SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
หน่วยที่ 10
ความรู้ทั่วไปและการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ
เช็ค
เช็ค(Cheque)
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 987 บัญญัติว่า “อันว่าเช็คนั้น คือ หนังสือตราสารซึ่งมี
บุคคลหนึ่งเรียกว่า ผู้สั่งจ่าย สั่งธนาคารให้ใช้เงินจานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง หรือให้ใช้ตามคาสั่ง
ของบุคคลอีกคนหนึ่งอันเรียกว่า ผู้รับเงิน”
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้เช็ค
จากความหมายของเช็คจะเห็นได้ว่า ในการใช้เช็คนั้น จะมีบุคคลเข้ามาเกี่ยวข้อง 3 ฝ่าย คือ
1. ผู้สั่งจ่ายหรือผู้ออกเช็ค (Drawer) คือ ผู้เขียนเช็คสั่งจ่ายให้แก่เจ้าหนี้ของตน ในการที่
จะใช้เช็คสั่งจ่ายได้นั้น จะต้องติดต่อกับธนาคารเพื่อขอเปิดบัญชีกระแสรายวันไว้กับธนาคาร ซึ่งธนาคารจะ
มอบสมุดเช็คของธนาคารให้กิจการที่ขอเปิดบัญชี และเมื่อต้องการจะถอนเงินใช้ในกิจการหรือจ่ายชาระหนี้ให้
ใช้เช็คนั้นจ่ายตามจานวนที่ต้องการ
2. ผู้จ่ายเงิน (Drawee) คือ ธนาคารซึ่งจะต้องจ่ายเงินตามที่ผู้ทรงเช็คนาเช็คมาขึ้นเงิน
3. ผู้รับเงิน (Payee) คือ ผู้ที่มีสิทธิเรียกร้องเงินตามเช็คนั้น
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 988 บัญญัติว่าเช็คนั้นต้องมีรายการ
ดังนี้
1. คาบอกชื่อว่าเป็นเช็ค
2. คาสั่งอันปราศจากเงื่อนไขให้ใช้เงินจานวนแน่นอน
3. ชื่อหรือยี่ห้อและสานักงานของธนาคาร
4. ชื่อหรือยี่ห้อของผู้รับเงินหรือคาจดแจ้งว่าให้ใช้เงินแก่ผู้ถือ
5. สถานที่ใช้เงิน
6. วันและสถานที่ออกเช็ค
7. ลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย
ประเภทการฝากเงินธนาคาร
1 . เงินฝากออมทรัพย์
คือ เงินฝากประเภทที่ไม่ได้กาหนดระยะเวลาใน
การฝาก จะฝากจะถอนเมื่อใดก็ได้ ในวันและ
เวลาทาการ
3. เงินฝากประจา
คือ การเปิดบัญชีเงินฝากกับธนาคารใดธนาคารหนึ่ง โดยมีสัญญาว่าผู้
ฝากจะฝากเงินจานวนนี้ไว้โดยไม่ถอนเลยในช่วงเวลาที่ตกลงกันไว้
ช่วงเวลาอาจเป็น 3 6 12 24 เดือน หรือมากกว่านั้นก็ได้ โดยธนาคารจะ
จ่ายดอกเบี้ยให้ในอัตราที่ตกลงกันไว้ซึ่งสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยของเงินฝาก
ออมทรัพย์ โดยอาจมีการจ่ายทุก 6 เดือน 12 เดือน ตามข้อตกลง ยิ่ง
ฝากเป็นระยะเวลานานอัตราดอกเบี้ยยิ่งสูง เพราะธนาคารสามารถนาเงิน
ก้อนนี้ไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่า แต่ถ้าผู้ฝากถอนเงินก่อนครบสัญญาที่
ตกลงกันไว้ ธนาคารมีสิทธิ์จะไม่ให้ดอกเบี้ย หรือให้ดอกเบี้ยในอัตราที่
เท่ากับบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ก็ได้ แล้วแต่เงื่อนไข และถ้าเป็นการฝาก
ประจาแบบทั่วไป (General Fixed Deposit) จะต้องเสียภาษี 15%
จากดอกเบี้ย
2. เงินฝากแบบกระแสรายวัน
คือ เป็นบริการที่อานวยความสะดวกในการ
บริหารเงินได้อย่างคล่องตัวและปลอดภัยโดยใช้
เช็คสั่งจ่ายของธนาคารแทนการใช้เงินสด ถ้า
คุณมีธุรกิจการค้าหรือธุรกิจส่วนตัวที่มีการรับ -
จ่ายเงินหมุนเวียนอยู่เป็นประจา
การขอเปิดบัญชีกระแสรายวัน
1. กรอกรายการในใบคาขอเปิดบัญชีกระแสรายวัน ซึ่งมีรายละเอียดชื่อกิจการ ที่อยู่
หรือที่ตั้งสานักงาน ชื่อและนามสกุลผู้ขอเปิดบัญชี สถานที่ติดต่อ อาชีพ ฯลฯ
2. เซ็นชื่อในบัตรตัวอย่างลายมือชื่อ โดยปกติธนาคารให้ผู้มาเปิดบัญชีเซ็นชื่อในบัตร
ตัวอย่างลายมือชื่อไว้ 2 ชุด
01
ตัวอย่าง บัตรลายมือชื่อผู้สั่งจ่าย 2 ชุดเหมือนกัน
การฝากเงินเข้าบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน
ใบฝากเงิน
การฝากเงินสด การฝากเช็คธนาคารอื่น
สมุดเช็ค
ชนิดของเช็ค
1. เช็คที่สั่งจ่ายเงินสดหรือเช็คจ่ายผู้ถือ (Bearer Cheque) คือ เช็คที่มีคาว่า เงินสด แทนชื่อผู้รับเงิน หรือเช็คที่ระบุ
ชื่อผู้รับเงินแต่ไม่ได้ขีดฆ่าคาว่า “หรือผู้ถือ” ผู้ที่มีเช็คประเภทนี้สามารถนาเช็คไปเบิกเงินสดจากธนาคารได้ทันที
ดังนั้นหากเจ้าของเช็คทาเช็คเงินสดสูญหาย ผู้ใดก็ตามที่เก็บเช็คเงินสดนั้นได้สามารถนาเช็คไปเบิกเงินสดกับธนาคารได้
เนื่องจากเช็คไม่ได้มีการขีดฆ่าคาว่า “หรือผู้ถือ”
เช็คสั่งจ่ายเงินสด เช็คจ่ายผู้ถือ
2. เช็คที่สั่งจ่ายตามคาสั่ง (Order Cheque) คือ เช็คที่ระบุให้จ่ายตามคาสั่งของผู้รับเงิน
หรือเช็คที่ระบุชื่อผู้รับเงินและขีดฆ่าคาว่าหรือผู้ถือออก ซึ่งมีความหมายว่า ผู้รับเงินคือผู้ที่ระบุชื่อในเช็ค
ฉบับนั้น ยกเว้นผู้ที่ระบุชื่อนี้ได้สลักหลังโอนเช็คให้แก่บุคคลอื่น
1. สลักหลังเฉพาะ หมายถึง การสลักหลังเช็คโดยระบุ
ชื่อผู้รับโอนไว้ด้วยพร้อมด้วยลงลายมือชื่อผู้สลักหลัง
การสลักหลังเช็ค
การสลักหลัง หมายถึง การเขียนข้อความพร้อมกับการลงลายมือชื่อหรือลงลายมือชื่ออย่างเดียวที่ด้านหลังของเช็คเพื่อ
แสดงถึงการโอนเช็คนั้นการสลักหลัง มี 2 แบบ คือ
2. สลักหลังลอย หมายถึง การสลักหลังโดยลงลายมือ
ชื่อผู้สลักเพียงอย่างเดียว ไม่ได้ระบุชื่อผู้รับโอนไว้ด้วย
1. เช็คจ่ายเงินสดหรือเช็คระบุชื่อผู้รับเงินตามเช็ค คือ วิธีการเขียน ผู้เป็นเจ้าของเช็คจะเขียนคาว่า
“เงินสด” ในช่องคาว่า “จ่าย” โดยไม่ได้ขีดคาว่า “หรือผู้ถือ” ออก ถือว่าเป็นการเบิกเงินสดจาก
ธนาคาร แต่ถ้าระบุชื่อผู้รับเงินและขีดคาว่า“หรือผู้ถือ”ออกจะถือว่าธนาคารจะจ่ายเงินสดให้แก่ผู้ที่
ถูกระบุชื่อผู้รับเงิน
การเขียนเช็ค
เช็คจ่ายเงินสด เช็คจ่ายผู้รับเงิน
เช็คขีดคร่อม (Crossed Cheque)
วิธีการเขียนเช็คนี้จะเขียนเส้นคู่ขนานไว้ด้านหน้าของเช็ค โดยปกติจะนิยมเขียนไว้
ทางด้านมุมซ้ายของเช็ค ซึ่งจะถือว่าต้องนาเช็คฝากเข้าบัญชีธนาคารของผู้รับเช็คเท่านั้น การเขียนเช็ค
ขีดคร่อม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1.เช็คขีดคร่อมทั่วไป (General Crossing) หมายถึง เช็คที่เขียนเส้นคู่ขนานไว้ด้านหน้า ของเช็ค
(มุมซ้าย) โดยไม่ต้องเขียนข้อความใด ๆ ลงระหว่างเส้นคู่ขนานนี้ จะถือว่าต้องนา เช็คฉบับนี้ฝากเข้า
บัญชีก่อน เมื่อธนาคารเรียกเก็บเงินตามเช็คได้แล้วจึงจะสามารถถอนเป็นเงินสดได้
1.1 ถ้าขีดคร่อมเช็ค โดยเช็คสั่งจ่ายเงินสด และขีดคาว่า “หรือผู้ถือ” ออก หมายความว่า
เช็คฉบับนี้จะเข้าบัญชีใครก็ได้
ตัวอย่าง
1.2 ถ้าขีดคร่อมเช็ค โดยเช็คสั่งจ่ายระบุชื่อผู้ถือและขีดคาว่า “หรือผู้ถือ” ออก หมายความว่า เช็ค
ฉบับนี้ต้องเข้าบัญชีผู้ที่ระบุชื่อนั้น
ตัวอย่าง
1.3 ถ้าขีดคร่อมเช็คและเขียนคาว่า “และบริษัท” หรือ “& Co.” หมายความว่า เช็คฉบับนี้ต้องเข้า
บัญชีผู้ที่ระบุชื่อนั้น แต่ถ้าจะนาเข้าบัญชีของผู้อื่นต้องเซ็นชื่อสลักหลังเช็คถือเป็นการโอนเช็คเข้าบัญชีของผู้อื่น
ตัวอย่าง
2. เช็คขีดคร่อมเฉพาะ (Special Crossing) หมายถึง เช็คที่เขียนคู่ขนานไว้ ด้านหน้าของเช็ค (มุมซ้าย) และเขียน
ข้อความระบุอย่างชัดเจนระหว่างเส้นคู่ขนานนี้ เช็คขีดคร่อมและเขียนระบุชื่อธนาคารระหว่างเส้นคู่ขนา หมายความ
ว่าเช็คฉบับนี้จะต้องฝากเข้าเฉพาะธนาคารที่ระบุเท่านั้น
ตัวอย่าง
2.1 เช็คขีดคร่อมและเขียนคาว่า “เข้าบัญชีผู้รับเงินเท่านั้น” หรือ “Account Payee Only”
หมายความว่า เช็คฉบับนี้จะต้องฝากเข้าบัญชีผู้ที่ถูกระบุชื่อในเช็ค เท่านั้น จะสลักหลังโอนต่อไม่ได้ จึงควรขีดฆ่าคา
ว่า “หรือผู้ถือ” ออก
ตัวอย่าง
2.2 เช็คขีดคร่อมและเขียนคาว่า “ห้ามเปลี่ยนมือ” หมายความว่า จะโอน หรือ สลักหลังเปลี่ยนมือ
ไม่ได้ ต้องเข้าบัญชีตามชื่อที่ระบุไว้เท่านั้น
ตัวอย่าง
ระยะเวลาการนาเช็คไปขึ้นธนาคาร
1. ถ้าเป็นเช็คที่ออกและให้ใช้เงินในจังหวัดเดียวกันกับผู้สั่งจ่ายออกเช็ค จะต้องยื่นเช็คขอขึ้นเงิน
ภายใน 1 เดือน
2. ถ้าเป็นเช็คที่ออกและให้ใช้เงินในจังหวัดอื่นที่มิใช่จังผู้สั่งจ่ายออกเช็คจะต้องยื่นเช็คขอขึ้นเงิน
ภายใน 3 เดือน
กรณีที่ธนาคารจะไม่จ่ายเงินตามเช็ค
ในกรณีต่อไปนี้ ธนาคารจะไม่จ่ายเงินให้แก่ผู้ที่นาชคมาขึ้นเงิน
1. มีคาบอกกล่าวของเจ้าของบัญชีว่าห้ามธนาคารจ่ายเงิน
2. เมื่อธนาคารรู้ว่าผู้สั่งจ่ายเสียชีวิต
3. เมื่อธนาคารรู้ว่าศาลได้มีคาสั่งให้รักษาทรัพย์ชั่วคราว หรือคาสั่งให้ผู้สั่งจ่ายตกเป็นบุคคลล้มละลาย
หรือได้มีประกาศโฆษณาคาสั่งเช่นนั้น
ทะเบียนเช็คลงวันที่ล่วงหน้า
เช็คลงวันที่ล่วงหน้า (Post – Date Check) หมายถึง รูปแบบเช็คสั่งจ่ายทั่วไปที่เรากาหนดวัน
เวลาและจานวนเงินในการขึ้นเช็คไว้บนเช็ค ซึ่งเช็คลงวันที่ล่วงหน้าจะถูกบันทึกไว้ในรายการลูกหนี้
ในงบการเงินของกิจการ
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับเช็ค
1. นาเงินฝากธนาคาร Dr.เงินฝากธนาคาร xx
เงินสด xx
บันทึกการนาเงินสดฝากธนาคาร
3. จ่ายเช็คเพื่อซื้อสินค้า
Dr.เงินสด xx
Cr. เงินฝากธนาคาร xx
บันทึกถอนเงินจากธนาคาร
2. ถอนเงินธนาคาร
Dr. ซื้อสินค้า xx
ภาษีซื้อ xx
Cr. เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน xx
บันทึกถอนเงินจากธนาคาร
4. รับเช็คจากการขายสินค้า Dr. เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน xx
Dr. ขายสินค้า xx
บันทึกการนาเงินสดฝากธนาคาร
5. โอนเงินจากบัญชีออมทรัพย์มายังบัญชีกระแสรายวัน
Dr. เงินฝากธนาคาร - กระแสรายวัน xx
Dr. เงินฝากธนาคาร - ออมทรัพย์ xx
บันทึกการนาเงินสดฝากธนาคาร
ตัวอย่าง ต่อไปนี้เป็นรายการค้าบางส่วนของกิจการแห่งหนึ่ง
2557
พ.ศ. 2 นางน้อย นาเงินสดมาลงทุน 2,000,000
3 นาฝากธนาคาร ประเภทกระแสรายวัน 1,500,000 บาท ประเภทออมทรัพย์
5,000,000
7 จ่ายเช็คเลขที่ 1222345 ชาระค่าเช่าเดือน เม.ย 6,000 บาท
8 จ่ายเช็คเลขที่ 1222346 ชาระค่าตกแต่งร้าน 15,000 บาท
Check

More Related Content

What's hot

สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
Hardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's LawHardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's LawFulh Fulh
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากnokbiology
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยบทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยWeerachat Martluplao
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processsupatra39
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docAnuwatBhumthavorn
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อNurat Puankhamma
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1krunoree.wordpress.com
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายChi Wasana
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่Intrapan Suwan
 

What's hot (20)

สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
Hardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's LawHardy-Weinberg's Law
Hardy-Weinberg's Law
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
Scratch final
Scratch finalScratch final
Scratch final
 
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยบทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
 
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).docแบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
แบบทดสอบ Xcel ปวส. 1-3 (ตอนที่ 2).doc
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
ปัญหาแปลก ๆ
ปัญหาแปลก ๆปัญหาแปลก ๆ
ปัญหาแปลก ๆ
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรทฤษฎีใหม่
เกษตรทฤษฎีใหม่
 

Check