SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
*ความหมาย
เป็นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผล มีการศึกษา ข้อเท็จจริงหลักฐานและ
ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจ แล้วนามาพิจารณา วิเคราะห์
อย่างสมเหตุสมผล ก่อนตัดสินใจว่าสิ่ง ใดควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ ผู้ที่มี
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ จะเป็นผู้ที่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
อย่างมีเหตุผลไม่ยึดถือความคิดเห็นของตนเอง ก่อนที่จะตัดสินใจใน
เรื่องใดก็จะต้องมีข้อมูลหลักฐานเพียงพอและสามารถเปลี่ยนความ
คิดเห็นของตนเองให้เข้ากับความคิดเห็นของผู้อื่นได้
*การนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
จะต้องมีการสร้างความความกระตือรือร้น สร้างความอยากรู้อยากเห็นให้กับผู้เรียนโดยการ ใช้สื่อ
หรือคาถาม ฝึกให้ผู้เรียนกล้าที่จะคิดแตกต่าง คิดสร้างสิ่งใหม่ ๆ โดยการใช้สถานการณ์ยั่วยุให้
คาดการณ์สิ่งต่าง ๆ หลากหลายแนวทางมีความซับซ้อนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความคิด
ระดับสูงได้ ต้องพัฒนาจากง่ายไปหายากและให้สอดคล้องกับผู้เรียนแต่ละคน ต้องกระตุ้นให้ผู้เรียน
เกิดจินตนาการ สร้างสรรค์ที่หลากหลาย ฝึกฝนให้ผู้เรียนเป็นคนใจกว้าง ควรให้ผู้เรียนได้ทางาน
เป็นกลุ่มมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ยอมรับในเหตุผลของผู้อื่นที่มีดีกว่า และสร้างความมั่นใจ
ในตัวเองให้กับผู้เรียน ผู้เรียนจะได้มี พัฒนาการการคิด และกล้าแสดงออกซึ่งความคิด การ
เลือกสรรกิจกรรมที่หลากหลาย และเหมาะสม จะทาให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกมากขึ้น
*ความสาคัญ
1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณสามารถทาให้เรามีความ
มั่นใจในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ถูกทาง
2. ตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุสม
3. ทาให้เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีเป็นคนที่มีความ
รอบคอบ ก่อนที่จะตัดสินใจทาเรื่องใดจะต้องมีหลักฐาน
ประกอบ ในการวิเคราะห์ตัดสินใจ
4. ทาให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมี
คุณภาพเพราะมีการคิดอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน
5. มีทักษะในการสื่อสารกับผู้อื่นได้ดีในทุกด้าน
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ(2)
(Critical Thinking)
*ความหมาย(3)
ความคิดเชิงสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการมองเห็น
ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบ
ความคิดเดิมที่มีอยู่สู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อค้นหาคาตอบ
ที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที่เกิดขึ้น เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่แตกต่างไป
จากเดิม เป็นความคิดที่หลากหลาย คิดได้กว้างไกล หลายแง่หลายมุม
เน้นทั้งปริมาณและคุณภาพ
*การนาการคิดสร้างสรรค์ปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (5)
1. ขั้นสร้างความตระหนัก กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าสู่เรื่องที่จะเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเกิดความคิดจินตนาการ
2. ขั้นระดมพลังความคิด เป็นการดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ค้นหาคาตอบ มีส่วนร่วม โดยผู้สอนทาหน้าที่
เหมือนผู้อานวยความสะดวกทุกขั้นตอน
3. ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน ผู้เรียนได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้คิดหาคาตอบได้แล้ว เกิดจินตนาการในการ
สร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ
4. ขั้นนาสนอผลงาน นาเสนอผลงาน วิจารณ์ชิ้นงาน มีการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานที่เพื่อน ๆ มา
นาเสนอในแง่มุมต่าง ๆ ฝึกให้รู้จักการยอมรับ การมีเหตุผล
5. ขั้นวัดและประเมินผล เป็นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย บนพื้นฐาน
ของความถูกต้อง
6. ขั้นเผยแพร่ผลงาน ได้นาไปเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ
*ความสาคัญ(4)
1. ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดแนวทางใหม่ ๆ ในการ
ดาเนินชีวิตและหนทางใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหาชีวิตและการทางาน
2. ก่อให้เกิดความสนุก เป็นธรรมดาของมนุษย์ที่ต้องค้นหาวิธีการ
คิดใหม่ ๆ ขึ้นมาทดแทนความคิดเก่า ๆ
3. พัฒนาสมองของคนให้มีความฉลาดเฉียบจะทาให้เกิดความเฉียบ
แหลมในการคิดแก้ปัญหาต่าง ๆ เพิ่มขึ้น
4. สร้างความเชื่อมั่น ความน่านับถือและความพอใจในตัวเองขึ้นมา
5. ช่วยยกระดับความสามารถ ความอดทนและความคิดริเริ่มให้เพิ่ม
มากขึ้นและยังเป็นการพัฒนาความสนใจในงาน พัฒนาการใช้เวลา
ว่างให้เป็นประโยชน์และพัฒนาชีวิตให้ทันสมัยมากขึ้น
การคิดสร้างสรรค์
(Creative Thinking)
*ความหมาย(6)
การคิดแก้ปัญหา หมายถึง วิธีคิดแบบหนึ่งที่ต้องอาศัยความรู้
ความคิดรวบยอด และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้
ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เป็นปัญหา เพื่อให้ได้
คาตอบและแก้ไขปัญหาอย่างมีขั้นตอน
*ความสาคัญ(7)
1. การคิดแก้ปัญหาถือว่าเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุดของการคิดทั้งมวล
2. การคิดแก้ปัญหาเป็นสิ่งสาคัญต่อวิถีการดาเนินชีวิตในสังคมของมนุษย์
ซึ่งจะต้องใช้การคิดเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดเวลา
3. ทักษะการคิดแก้ปัญหาเป็นทักษะที่เกี่ยวข้องและมีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตที่วุ่นวาย
สับสนได้เป็นอย่างดี ผู้ที่มีทักษะการคิดแก้ปัญหาจะสามารถเผชิญกับภาวะสังคมที่
เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง
4. ทักษะที่สามารถพัฒนาทัศนคติ วิธีคิด ค่านิยมความรู้ ความเข้าใจในสภาพการณ์ของ
สังคมได้ดีอีกด้วย
*การนาการคิดแก้ปัญหาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน(7)
จอห์น ดิวอี้ เป็นผู้คิดวิธีสอนแก้ปัญหานี้ขึ้น มีดังนี้
ขั้นที่1 กาหนดปัญหา เป็นขั้นที่ครู นักเรียน หรือครูกับนักเรียนกาหนดปัญหา ขึ้นโดย
วิธีการต่าง ๆ
ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์ปัญหา เมื่อได้ปัญหาจากขั้นที่ 1 มาแล้ว ครูจะนานักเรียนให้คิด
พิจารณาปัญหา จากนั้นก็จะแบ่งกลุ่ม เพื่อรับผิดชอบในการแก้ปัญหาแต่ละข้อ
ขั้นที่ 3 ตั้งสมมุติฐาน เป็นขั้นที่นักเรียนคาดเดาว่าปัญหานั้น ๆ มีสาเหตุมาจากอะไร
หรือวิธีการแก้ปัญหานั้นน่าจะแก้ไขโดยวิธีใด หรือปัญหานั้นควรมีคาตอบว่าอย่างไร
ขั้นที่ 4 เก็บรวบรวมข้อมูล นักเรียนแต่ละกลุ่มจะไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพื่อ
แก้ปัญหาด้วยการทากิจกรรมต่างตามที่ว่างแผนไว้ในขั้นที่ 2
ขั้นที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นตอนแต่ละกลุ่มร่วมกันนาข้อมูลที่ไปค้นคว้าหรือ
ทดลองมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ หาคาตอบที่ต้องการ หรือพิสูจน์ว่าสมมุติฐานที่ตั้ง
ไว้นั้น ถูกต้องหรือไม่ คาตอบที่ถูกคืออะไร
ขั้นที่ 6 สรุปผล เป็นขั้นที่นักเรียนสรุปผลการเรียนรู้และหลักการที่ได้จากการศึกษา
หาปัญหานี้
การคิดแก้ปัญหา
(Problem Solving Thinking)
*ความหมาย
กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ ไปทีละขั้นทีละ
ตอน (หรือที่เรียกว่าอัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่ช่วย
ให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถาม
ปลายเปิดได้ ขณะเดียวกัน วิธีคิดนี้ยังช่วยแก้ปัญหาในวิชา
ต่าง ๆ ได้ด้วย
*ความสาคัญ
การคิดเชิงคานวณ เป็น “วิธีคิด” ให้เข้าใจกระบวนการแก้ปัญหา
สามารถวิเคราะห์และคิดอย่างมีตรรกะ เป็นระบบและ
สร้างสรรค์ รวมทั้งสามาถนาวิธีคิดเชิงคานวณไปปรับใช้แก้ไข
ปัญหาในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง เป็นประโยชน์ใน
การต่อยอดองค์ความรู้ต่าง ๆ ไปตลอดชั่วชีวิต
*การนาการคิดเชิงคานวณไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
1. Tinkering (สร้างความชานาญ) เป็นการฝึกทักษะผ่านการเล่น การสารวจ โดยไม่ได้มี
เป้าหมายแน่ชัด เหมือนเป็นการทดลองสิ่งใหม่ ๆ โดยเด็กจะฝีกความชานาญผ่านการ
ทาซ้า ๆ หรือลองวิธีการใหม่ๆ ในแต่ละสถานการณ์ที่ต้องเผชิญ
2. Collaborating (สร้างความสามัคคี , ทางานร่วมกัน) เป็นการทางานร่วมกับผู้อื่น ไม่
ว่าจะเป็นกิจกรรมใด ๆ หรืองานอดิเรกในยามว่าง เป็นการร่วมมือกันเพื่อให้งานนั้น ๆ ได้
ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
3. Creating (สร้างความคิดสร้างสรรค์) เป็นการคิดค้นสิ่งที่เป็นต้นแบบ หรือสร้างสรรค์
คุณค่าให้กับกิจกรรมใด ๆ เปิดโอกาสให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการออกแบบและสร้างสิ่งต่าง
ๆ แทนที่จะแค่ฟัง สังเกต และลงมือใช้ ตามที่ครูสอน
4. Debugging (สร้างวิธีการแก้ไขจุดบกพร่อง) เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง
ๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมใด ๆ ที่ต้องทาแบบเป็นขั้นเป็นตอน เมื่อเจอจุดที่
ผิดพลาด ต้องคิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล เพื่อแก้ไขและไม่ให้เกิดสิ่งนั้นขึ้นอีก
5. Persevering (สร้างความอดทน , ความพยายาม) เป็นการเผชิญหน้ากับความท้าทาย
ในการทากิจกรรมที่ยากและซับซ้อน แม้จะล้มเหลวแต่ต้องไม่ล้มเลิก ต้องใช้ความ
พากเพียรในการทางานชิ้นนั้น ๆ แม้จะต้องรับมือกับสิ่งที่ยากและสร้างความสับสนให้ใน
บางครั้ง แต่ต้องมีความมุ่งมั่นไม่ยอมแพ้ เพื่อผลลัพธ์ที่ดีตามที่ต้องการ
การคิดเชิงคานวณ
(Computational Thinking) (8)
อ้างอิง
(1) http://tishafan-analysisthinking.blogspot.com/p/blog-page_4283.html
(2) http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/mcu-nan/article/download/4503/3282
(3) http://www.pattani.go.th/plan/files/doc1.pdf
(4) https://sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-reiyn-kar-sxn-cheing-
srangsrrkh/khwamkhidsrangsrrkhkabkarreiynru
(5) https://sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-reiyn-kar-sxn-cheing-
srangsrrkh
(6)http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/7589/Sasithorn_Pongphoka_fullt
ext.pdf?sequence=2&isAllowed=y
(7) http://thinkingekawit.blogspot.com/
(8) https://school.dek-d.com/blog/featured/การคิดเชิงคานวณ/
(9) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EdAd/article/download/193106/134583/
การคิดแต่ละประเภท ความสำคัญ และการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การคิดแต่ละประเภท ความสำคัญ และการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

More Related Content

Similar to การคิดแต่ละประเภท ความสำคัญ และการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
Piyamas Songtronge
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
suparada
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
Piyamas Songtronge
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
Jiraporn
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
Piyamas Songtronge
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
pattamasatun
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
Rorsed Mardra
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
ya035
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
New Born
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
ya035
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
powe1234
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
bussayamas1618
 

Similar to การคิดแต่ละประเภท ความสำคัญ และการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ (20)

Higher order thinking and sound reasoning by DRAGON10
Higher order thinking and sound reasoning by DRAGON10Higher order thinking and sound reasoning by DRAGON10
Higher order thinking and sound reasoning by DRAGON10
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟ ยเจท 1
เฟ ยเจท  1เฟ ยเจท  1
เฟ ยเจท 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 

การคิดแต่ละประเภท ความสำคัญ และการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

  • 1.
  • 2.
  • 3. *ความหมาย เป็นกระบวนการคิดที่ใช้เหตุผล มีการศึกษา ข้อเท็จจริงหลักฐานและ ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อประกอบการตัดสินใจ แล้วนามาพิจารณา วิเคราะห์ อย่างสมเหตุสมผล ก่อนตัดสินใจว่าสิ่ง ใดควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ ผู้ที่มี ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ จะเป็นผู้ที่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อย่างมีเหตุผลไม่ยึดถือความคิดเห็นของตนเอง ก่อนที่จะตัดสินใจใน เรื่องใดก็จะต้องมีข้อมูลหลักฐานเพียงพอและสามารถเปลี่ยนความ คิดเห็นของตนเองให้เข้ากับความคิดเห็นของผู้อื่นได้ *การนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน จะต้องมีการสร้างความความกระตือรือร้น สร้างความอยากรู้อยากเห็นให้กับผู้เรียนโดยการ ใช้สื่อ หรือคาถาม ฝึกให้ผู้เรียนกล้าที่จะคิดแตกต่าง คิดสร้างสิ่งใหม่ ๆ โดยการใช้สถานการณ์ยั่วยุให้ คาดการณ์สิ่งต่าง ๆ หลากหลายแนวทางมีความซับซ้อนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความคิด ระดับสูงได้ ต้องพัฒนาจากง่ายไปหายากและให้สอดคล้องกับผู้เรียนแต่ละคน ต้องกระตุ้นให้ผู้เรียน เกิดจินตนาการ สร้างสรรค์ที่หลากหลาย ฝึกฝนให้ผู้เรียนเป็นคนใจกว้าง ควรให้ผู้เรียนได้ทางาน เป็นกลุ่มมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ยอมรับในเหตุผลของผู้อื่นที่มีดีกว่า และสร้างความมั่นใจ ในตัวเองให้กับผู้เรียน ผู้เรียนจะได้มี พัฒนาการการคิด และกล้าแสดงออกซึ่งความคิด การ เลือกสรรกิจกรรมที่หลากหลาย และเหมาะสม จะทาให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกมากขึ้น *ความสาคัญ 1. การคิดอย่างมีวิจารณญาณสามารถทาให้เรามีความ มั่นใจในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ถูกทาง 2. ตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างสมเหตุสม 3. ทาให้เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีเป็นคนที่มีความ รอบคอบ ก่อนที่จะตัดสินใจทาเรื่องใดจะต้องมีหลักฐาน ประกอบ ในการวิเคราะห์ตัดสินใจ 4. ทาให้ประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้อย่างมี คุณภาพเพราะมีการคิดอย่างเป็นระบบ เป็นขั้นตอน 5. มีทักษะในการสื่อสารกับผู้อื่นได้ดีในทุกด้าน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ(2) (Critical Thinking)
  • 4. *ความหมาย(3) ความคิดเชิงสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการมองเห็น ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบ ความคิดเดิมที่มีอยู่สู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อค้นหาคาตอบ ที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที่เกิดขึ้น เป็นการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ที่แตกต่างไป จากเดิม เป็นความคิดที่หลากหลาย คิดได้กว้างไกล หลายแง่หลายมุม เน้นทั้งปริมาณและคุณภาพ *การนาการคิดสร้างสรรค์ปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (5) 1. ขั้นสร้างความตระหนัก กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าสู่เรื่องที่จะเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเกิดความคิดจินตนาการ 2. ขั้นระดมพลังความคิด เป็นการดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ค้นหาคาตอบ มีส่วนร่วม โดยผู้สอนทาหน้าที่ เหมือนผู้อานวยความสะดวกทุกขั้นตอน 3. ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน ผู้เรียนได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้คิดหาคาตอบได้แล้ว เกิดจินตนาการในการ สร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ 4. ขั้นนาสนอผลงาน นาเสนอผลงาน วิจารณ์ชิ้นงาน มีการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานที่เพื่อน ๆ มา นาเสนอในแง่มุมต่าง ๆ ฝึกให้รู้จักการยอมรับ การมีเหตุผล 5. ขั้นวัดและประเมินผล เป็นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้เครื่องมือที่หลากหลาย บนพื้นฐาน ของความถูกต้อง 6. ขั้นเผยแพร่ผลงาน ได้นาไปเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ *ความสาคัญ(4) 1. ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดแนวทางใหม่ ๆ ในการ ดาเนินชีวิตและหนทางใหม่ ๆ ในการแก้ปัญหาชีวิตและการทางาน 2. ก่อให้เกิดความสนุก เป็นธรรมดาของมนุษย์ที่ต้องค้นหาวิธีการ คิดใหม่ ๆ ขึ้นมาทดแทนความคิดเก่า ๆ 3. พัฒนาสมองของคนให้มีความฉลาดเฉียบจะทาให้เกิดความเฉียบ แหลมในการคิดแก้ปัญหาต่าง ๆ เพิ่มขึ้น 4. สร้างความเชื่อมั่น ความน่านับถือและความพอใจในตัวเองขึ้นมา 5. ช่วยยกระดับความสามารถ ความอดทนและความคิดริเริ่มให้เพิ่ม มากขึ้นและยังเป็นการพัฒนาความสนใจในงาน พัฒนาการใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์และพัฒนาชีวิตให้ทันสมัยมากขึ้น การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
  • 5. *ความหมาย(6) การคิดแก้ปัญหา หมายถึง วิธีคิดแบบหนึ่งที่ต้องอาศัยความรู้ ความคิดรวบยอด และประสบการณ์เดิมที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันที่เป็นปัญหา เพื่อให้ได้ คาตอบและแก้ไขปัญหาอย่างมีขั้นตอน *ความสาคัญ(7) 1. การคิดแก้ปัญหาถือว่าเป็นพื้นฐานที่สาคัญที่สุดของการคิดทั้งมวล 2. การคิดแก้ปัญหาเป็นสิ่งสาคัญต่อวิถีการดาเนินชีวิตในสังคมของมนุษย์ ซึ่งจะต้องใช้การคิดเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นตลอดเวลา 3. ทักษะการคิดแก้ปัญหาเป็นทักษะที่เกี่ยวข้องและมีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตที่วุ่นวาย สับสนได้เป็นอย่างดี ผู้ที่มีทักษะการคิดแก้ปัญหาจะสามารถเผชิญกับภาวะสังคมที่ เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง 4. ทักษะที่สามารถพัฒนาทัศนคติ วิธีคิด ค่านิยมความรู้ ความเข้าใจในสภาพการณ์ของ สังคมได้ดีอีกด้วย *การนาการคิดแก้ปัญหาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน(7) จอห์น ดิวอี้ เป็นผู้คิดวิธีสอนแก้ปัญหานี้ขึ้น มีดังนี้ ขั้นที่1 กาหนดปัญหา เป็นขั้นที่ครู นักเรียน หรือครูกับนักเรียนกาหนดปัญหา ขึ้นโดย วิธีการต่าง ๆ ขั้นที่ 2 ขั้นวิเคราะห์ปัญหา เมื่อได้ปัญหาจากขั้นที่ 1 มาแล้ว ครูจะนานักเรียนให้คิด พิจารณาปัญหา จากนั้นก็จะแบ่งกลุ่ม เพื่อรับผิดชอบในการแก้ปัญหาแต่ละข้อ ขั้นที่ 3 ตั้งสมมุติฐาน เป็นขั้นที่นักเรียนคาดเดาว่าปัญหานั้น ๆ มีสาเหตุมาจากอะไร หรือวิธีการแก้ปัญหานั้นน่าจะแก้ไขโดยวิธีใด หรือปัญหานั้นควรมีคาตอบว่าอย่างไร ขั้นที่ 4 เก็บรวบรวมข้อมูล นักเรียนแต่ละกลุ่มจะไปศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพื่อ แก้ปัญหาด้วยการทากิจกรรมต่างตามที่ว่างแผนไว้ในขั้นที่ 2 ขั้นที่ 5 วิเคราะห์ข้อมูล เป็นขั้นตอนแต่ละกลุ่มร่วมกันนาข้อมูลที่ไปค้นคว้าหรือ ทดลองมาวิเคราะห์และสังเคราะห์ หาคาตอบที่ต้องการ หรือพิสูจน์ว่าสมมุติฐานที่ตั้ง ไว้นั้น ถูกต้องหรือไม่ คาตอบที่ถูกคืออะไร ขั้นที่ 6 สรุปผล เป็นขั้นที่นักเรียนสรุปผลการเรียนรู้และหลักการที่ได้จากการศึกษา หาปัญหานี้ การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking)
  • 6. *ความหมาย กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ ไปทีละขั้นทีละ ตอน (หรือที่เรียกว่าอัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่ช่วย ให้รับมือกับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถาม ปลายเปิดได้ ขณะเดียวกัน วิธีคิดนี้ยังช่วยแก้ปัญหาในวิชา ต่าง ๆ ได้ด้วย *ความสาคัญ การคิดเชิงคานวณ เป็น “วิธีคิด” ให้เข้าใจกระบวนการแก้ปัญหา สามารถวิเคราะห์และคิดอย่างมีตรรกะ เป็นระบบและ สร้างสรรค์ รวมทั้งสามาถนาวิธีคิดเชิงคานวณไปปรับใช้แก้ไข ปัญหาในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง เป็นประโยชน์ใน การต่อยอดองค์ความรู้ต่าง ๆ ไปตลอดชั่วชีวิต *การนาการคิดเชิงคานวณไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน 1. Tinkering (สร้างความชานาญ) เป็นการฝึกทักษะผ่านการเล่น การสารวจ โดยไม่ได้มี เป้าหมายแน่ชัด เหมือนเป็นการทดลองสิ่งใหม่ ๆ โดยเด็กจะฝีกความชานาญผ่านการ ทาซ้า ๆ หรือลองวิธีการใหม่ๆ ในแต่ละสถานการณ์ที่ต้องเผชิญ 2. Collaborating (สร้างความสามัคคี , ทางานร่วมกัน) เป็นการทางานร่วมกับผู้อื่น ไม่ ว่าจะเป็นกิจกรรมใด ๆ หรืองานอดิเรกในยามว่าง เป็นการร่วมมือกันเพื่อให้งานนั้น ๆ ได้ ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด 3. Creating (สร้างความคิดสร้างสรรค์) เป็นการคิดค้นสิ่งที่เป็นต้นแบบ หรือสร้างสรรค์ คุณค่าให้กับกิจกรรมใด ๆ เปิดโอกาสให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการออกแบบและสร้างสิ่งต่าง ๆ แทนที่จะแค่ฟัง สังเกต และลงมือใช้ ตามที่ครูสอน 4. Debugging (สร้างวิธีการแก้ไขจุดบกพร่อง) เป็นการเรียนรู้ที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมใด ๆ ที่ต้องทาแบบเป็นขั้นเป็นตอน เมื่อเจอจุดที่ ผิดพลาด ต้องคิดวิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล เพื่อแก้ไขและไม่ให้เกิดสิ่งนั้นขึ้นอีก 5. Persevering (สร้างความอดทน , ความพยายาม) เป็นการเผชิญหน้ากับความท้าทาย ในการทากิจกรรมที่ยากและซับซ้อน แม้จะล้มเหลวแต่ต้องไม่ล้มเลิก ต้องใช้ความ พากเพียรในการทางานชิ้นนั้น ๆ แม้จะต้องรับมือกับสิ่งที่ยากและสร้างความสับสนให้ใน บางครั้ง แต่ต้องมีความมุ่งมั่นไม่ยอมแพ้ เพื่อผลลัพธ์ที่ดีตามที่ต้องการ การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) (8)
  • 7. อ้างอิง (1) http://tishafan-analysisthinking.blogspot.com/p/blog-page_4283.html (2) http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/mcu-nan/article/download/4503/3282 (3) http://www.pattani.go.th/plan/files/doc1.pdf (4) https://sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-reiyn-kar-sxn-cheing- srangsrrkh/khwamkhidsrangsrrkhkabkarreiynru (5) https://sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-reiyn-kar-sxn-cheing- srangsrrkh (6)http://www.sure.su.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/7589/Sasithorn_Pongphoka_fullt ext.pdf?sequence=2&isAllowed=y (7) http://thinkingekawit.blogspot.com/ (8) https://school.dek-d.com/blog/featured/การคิดเชิงคานวณ/ (9) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EdAd/article/download/193106/134583/