
4. บุคลากร People
2. โปรแกรมเมอร นักวิเคราะหระบบและผูใชงาน Programmer,System Analyst และ User
เปน บุคคลที่มีหนาที่เกี่ยวของในงานคอมพิวเตอร โปรแกรมเมอรมีหนาที่เขียนโปรแกรมตามที่
นักวิเคราะหไดออกแบบไว สวนผูใชจะเปนกลุมที่มีอิทธิพลตอทิศทางในการพัฒนาเทคโนโลยีทาง
คอมพิวเตอรมากที่สุด
3. หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผลกลาง หนวยแสดงผลและหนวยเก็บขอมูล
หนวยรับขอมูล ทําหนาที่รับโปรแกรมและขอมูลเขาสูคอมพิวเตอร
หนวยประมวลผล ทําหนาที่ประมวลผลและควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอรทั้งหมด
หนวยแสดงผล ทําหนาทีแสดงผลลัพธจากการประมวลผลขอมูล
                     ่
หนวยเก็บขอมูล ทําหนาที่เก็บขอมูลที่รอการประมวลผล และเก็บผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล
ในระหวางที่รอสงไปยังหนวยแสดงผล
4. การจัดการขอมูล ซึ่งหมายถึงแฟมขอมูล
5. การประมวลผล ประกอบดวย 3 ขั้นตอน
1. การรวมบรวมขอมูล
2. การประมวลผล
3. การดูแลรักษา
เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบตาง ๆ
1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เปนระบบการจัดการสารสนเทศที่ทําหนาที่ไมวาจะเปนการบันทึก
การแกไข การทํารายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะชวยใหองคกรมีความ
สะดวกรวดเร็วในการทํางานและยังชวยเปน ขอมูลในการตัดสินใจดวย
2. เทคโนโลยีระบบเครือขาย เปนระบบเทคโนโลยีที่นิยมใชกันมากในปจจุบัน มีประโยชน ดังนี้
1. สามารถติดตอถึงกันไดดวยจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail)
2. จัดเก็บขอมูลไวรวมในที่เดียวกัน ผูอยูหางไกลก็สามารถดึงขอมูลนั้นไปใชไดอยางรวดเร็วไมตอง
เสียเวลาใน การเดินทาง
3. องคกรประหยัดคาใชจายงบประมาณดานอุปกรณ เพราะระบบเครื่อขายสามารถใชอุปกรณ
รวมกันได
4. สามารถทํางานรวมกันไดหรือทํางานโดยใชเอกสารชุดเดียวกัน
3. เทคโนโลยีสํานักงานอัตโนมัติ เปนระบบการทํางานที่ใชระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรและ
อุปกรณสํานักงาน ซึ่งมีผลทําให
1. พนักงานสามารถติดตอสื่อสารกันไดทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E - mail)
2. สามารถบันทึกแฟมเอกสารหรืองานพิมพเก็บไว และสามารถนํามาแกไขปรับปรุงใหดีขึ้นไดงาย
3. การออกแบบงานตาง ๆ ทําไดงายสะดวกรวดเร็วและใชงานไดงาย
4. มีระบบฝากขอความเสียง (Voice Mail)
5. การประชุมทางไกล (Vedio Teleconference)
4. เทคโนโลยีชวยสอน CAI ไดรับความนิยมเปนอยางมาก โรงเรียนและสถานศึกษาก็เริ่มมีการ
พัฒนาโปรแกรมบทเรียนสําเร็จรูปขึ้นมาใช และมีผลดีกับนักเรียนที่จะไดสื่อการเรียนการสอนที่
ทันสมัยและมีความนาสนใจ มากขึ้น
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การนํามาประยุกตใชงาน จะตองคํานึงถึงผลที่จะไดรับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาดวย
2. การวางแผนที่ดี เพื่อเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหเหมาะสมกับงานและเพื่อประโยชนสูงสุด
ที่ควรจะไดรับ
3. มาตรฐานการใชงาน ควรจะมีเจาหนาที่ควบคุมดูแล ไมปลอยปละละเลยหรือใชในทางที่ผิด
4. การลงทุน ควรคํานึงถึงงบประมาณและผลประโยชนที่ไดรับดวย หากประโยชนที่ไดไมคุมคาแก
การลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสียใหม
5. การจัดการขอมูล ตองระมัดระวังไมใหขอมูลซ้ําซอน ควรมีการแบงปนขอมูลเพื่อใหการทํางาน
รวมกันมีการติดตอสรางความสัมพันธ กัน
6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใชเทคโนโลยีรวมกัน ตองมีการดูแลใหสิทธิแกผูใช
ภายในขอบเขตของแตละคน
ขอที2.
     ่
1.เพื่อใชในการจัดเก็บขอมูลที่มากๆใหเปนระบบเเละคนหาไดงาย
2.เพื่อใหเราจัดระบบชีวิตประจําวันของเราใหเปนระบบ
ที่มา http://learnersin.th/blog/wasana/2510/259724

2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media
        2.2.1 ความหมายของ Social Media
                  คําวา “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน ซึ่งมีขนาด
ใหมมากในปจจุบัน

คําวา “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เปนตน

ดังนั้นคําวา Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลนที่มีการตอบสนองทางสังคมไดหลาย
ทิศทาง โดยผานเครือขายอินเตอรเน็ต พูดงายๆ ก็คือเว็บไซตที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพัน
โตตอบกันไดนั่นเอง

พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความตองการของมนุษยหรือคนเราที่ตองการติดตอสื่อสาร
หรือ สัมพันธกัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหาอยางเดียว บุคคลแตละคนไม
สามารถติดตอหรือโตตอบกันได แตเมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเขาสูยุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซตที่
เรียกวา web application ซึ่งก็คือเว็บไซตมีแอพลิเคชันหรือโปรแกรมตางๆ ที่มีการโตตอบกับ
ผูใชงานมากขึ้น ผูใชงานแตละคนสามารถโตตอบกันไดผานหนาเว็บ
2.2.2 ประวัติความเปนมาและพัฒนาการของ Social Media

                 Social Network คือการที่ผูคนสามารถทําความรูจัก และเชื่อมโยงกันในทิศทางใด
ทิศทางหนึ่ง หากเปนเว็บไซตที่เรียกวาเปน เว็บ Social Network ก็คือเว็บไซตที่เชื่อมโยงผูคนไว
ดวยกันนั่นเอง ตัวอยางของเว็บประเด็นที่เปน Social Network เชน Digg.com ซึ่งเปนเว็บไซตที่เรียก
ไดวาเปน Social Bookmark ที่ไดรับความนิยมอีกแหงหนึ่ง และเหมาะมาก ที่จะนํามาเปนตัวอยาง
เพื่อใหเขาใจไดงายขึ้น โดยในเว็บไซต Digg นี้ ผูคนจะชวยกันแนะนํา url ที่นาสนใจเขามาในเว็บ
และผูอานก็จะมาชวยกันใหคะแนน url หรือขาวนั้น ๆ เปนตน



         2.2.3 ประเภทเว็บไซตที่ใหบริการ Social Media

    1. Facebook (Social Network)
    2. Youtube (Video Sharing)
    3. Hi5 (Social Network)
    4. Blogger (Blog)
    5. Wikipedia (Wiki)
    6. 4shared (File Sharing)
    7. mediafire (File Sharing)
    8. exteen (Blog)
    9. bloggang (Blog)
    10. multiply (Blog & Photo Sharing)
2.3 เว็บบล็อก (WebBlog)
         2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog)
                 บล็อก (blog) เปนคํารวมมาจากคําวา เว็บล็อก (weblog) เปนรูปแบบเว็บไซต
ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุดไว
แรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงค ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อตางๆ ไมวา เพลง
หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได จุดที่แตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกจะเปดใหผูเขา
มาอานขอมูล สามารถแสดงความคิดเห็นตอทายขอความที่เจาของบล็อกเปนคนเขียน ซึ่งทําให
ผูเขียนสามารถไดผลตอบกลับโดยทันที คําวา "บล็อก" ยังใชเปนคํากริยาไดซึ่งหมายถึง การเขียน
บล็อก และนอกจากนี้ผูที่เขียนบล็อกเปนอาชีพก็จะถูกเรียกวา "บล็อกเกอร"

บล็อกเปนเว็บไซตที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยูกับเจาของบล็อก โดยสามารถใชเปนเครื่องมือ
สื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดานไมวา อาหาร
การเมือง เทคโนโลยี หรือขาวปจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องสวนตัวหรือจะเรียกวา
ไดอารีออนไลน ซึ่งไดอารีออนไลนนี่เองเปนจุดเริ่มตนของการใชบล็อกในปจจุบัน นอกจากนี้ตาม
บริษัทเอกชนหลายแหงไดมีการจัดทําบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหมใหักับ
ลูกคา โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับขาวสั้น และไดรับการตอบรับจากทางลูกคาที่
แสดงความเห็นตอบกลับเขาไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ

        2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก

                 ประเภทของ Blog

1. แบงตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกไดแก1.1. Linklog บล็อกแบบนี้นาจะเปนบล็อกรุนแรก ๆ
เปนบล็อกที่รวมลิงกที่เจาของบล็อกสนใจเอาไว ถาคุณยังจําผูใหกําเนิดคําวา “บล็อก” ที่ชื่อ จอหน
บาจเจอรได นั่นแหละครับ robotwisdom.com ของเขาคือตัวอยางของ linklog นั่นเอง แมวาจะ
บล็อกแบบนี้จะเปนการรวมลิงกเทานั้น แตก็ไมเรียงเหมือนว็บไดเร็กทอรี่ เพราะเจาของบล็อกจะ
โพสตลงกของเขา 1 – 2 ลิงคตอโพสตเทานั้น ใครที่อยากมีบล็อกเปนของตนเองแตยังนึกไมออกวา
      ิ
จะทําบล็อกแบบไหน linklog นาจะเปนการเริ่มตนการทําบล็อกไดเปนอยางดี1.2 Photoblog ชื่อก็
บอกอยูแลวครับวา Photo บล็อกประเภทนี้เนนในโพสตภาพถายที่เจาของบล็อกอยากนําเสนอ และ
มักจะไมเนนที่จะเขียนขอความมากนัก บางบล็อกเรียกไดวาภาพโดยเจาของบล็อกลวน ๆ เลยครับ
1.3. Vlog ยอมาจาก Videoblog เปนบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไวในบล็อก Vlog เปนบล็อกที่เรียกไดวา
เปนบล็อกที่นิยมทํากันมากในอนาคต เพราะการเจริญเติบโตของไฮสปด อินเตอรเน็ต หรือ
อินเตอรเน็ตบอรดแบนด ที่ทําใหการถายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie […]
2. แบงตามประเภทเนื้อหา ไดแก2.1 บล็อกสวนตัว(Personal Blog) นําแสนอความคิดเห็น กิจวัตร
ประจําวันของเจาของบล็อกเปนหลัก2.2 บล็อกขาว(News Blog) บล็อกที่นําเสนอขาวเปนหลัก2.3
บล็อกกลุม(Collaborative Blog) เปนบล็อกที่เขียนกันเปนกลุม เชน blognone.com2.4 บล็อก
การเมือง(Politic Blog) วาดวยเรื่องการเมืองลวน ๆ2.5 บล็อกเพื่อสิ่งแวดลอม(Environment Blog)
พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดลอม2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เปนบล็อกที่
วิเคราะหสื่อตางๆ สารคดีและสิ่งทีเ่ กี่ยวกับสื่อ เชน oknation.net/blog/black ของสุทธิชัย หยุน2.7
บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นําเสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทางจอแกว และจอเงิน เรื่อง
ซุบซุดารา กองถาย ฯลฯ2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย
ในตางประเทศมักจะใชบล็อกเปนสื่อในการสอนหรือ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติวเตอรบล็อก
(Tutorial Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอวิธีการตาง
http://witwang.blogspot.com/2007_07_01_archive.html




        2.3.3 เว็บไซตที่ใหบริการเว็บบล็อก

        www.blogger.com

        www.exteen.com

        www.mapandy.com

        www.buddythai.com

        www.imigg.com
2.3.ประวัติของเว็บไซตWordpress
       WordPress คือ โปรแกรม สําเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไวสําหรับสราง บล็อก หรือ เว็บไซต
สามารถใชงานไดฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง
โปรแกรมสําเร็จรูปที่มีไวสําหรับสรางและบริหารจัดการเนื้อหาและขอมูลบนเว็บ ไซต

WordPress ไดรับการพัฒนาและเขียนชุดคําสั่งมาจากภาษา PHP (เปนภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง)
ทํางานบนฐานขอมูล MySQL ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับจัดการฐานขอมูล มีหนาที่เก็บ เรียกดู แกไข
เพิ่มและลบขอมูล การใชงาน WordPress รวมกับ MySQL อยูภายใตสัญญาอนุญาตใชงานแบบ
GNU General Public License

WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อป พ.ศ. 2546 (2003) เปนความรวมมือกันระหวาง Matt
Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซตหลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริการ Free
Hosting (พื้นที่สําหรับเก็บทุกอยางของเว็บ/บล็อก) โดยขอใชบริการไดที่ http://wordpress.com

ปจจุบันนี้ WordPress ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จนมีผูใชงานมากกวา 200 ลานเว็บ
บล็อกไปแลว แซงหนา CMS ตัวอื่น ๆ ไมวาจะเปน Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเปนเพราะ
ใชงานงาย ไมจําเปนตองมีความรูในเรื่อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผูพัฒนา
Theme (รูปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริม) ใหเลือกใชฟรีอยางมากมาย

นอกจากนี้ สําหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไวใหเราไดเปนไกดไลน เพื่อศึกษา
องคประกอบสวนตาง ๆ ที่อยูภายใน สําหรับพัฒนาตอยอด หรือ นําไปสราง Theme และ Plugins
ขึ้นมาเองไดอีกดวย หนําซ้ํา ยังมีรุนพิเศษ คือ WordPress MU สําหรับไวใหผูนําไปใช สามารถเปด
ใหบริการพื้นที่ทําเว็บบล็อกเปนของตนเอง เพือใหผูอื่นมาสมัครขอรวมใชบริการในการสรางเว็บ
                                                 ่
บล็อก ภายใตชื่อโดเมนของเขา หรือที่เรียกวา Sub-Domain

จากที่ไดเกริ่นนําไปในบทความนี้ คงจะทําใหรูจัก และไดทราบประวัติความเปนมา รวมถึง
ความหมายกันไปบางแลววา WordPress คือ อะไร ในบทความหนา เราจะไดเริ่มเรียนรูถึงรูปแบบ
และวิธีการใชงาน ไปจนถึงการเพิ่มลูกเลนตาง ๆ ตอไป

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานPop Cholthicha
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานShe's Mammai
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์Prachyanun Nilsook
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตPloyko Stawbery
 

What's hot (18)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
แบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงานแบบร่างเค้าโครงงาน
แบบร่างเค้าโครงงาน
 
ขนิษฐา
ขนิษฐาขนิษฐา
ขนิษฐา
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ตโครงงานอินเตอร์เน็ต
โครงงานอินเตอร์เน็ต
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to บทที่2

บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChi Cha Pui Fai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรAriya Soparux
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรAriya Soparux
 

Similar to บทที่2 (20)

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงานแบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงาน
 
แบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงานแบเสนอโครงงาน
แบเสนอโครงงาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
บทที่ 1 เสร็จ
บทที่ 1 เสร็จบทที่ 1 เสร็จ
บทที่ 1 เสร็จ
 

More from IShadow' Leo'os

More from IShadow' Leo'os (12)

บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 

บทที่2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ ในการจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ดวย Wordpress เรื่อง GPRS อัจฉริยะแหงการเชื่อมตอ นี้ ผูจัดทําโครงงานไดศึกษาเอกสารและจากเว็บไซตตางๆ ที่ เกี่ยวของดังตอไปนี้ 2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต 2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.1 ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอรเน็ต เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศในดานตาง ๆ เปนอยางมาก ตัวอยางเชน 1. การศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศชวยในดานการคนควาศึกษาแหลงขอมูล ทําใหการศึกษางายขึ้น และ ไรขีดจํากัด ผูเรียนมีความสะดวกในการคนควาวิจัย 2. การดํารงชีวิตประจําวัน ทําใหมีความสะดวกคลองตัวและรวดเร็วในการทํากิจกรรมตาง ๆ ที่ เกิดขึ้นใน ชีวิตประจําวัน สามารถทํางานไดหลายอยางในเวลาเดียวกันไดหรือทํางานใชเวลานอยลง 3. การดําเนินธุรกิจ ทําใหมีการแขงขันระหวางธุรกิจมากขึ้น ทําใหตองมีการพัฒนาองคกรเพื่อให ทันกับขอมูล ขาวสารอยูตลอดเวลา อันสงผลตอการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง 4. อัตราการขยายตัวทุก ๆ ดานที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เพราะมีการติดตอสื่อสารที่เจริญกาวหนา ทันสมัย รวดเร็ว ถูกตองและทําใหเปนโลกที่ไรพรมแดน
  • 2. 5. ระบบการทํางานมีคอมพิวเตอรมาใชซื่อสามารถทํางานไดมากขึ้น งานบางอยางมนุษยทําไมไดก็ ใช คอมพิวเตอรชวยทํางานแทนซึ่งไดผลถูกตองรวดเร็ว ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตองประกอบดวย 1. ฮารดแวร Hardware 2. ซอฟตแวร Software 3. อุปกรณที่ใชในการใหบริการขอมูลและติดตอสื่อสาร พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบดวยสวนประกอบ ดังนี้ 1. องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร ไดแก 1. ฮารดแวร Hardware 2. ซอฟตแวร Software 3. ขอมูล Data 4. บุคลากร People 2. โปรแกรมเมอร นักวิเคราะหระบบและผูใชงาน Programmer,System Analyst และ User เปน บุคคลที่มีหนาที่เกี่ยวของในงานคอมพิวเตอร โปรแกรมเมอรมีหนาที่เขียนโปรแกรมตามที่ นักวิเคราะหไดออกแบบไว สวนผูใชจะเปนกลุมที่มีอิทธิพลตอทิศทางในการพัฒนาเทคโนโลยีทาง คอมพิวเตอรมากที่สุด 3. หนวยรับขอมูล หนวยประมวลผลกลาง หนวยแสดงผลและหนวยเก็บขอมูล หนวยรับขอมูล ทําหนาที่รับโปรแกรมและขอมูลเขาสูคอมพิวเตอร หนวยประมวลผล ทําหนาที่ประมวลผลและควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอรทั้งหมด หนวยแสดงผล ทําหนาทีแสดงผลลัพธจากการประมวลผลขอมูล ่ หนวยเก็บขอมูล ทําหนาที่เก็บขอมูลที่รอการประมวลผล และเก็บผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล ในระหวางที่รอสงไปยังหนวยแสดงผล 4. การจัดการขอมูล ซึ่งหมายถึงแฟมขอมูล 5. การประมวลผล ประกอบดวย 3 ขั้นตอน 1. การรวมบรวมขอมูล
  • 3. 2. การประมวลผล 3. การดูแลรักษา เทคโนโลยีสารสนเทศรูปแบบตาง ๆ 1. เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เปนระบบการจัดการสารสนเทศที่ทําหนาที่ไมวาจะเปนการบันทึก การแกไข การทํารายงาน งานบัญชี งานลงทะเบียน ระบบสารสนเทศจะชวยใหองคกรมีความ สะดวกรวดเร็วในการทํางานและยังชวยเปน ขอมูลในการตัดสินใจดวย 2. เทคโนโลยีระบบเครือขาย เปนระบบเทคโนโลยีที่นิยมใชกันมากในปจจุบัน มีประโยชน ดังนี้ 1. สามารถติดตอถึงกันไดดวยจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-mail) 2. จัดเก็บขอมูลไวรวมในที่เดียวกัน ผูอยูหางไกลก็สามารถดึงขอมูลนั้นไปใชไดอยางรวดเร็วไมตอง เสียเวลาใน การเดินทาง 3. องคกรประหยัดคาใชจายงบประมาณดานอุปกรณ เพราะระบบเครื่อขายสามารถใชอุปกรณ รวมกันได 4. สามารถทํางานรวมกันไดหรือทํางานโดยใชเอกสารชุดเดียวกัน 3. เทคโนโลยีสํานักงานอัตโนมัติ เปนระบบการทํางานที่ใชระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอรและ อุปกรณสํานักงาน ซึ่งมีผลทําให 1. พนักงานสามารถติดตอสื่อสารกันไดทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส (E - mail) 2. สามารถบันทึกแฟมเอกสารหรืองานพิมพเก็บไว และสามารถนํามาแกไขปรับปรุงใหดีขึ้นไดงาย 3. การออกแบบงานตาง ๆ ทําไดงายสะดวกรวดเร็วและใชงานไดงาย 4. มีระบบฝากขอความเสียง (Voice Mail) 5. การประชุมทางไกล (Vedio Teleconference) 4. เทคโนโลยีชวยสอน CAI ไดรับความนิยมเปนอยางมาก โรงเรียนและสถานศึกษาก็เริ่มมีการ พัฒนาโปรแกรมบทเรียนสําเร็จรูปขึ้นมาใช และมีผลดีกับนักเรียนที่จะไดสื่อการเรียนการสอนที่ ทันสมัยและมีความนาสนใจ มากขึ้น การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนํามาประยุกตใชงาน จะตองคํานึงถึงผลที่จะไดรับและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาดวย 2. การวางแผนที่ดี เพื่อเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศใหเหมาะสมกับงานและเพื่อประโยชนสูงสุด
  • 4. ที่ควรจะไดรับ 3. มาตรฐานการใชงาน ควรจะมีเจาหนาที่ควบคุมดูแล ไมปลอยปละละเลยหรือใชในทางที่ผิด 4. การลงทุน ควรคํานึงถึงงบประมาณและผลประโยชนที่ไดรับดวย หากประโยชนที่ไดไมคุมคาแก การลงทุนก็ควรที่จะปรับแผนการเสียใหม 5. การจัดการขอมูล ตองระมัดระวังไมใหขอมูลซ้ําซอน ควรมีการแบงปนขอมูลเพื่อใหการทํางาน รวมกันมีการติดตอสรางความสัมพันธ กัน 6. การรักษาความปลอดภัยของระบบ การใชเทคโนโลยีรวมกัน ตองมีการดูแลใหสิทธิแกผูใช ภายในขอบเขตของแตละคน ขอที2. ่ 1.เพื่อใชในการจัดเก็บขอมูลที่มากๆใหเปนระบบเเละคนหาไดงาย 2.เพื่อใหเราจัดระบบชีวิตประจําวันของเราใหเปนระบบ ที่มา http://learnersin.th/blog/wasana/2510/259724 2.2 ขอมูลเกี่ยวกับสื่อสังคม Social Media 2.2.1 ความหมายของ Social Media คําวา “Social” หมายถึง สังคม ซึ่งในที่นี้จะหมายถึงสังคมออนไลน ซึ่งมีขนาด ใหมมากในปจจุบัน คําวา “Media” หมายถึง สื่อ ซึ่งก็คือ เนื้อหา เรื่องราว บทความ วีดีโอ เพลง รูปภาพ เปนตน ดังนั้นคําวา Social Media จึงหมายถึง สื่อสังคมออนไลนที่มีการตอบสนองทางสังคมไดหลาย ทิศทาง โดยผานเครือขายอินเตอรเน็ต พูดงายๆ ก็คือเว็บไซตที่บุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพัน โตตอบกันไดนั่นเอง พื้นฐานการเกิด Social Media ก็มาจากความตองการของมนุษยหรือคนเราที่ตองการติดตอสื่อสาร หรือ สัมพันธกัน จากเดิมเรามีเว็บในยุค 1.0 ซึ่งก็คือเว็บที่แสดงเนื้อหาอยางเดียว บุคคลแตละคนไม สามารถติดตอหรือโตตอบกันได แตเมื่อเทคโนโลยีเว็บพัฒนาเขาสูยุค 2.0 ก็มีการพัฒนาเว็บไซตที่ เรียกวา web application ซึ่งก็คือเว็บไซตมีแอพลิเคชันหรือโปรแกรมตางๆ ที่มีการโตตอบกับ ผูใชงานมากขึ้น ผูใชงานแตละคนสามารถโตตอบกันไดผานหนาเว็บ
  • 5. 2.2.2 ประวัติความเปนมาและพัฒนาการของ Social Media Social Network คือการที่ผูคนสามารถทําความรูจัก และเชื่อมโยงกันในทิศทางใด ทิศทางหนึ่ง หากเปนเว็บไซตที่เรียกวาเปน เว็บ Social Network ก็คือเว็บไซตที่เชื่อมโยงผูคนไว ดวยกันนั่นเอง ตัวอยางของเว็บประเด็นที่เปน Social Network เชน Digg.com ซึ่งเปนเว็บไซตที่เรียก ไดวาเปน Social Bookmark ที่ไดรับความนิยมอีกแหงหนึ่ง และเหมาะมาก ที่จะนํามาเปนตัวอยาง เพื่อใหเขาใจไดงายขึ้น โดยในเว็บไซต Digg นี้ ผูคนจะชวยกันแนะนํา url ที่นาสนใจเขามาในเว็บ และผูอานก็จะมาชวยกันใหคะแนน url หรือขาวนั้น ๆ เปนตน 2.2.3 ประเภทเว็บไซตที่ใหบริการ Social Media 1. Facebook (Social Network) 2. Youtube (Video Sharing) 3. Hi5 (Social Network) 4. Blogger (Blog) 5. Wikipedia (Wiki) 6. 4shared (File Sharing) 7. mediafire (File Sharing) 8. exteen (Blog) 9. bloggang (Blog) 10. multiply (Blog & Photo Sharing)
  • 6. 2.3 เว็บบล็อก (WebBlog) 2.3.1 ความหมายของเว็บบล็อก (WebBlog) บล็อก (blog) เปนคํารวมมาจากคําวา เว็บล็อก (weblog) เปนรูปแบบเว็บไซต ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลําดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงขอมูลที่เขียนลาสุดไว แรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบดวย ขอความ ภาพ ลิงค ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อตางๆ ไมวา เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได จุดที่แตกตางของบล็อกกับเว็บไซตโดยปกติคือ บล็อกจะเปดใหผูเขา มาอานขอมูล สามารถแสดงความคิดเห็นตอทายขอความที่เจาของบล็อกเปนคนเขียน ซึ่งทําให ผูเขียนสามารถไดผลตอบกลับโดยทันที คําวา "บล็อก" ยังใชเปนคํากริยาไดซึ่งหมายถึง การเขียน บล็อก และนอกจากนี้ผูที่เขียนบล็อกเปนอาชีพก็จะถูกเรียกวา "บล็อกเกอร" บล็อกเปนเว็บไซตที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยูกับเจาของบล็อก โดยสามารถใชเปนเครื่องมือ สื่อสาร การประกาศขาวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพรผลงาน ในหลายดานไมวา อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือขาวปจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องสวนตัวหรือจะเรียกวา ไดอารีออนไลน ซึ่งไดอารีออนไลนนี่เองเปนจุดเริ่มตนของการใชบล็อกในปจจุบัน นอกจากนี้ตาม บริษัทเอกชนหลายแหงไดมีการจัดทําบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหมใหักับ ลูกคา โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับขาวสั้น และไดรับการตอบรับจากทางลูกคาที่ แสดงความเห็นตอบกลับเขาไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ 2.3.2 ประเภทของเว็บบล็อก ประเภทของ Blog 1. แบงตามลักษณะของมีเดียที่มีในบล็อกไดแก1.1. Linklog บล็อกแบบนี้นาจะเปนบล็อกรุนแรก ๆ เปนบล็อกที่รวมลิงกที่เจาของบล็อกสนใจเอาไว ถาคุณยังจําผูใหกําเนิดคําวา “บล็อก” ที่ชื่อ จอหน บาจเจอรได นั่นแหละครับ robotwisdom.com ของเขาคือตัวอยางของ linklog นั่นเอง แมวาจะ บล็อกแบบนี้จะเปนการรวมลิงกเทานั้น แตก็ไมเรียงเหมือนว็บไดเร็กทอรี่ เพราะเจาของบล็อกจะ โพสตลงกของเขา 1 – 2 ลิงคตอโพสตเทานั้น ใครที่อยากมีบล็อกเปนของตนเองแตยังนึกไมออกวา ิ จะทําบล็อกแบบไหน linklog นาจะเปนการเริ่มตนการทําบล็อกไดเปนอยางดี1.2 Photoblog ชื่อก็ บอกอยูแลวครับวา Photo บล็อกประเภทนี้เนนในโพสตภาพถายที่เจาของบล็อกอยากนําเสนอ และ มักจะไมเนนที่จะเขียนขอความมากนัก บางบล็อกเรียกไดวาภาพโดยเจาของบล็อกลวน ๆ เลยครับ
  • 7. 1.3. Vlog ยอมาจาก Videoblog เปนบล็อกที่รวมวิดีโอคลิปไวในบล็อก Vlog เปนบล็อกที่เรียกไดวา เปนบล็อกที่นิยมทํากันมากในอนาคต เพราะการเจริญเติบโตของไฮสปด อินเตอรเน็ต หรือ อินเตอรเน็ตบอรดแบนด ที่ทําใหการถายทอดเสียง ภาพเคลื่อนไหว movie […] 2. แบงตามประเภทเนื้อหา ไดแก2.1 บล็อกสวนตัว(Personal Blog) นําแสนอความคิดเห็น กิจวัตร ประจําวันของเจาของบล็อกเปนหลัก2.2 บล็อกขาว(News Blog) บล็อกที่นําเสนอขาวเปนหลัก2.3 บล็อกกลุม(Collaborative Blog) เปนบล็อกที่เขียนกันเปนกลุม เชน blognone.com2.4 บล็อก การเมือง(Politic Blog) วาดวยเรื่องการเมืองลวน ๆ2.5 บล็อกเพื่อสิ่งแวดลอม(Environment Blog) พูดถึงเรื่องราวของธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดลอม2.6 มีเดียบล็อก(Media Blog) เปนบล็อกที่ วิเคราะหสื่อตางๆ สารคดีและสิ่งทีเ่ กี่ยวกับสื่อ เชน oknation.net/blog/black ของสุทธิชัย หยุน2.7 บล็อกบันเทิง(Entertainment Blog) บล็อกที่นําเสนอเรื่องราวบันเทิงทั้งทางจอแกว และจอเงิน เรื่อง ซุบซุดารา กองถาย ฯลฯ2.8 บล็อกเพื่อการศึกษา(Educational Blog) ในโรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย ในตางประเทศมักจะใชบล็อกเปนสื่อในการสอนหรือ แลกเปลี่ยนความคิดกัน2.9 ติวเตอรบล็อก (Tutorial Blog) เปนบล็อกที่นําเสนอวิธีการตาง http://witwang.blogspot.com/2007_07_01_archive.html 2.3.3 เว็บไซตที่ใหบริการเว็บบล็อก www.blogger.com www.exteen.com www.mapandy.com www.buddythai.com www.imigg.com
  • 8. 2.3.ประวัติของเว็บไซตWordpress WordPress คือ โปรแกรม สําเร็จรูปตัวหนึ่ง ที่เอาไวสําหรับสราง บล็อก หรือ เว็บไซต สามารถใชงานไดฟรี ถูกจัดอยูในประเภท CMS (Contents Management System) ซึ่งหมายถึง โปรแกรมสําเร็จรูปที่มีไวสําหรับสรางและบริหารจัดการเนื้อหาและขอมูลบนเว็บ ไซต WordPress ไดรับการพัฒนาและเขียนชุดคําสั่งมาจากภาษา PHP (เปนภาษาโปรแกรมมิ่งตัวหนึ่ง) ทํางานบนฐานขอมูล MySQL ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับจัดการฐานขอมูล มีหนาที่เก็บ เรียกดู แกไข เพิ่มและลบขอมูล การใชงาน WordPress รวมกับ MySQL อยูภายใตสัญญาอนุญาตใชงานแบบ GNU General Public License WordPress ปรากฏโฉมครั้งแรกในโลกเมื่อป พ.ศ. 2546 (2003) เปนความรวมมือกันระหวาง Matt Mullenweg และ Mike Littlej มีเว็บไซตหลักอยูที่ http://wordpress.org และยังมีบริการ Free Hosting (พื้นที่สําหรับเก็บทุกอยางของเว็บ/บล็อก) โดยขอใชบริการไดที่ http://wordpress.com ปจจุบันนี้ WordPress ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จนมีผูใชงานมากกวา 200 ลานเว็บ บล็อกไปแลว แซงหนา CMS ตัวอื่น ๆ ไมวาจะเปน Drupal , Mambo และ Joomla สาเหตุเปนเพราะ ใชงานงาย ไมจําเปนตองมีความรูในเรื่อง Programing มีรูปแบบที่สวยงาม อีกทั้งยังมีผูพัฒนา Theme (รูปแบบการแสดงผล) และ Plugins (โปรแกรมเสริม) ใหเลือกใชฟรีอยางมากมาย นอกจากนี้ สําหรับนักพัฒนา WordPress ยังมี Codex เอาไวใหเราไดเปนไกดไลน เพื่อศึกษา องคประกอบสวนตาง ๆ ที่อยูภายใน สําหรับพัฒนาตอยอด หรือ นําไปสราง Theme และ Plugins ขึ้นมาเองไดอีกดวย หนําซ้ํา ยังมีรุนพิเศษ คือ WordPress MU สําหรับไวใหผูนําไปใช สามารถเปด ใหบริการพื้นที่ทําเว็บบล็อกเปนของตนเอง เพือใหผูอื่นมาสมัครขอรวมใชบริการในการสรางเว็บ ่ บล็อก ภายใตชื่อโดเมนของเขา หรือที่เรียกวา Sub-Domain จากที่ไดเกริ่นนําไปในบทความนี้ คงจะทําใหรูจัก และไดทราบประวัติความเปนมา รวมถึง ความหมายกันไปบางแลววา WordPress คือ อะไร ในบทความหนา เราจะไดเริ่มเรียนรูถึงรูปแบบ และวิธีการใชงาน ไปจนถึงการเพิ่มลูกเลนตาง ๆ ตอไป