SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน การใช้ภาษาไทยบนโลกออนไลน์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว อริสา หาญขว้าง เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาว อริสา หาญขว้าง เลขที่ 39
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การใช้ภาษาไทยบนโลกออนไลน์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Thai Misspell
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อริสาหาญขว้าง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในปัจจุบันเป็นยุคสมัยที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้าและสามารถเข้าถึงได้ง่ายในทุกช่วงอายุ ไม่
ว่าจะเป็น วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ หรือ วัยชรา โดยเทคโนโลยีที่เป็นที่นิยมมากที่สุดคือ สมาร์ทโฟน ซึ่งส่วนใหญ่
ในการใช้สมาร์ทโฟนนั้นผู้ใช้มักจะใช้เพื่อติดต่อสื่อสารและเช็คข้อมูลข่าวสารบนโลกออนไลน์ จากการสารวจ
แอปพลิเคชัน เฟซบุ๊ก ซึ่งเป็นหนึ่งในแอปพลิเคชันที่เป็นที่นิยมในตอนนี้ ผู้จัดทาได้พบปัญหาของการใช้
ภาษาไทยที่ผิด โดยมีการใช้ผิดหลายประเภท ตัวอย่างเช่น การใช้วรรณยุกต์ผิด การใช้ตัวสะกดผิด เป็นต้น ซึ่ง
ปัญหาดังกล่าวนั้นทาให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมา ตัวอย่างเช่น เกิดคาแสลง เกิดการแพร่หลายของการใช้ภาษาผิดๆ
เนื่องจากผู้ที่พบเห็นและนาไปใช้ต่อนั้นไม่มีความรู้ในด้านการใช้ภาษา เป็นต้น จากการสารวจช่วงอายุในการใช้
ภาษาไทยผิดนั้นมักอยู่ใน วัยเด็กเป็นส่วนใหญ่ ตามด้วย วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และวัยชราบางกลุ่ม ผู้จัดทาจึงได้จัดทา
โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่มีปัญหาในด้านการใช้ภาษาไทยและทาให้ปัญหาของการใช้ภาษาไทยผิดนั้น
ลดลง
3
วัตถุประสงค์
1.ผู้ใช้งานบนโลกออนไลน์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยมากขึ้น
2.จานวนผู้ที่ใช้ภาษาไทยถูกต้องมีจานวนเพิ่มมากขึ้น
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้จัดทาโครงงานได้ทาการสารวจในแอปพลิเคชัน เฟซบุ๊ก โดยอ้างอิงจากผู้คนในเฟซบุ๊กจานวน 1802 คน
ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมี
ระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 17 กันยายน 2562
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ภาษาวิบัติ เป็นคาเรียกของการใช้ภาษาไทยที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่ตรงกับกับหลักภาษาในด้านการสะกดคา
คาว่า 'ภาษาวิบัติ' ใช้เรียกรวมถึงการเขียนที่สะกดผิดบ่อย รวมถึงการใช้คาศัพท์ใหม่หรือคาศัพท์ที่สะกดแปลกไป
จากเดิม คาว่า "วิบัติ" มาจากภาษาบาลี หมายถึง พินาศฉิบหาย หรือความเคลื่อนทาให้เสียหาย
ในประเทศไทย มีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงปัญหาเด็กไทยขาดการศึกษารวมถึงปัญหาภาษาวิบัติทาให้ เด็กไทย
ไม่สามารถใช้ภาษาไทยได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ในขณะเดียวกันได้มีการใช้คาว่าภาษาอุบัติแทนที่ภาษาวิบัติที่
มีความหมายในเชิงลบ โดยภาษาอุบัติหมายถึงภาษาที่เกิดขึ้นมาใหม่ ตอบสนองวัฒนธรรมย่อย เช่นเดียวกับภาษา
เฉพาะวงการที่เป็นศัพท์สแลง
ทั้งนี้ การเปิดใช้พจนานุกรมเพื่อค้นหาคาที่ควรใช้ให้ถูกต้องอาจเป็นทางเลือกที่ดี[ต้องการอ้างอิง] ทาง
บัณฑิตยสถานได้กาหนดคาที่ใช้อย่างเป็นทางการหรืออยู่ในรูปแบบมาตรฐาน หากใช้ผิดอาจกลายเป็นคาวิบัติได้
[ต้องการอ้างอิง] ซึ่งคาวิบัติไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงของภาษาแต่อย่างใด[ต้องการอ้างอิง] เป็นเพียงการใช้ภาษาให้
แตกต่างจากปกติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรืออาจใช้จากรุ่นสู่รุ่นไปจนกว่าคาวิบัตินั้นจะหายไปจากสังคมนั้น ๆ
นิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่า ภาษาวิบัติเป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่ผู้ใหญ่ในสังคมไม่ชอบ แม้ภาษาจะมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แต่ผู้ใหญ่ไม่ชอบให้ภาษาเปลี่ยน การให้เหตุผลว่าภาษาไทยไม่ควรเปลี่ยนแปลง เพราะเป็น
ภาษาของชาติที่มีความศักดิ์สิทธิ์ นิธิเห็นว่าเป็นเหตุผลแบบไสยศาสตร์ ไม่ค่อยน่าฟัง นิธิยังเห็นว่า ปัญหาของ
ภาษาไทยในปัจจุบันคือ การใช้ภาษาไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ไวยากรณ์ การใช้ศัพท์หรือการเรียบเรียง เป็นต้น และ
การไม่ศึกษาภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปนี้เองที่จะเป็นเหตุให้เกิด "ภาษาวิบัติ"
4
ลักษณะและตัวอย่าง
คาสะกดผิดได้ง่าย เป็นรูปแบบของคาที่มีการสะกดผิด ซึ่งเกิดจากคาที่มีการผันอักษรและเสียงไม่ตรงกับรูป
วรรณยุกต์
- สนุ๊กเกอร์ (สนุกเกอร์)
- โน๊ต (โน้ต)
คาที่สะกดผิดเพื่อให้แปลกตา
- หน่องเตย (ใบเตย อาร์ สยาม)
- นู๋ (หนู)
- ชะมะ,ชิมิ (ใช่ไหม)
- ช่ะ (ใช่ปะ, ใช่เปล่า, ใช่หรือเปล่า ตามลาดับ)
- มว๊ากกกก (มาก)
- ป่าว , ป่ะ, ปล่าว (เปล่า)
- คัย,ไค,ครัย (ใคร)
- เตง,ตะเอง (ตัวเอง)
- เก๊า, เก๊าท์, (เขา)
- เทอ,เทอร์ (เธอ)
- ชั้ล , ช้าน (ฉัน)
- ค้ะ , คร๊ , คร้ะ , ค่า (ค่ะ)
- คร้าบ , คับ , คัฟ , คร๊าฟ (ครับ)
5
- บร๊ะ (พระ)
- เกรีeu (เกรียน)
- uou (นอน)
- Inw (เทพ)
- วาน (วัน)
- จิง (จริง)
- ll"ll ""ll ll"ll (กาก)
- กา (กรรม)
คาที่สะกดผิดเพื่อแสดงอารมณ์
- เป็นอะไร → เปงราย, เปนรัย, เปงรัย
- ทาไม → ทามมาย, ทามมัย
- จังเลย → จังรุย, จังเยย, จุงเบย
- บอกตรง ๆ → บ่องตง
- นิดนึง → นิสนึง, นิสนุง
- คือแบบ → คีบับ, เคบับ
- น่าราคาญ → น่ามคาน
- น่ารักอะ → น่าร๊อคอ้า
6
- จริง ๆ → จีจี,จิงๆ
- สุด ๆ → ฝุด ๆ
- ไม่รู้ → มะรุ
- อะไรหรือ → ไรเหรอ, ไรหรา, ไรเหลอ, ไรหรอ, อาไยหยอ
คาเลียนเสียง โดยส่วนใหญ่จะเพิ่มทัณฑฆาต หรือซ้าตัวอักษร
- อ๊าย → แอร๊ยย, อร๊ายยย, อั้ยยะ
- กรี๊ด → กี๊สส
- โฮก → โฮกกก
- โอ้→ โอ้วส์
- มัน → มันส์
ทาไมคนไทยถึงใช้ภาษาไทยผิด?
ในปัจจุบันมีวัยรุ่น หรือที่เรียกกันว่า เยาวชนไทย จานวนมากที่ใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นด้านการฟัง
การพูด การอ่าน หรือ การเขียน ซึ่งเราสามารถสังเกต พบเห็นได้จากคนรอบข้าง และทั่วไป ปัญหาการใช้
ภาษาไทยดังกล่าวเป็นปัญหาที่น่าสงสัยและมีหลายปัจจัยมาเกี่ยวข้อง เนื่องจากการใช้ภาษาไทยได้เกิดขึ้นมาเป็น
ระยะเวลานาน แต่ในยุคปัจจุบันเป็นยุคแห่งโลกาภิวัตน์ ทาให้เทคโนโลยีก้าวหน้าและเข้าถึงชีวิตประจาวันของคน
ได้ง่าย ปัญหานี้จึงทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้เยาวชนไทยใช้ภาษาไทยผิดจนกลายเป็นความเคยชิน ไม่มี
ประสิทธิภาพเท่าที่ควร และอาจเกิดปัญหาการสื่อสารและเข้าใจความหมายผิดไปจากเดิม อีกทั้งยังทาให้คุณค่า
และความสาคัญของภาษาไทยลดลงไปด้วย
ทาไมเยาวชนไทยถึงใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง? เป็นปัญหาที่น่าค้นหาและกาลังได้รับความสนใจจากคนจานวน
มาก ทั้งคนทั่วไป และคนในแวดวงวิชาการ เพราะภาษานั้นเป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับการดาเนินชีวิตประจาวันใน
สังคม ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกความต้องการของเราให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจ
ตรงกัน ทาให้เราสามารถใช้ชีวิตได้อย่างสมบูรณ์ ประกอบอาชีพ พัฒนาความรู้ต่อยอดต่างๆทั้งด้านความคิด จิตใจ
ความเชื่อ ศิลปะ และที่สาคัญก็คือ ภาษาไทยยังเปรียบเสมือนหัวใจของชาติ และ เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติที่โดด
7
เด่นไม่แพ้ชาติใดในโลก แต่หากเยาวชนไทยใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง เราก็คงจะอยากรู้สาเหตุที่แท้จริงและหา
วิธีแก้ไข รับมือกับปัญหานี้
สาเหตุของปัญหาเยาวชนไทยใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องอาจเกิดจาก ค่านิยม ทัศนคติของเยาวชนต่อภาษาไทย
ที่เกิดจากการเลียนแบบทางสังคมและยึดถือปฏิบัติต่อ ๆ กันมา ซึ่งค่านิยมเหล่านี้มาจากเพื่อน สังคมรอบข้าง
สื่อมวลชนที่เป็นผู้นาทางความคิด ทาให้เยาวชนไทยตกเป็นทาส และผลิตภาษาใหม่ๆขึ้นมาใช้ อาทิ การปน
ภาษาไทยกับภาษาต่างประเทศ การพูดภาษาไทยไม่ชัด หรือการสะกดคาผิด ย่อคาให้สั้นลง เพื่อต้องการเป็นที่
ยอมรับ และมีจุดยืนในสังคม ซึ่งเป็นเรื่องไม่ผิดหากใช้สื่อสารกันเพียงกลุ่มเล็กๆ แต่หากอยู่ในสังคมกลุ่มใหญ่ๆ ก็
ควรดูความเหมาะสมจากบริบท สถานที่ บุคคลต่างๆด้วย
จากการสารวจและศึกษาข้อมูล พบว่ามีสาเหตุหลักๆ หลายประการ
ประการแรก คือ สื่อมวลชน และคนสาคัญต่างๆที่เป็นผู้นาตัวอย่างในประเทศ ทั้งกลุ่มดาราวัยรุ่น นักแสดง
นักร้อง นักการเมือง มักใช้ภาษาอย่างไม่เหมาะสม มีการใช้คาแสลงจนภาษาไทยเข้าขั้นวิกฤติ เนื่องจากเราจะเห็น
ได้ว่าสื่อมวลชนทาหน้าที่เป็นกระจกสะท้อนสภาพของสังคม เปรียบเสมือนเครื่องมือที่มีบทบาทสาคัญต่อการ
สร้างค่านิยม เจตคติ การรับรู้ของประชาชนในสังคม และมียังผลต่อการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ อีกทั้งยังเป็น
สื่อกลางในการถ่ายทอด นาเสนอข้อมูลข่าวสารออกมา แสดงถึงสภาพสังคมโดยรวม เราจึงพบการใช้ภาษาไทย
แบบผิด ๆ มากมายจนเกือบจะกลายเป็นความเคยชิน โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนไทยยิ่งน่าเป็นห่วงมากที่สุด
ประการที่สอง ก็คือ เยาวชนไทย และผู้ปกครองไม่ได้ให้ความสาคัญกับภาษาไทยมากนัก แต่จะไปให้ความสาคัญ
ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เพราะคิดว่าภาษาไทยเป็นภาษาแม่บทที่ใช้กันทุกวันใน
ชีวิตประจาวัน จึงเป็นภาษาที่ง่าย ไม่ต้องให้ความสนใจกับรายละเอียดต่างๆมาก ทาให้เราละเลยและลด
ความสาคัญของสิ่งที่มีคุณค่าลง
ประการต่อมา คือ สถานศึกษาไม่ได้สนับสนุนให้เยาวชนได้ร่วมกิจกรรมหรือโครงการดี ๆ ที่เน้นด้านการฟัง การ
พูด การเขียน การอ่าน หรือกิจกรรมที่เน้นให้เด็กได้คลุกคลีกับตัวหนังสือ ขณะที่ห้องสมุดก็ไม่ค่อยจะมีกิจกรรม
ดึงดูดความสนใจให้เด็กเข้าไปศึกษาหาความรู้ อีกทั้งสถานศึกษายังให้ความรู้ภาษาไทยแก่เยาวชนเพียงแค่ผิวเผิน
ไม่ได้เน้นย้า เจาะลึกลงไปในหลักที่สาคัญ ทาให้เยาวชนไม่มีทักษะความรู้ที่จะนาไปใช้มากพอ
ประการสุดท้ายก็ คือ เรื่องของค่านิยมในกลุ่มของเยาวชนที่มองว่าการใช้ภาษาที่ทันสมัย ผิดแปลกจากเดิม เป็นสิ่ง
ที่ดี สมควรปฏิบัติ เนื่องจากเยาวชนไทยนิยมใช้โลกออนไลน์ ทั้งเฟสบุ๊ค แชทต่างๆ เพื่อการติดต่อสื่อสารที่
รวดเร็ว สะดวกสบาย ทาให้เกิดความยากลาบากในการพิมพ์ตัวอักษร จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงการสะกดคา
เหล่านั้นง่ายขึ้นและสั้นลง ส่งผลให้ภาษาไทยนั้นผิดไวยากรณ์ ผิดความหมาย เปลี่ยนแปลงไป จนไม่รู้ว่าคาที่
ถูกต้องสะกดอย่างไร เช่น ชิมิ = ใช่ไหม , มว้าก = มาก , เตง = ตัวเอง ,จีจี = จริงจริง ,กา =กรรม ฯลฯ สุดท้าย
ปัญหานี้จึงกลายเป็นปัญหาใหญ่ในสังคม
สรุปสาเหตุที่ทาให้เยาวชนไทยใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง นั้นเกิดจาก สื่อมวลชน และคนสาคัญต่างๆที่เป็นผู้นา
ตัวอย่างในประเทศ มักใช้ภาษาอย่างไม่เหมาะสม และใช้คาแสลง เยาวชนไทย และผู้ปกครองไม่ได้ให้
ความสาคัญกับภาษาไทยแต่จะไปให้ความสาคัญในวิชาอื่น อีกทั้งสถานศึกษาไม่ได้สนับสนุนให้เยาวชนได้ร่วม
กิจกรรมหรือโครงการดี ๆ และที่สาคัญก็คือค่านิยมที่ทาตามกันในกลุ่มของเยาวชน จนกลายเป็นค่านิยมของ
สังคม ทาให้ไม่มีเค้าโครงเดิมของภาษาไทยอีกต่อไป ดังนั้นแม้ธรรมชาติของภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
8
แต่ภาษาไทยไม่ควรเปลี่ยนแปลง เพราะเป็นภาษาของชาติที่มีความศักดิ์สิทธิ์ เราคนไทยทุกคนจึงควรช่วยกัน
ถนอมและรักษาภาษาไทยเอาไว้ให้เหมือนอย่างที่มันเป็นมาตลอด หันมาจริงจังกับการใช้ภาษา ซึ่งเป็นเรื่องง่ายๆที่
ทุกคนสามารถทาได้โดยการปลูกจิตสานึกในการหวงแหนภาษาไทย ส่งเสริม ปลูกฝังทักษะการอ่านเพราะการ
อ่านเป็นการซึมซับ หลักการใช้ภาษาซึ่งจะนาไปสู่ทักษะการสื่อสารภาษาไทยที่ถูกต้องทุกด้าน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อปัญหาที่ต้องการศึกษา
2.นาเสนอหัวข้อกับครูที่ปรึกษา
3.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
4.จัดทารายงาน
5.นาเสนอกับครูที่ปรึกษา
6.ปรับปรุงและแก้ไขข้อผิดพลาด
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.โทรศัพท์มือถือ
3.สมุดสาหรับบันทึก
4.หนังสือหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
9
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.การใช้ภาษาไทยผิดบนโลกออนไลน์ลดลง
2.บุคคลทั่วไปตระหนักถึงการใช้ภาษาไทยมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ต าบลศรีภูมิ อ าเภอเมือง
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
Pornpen. (2557) ภาษาวิบัติ. สืบค้นเมื่อ20กันยายน2562,จากเว็บไซต์:https://www.dek-
d.com/board/view/3135068/
chatchai nokdee. (2557) ปัญหาการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่น. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562ม จากเว็บไซต์ :
https://www.thaihealth.or.th/Content/25193-.html
Monobreo. (2561) ภาษาไทย ไทย ไทย. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์ :
https://storylog.co/story/5aa0916c390bebaf310e7292

More Related Content

Similar to 2562 final-project

ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kansiri Sai-ud
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Polaex Harry
 
แมวววววว
แมววววววแมวววววว
แมววววววtup tup
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project FarenFern
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)idontwannabeyourfriend
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Manasara Sempiapt
 
2559 project ทิว
2559 project ทิว2559 project ทิว
2559 project ทิวTananporn Yana
 
พศิน โครงงาน
พศิน โครงงานพศิน โครงงาน
พศิน โครงงานFluke Mak
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้Kh Ninnew
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03Kh Ninnew
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานratchakorn tun
 

Similar to 2562 final-project (20)

ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project COM
2559 project COM2559 project COM
2559 project COM
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project COM
2559 project COM2559 project COM
2559 project COM
 
2559 project COM
2559 project COM2559 project COM
2559 project COM
 
แมวววววว
แมววววววแมวววววว
แมวววววว
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอางมาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
มาทำความรู้จักเครื่องสำอาง
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
ใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพรใบงานที่6 พชรพร
ใบงานที่6 พชรพร
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project ทิว
2559 project ทิว2559 project ทิว
2559 project ทิว
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
พศิน โครงงาน
พศิน โครงงานพศิน โครงงาน
พศิน โครงงาน
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้
 
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
ทุเรียนราชาแห่งผลไม้03
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 

2562 final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การใช้ภาษาไทยบนโลกออนไลน์ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว อริสา หาญขว้าง เลขที่ 39 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาว อริสา หาญขว้าง เลขที่ 39 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การใช้ภาษาไทยบนโลกออนไลน์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Thai Misspell ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อริสาหาญขว้าง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในปัจจุบันเป็นยุคสมัยที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้าและสามารถเข้าถึงได้ง่ายในทุกช่วงอายุ ไม่ ว่าจะเป็น วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ หรือ วัยชรา โดยเทคโนโลยีที่เป็นที่นิยมมากที่สุดคือ สมาร์ทโฟน ซึ่งส่วนใหญ่ ในการใช้สมาร์ทโฟนนั้นผู้ใช้มักจะใช้เพื่อติดต่อสื่อสารและเช็คข้อมูลข่าวสารบนโลกออนไลน์ จากการสารวจ แอปพลิเคชัน เฟซบุ๊ก ซึ่งเป็นหนึ่งในแอปพลิเคชันที่เป็นที่นิยมในตอนนี้ ผู้จัดทาได้พบปัญหาของการใช้ ภาษาไทยที่ผิด โดยมีการใช้ผิดหลายประเภท ตัวอย่างเช่น การใช้วรรณยุกต์ผิด การใช้ตัวสะกดผิด เป็นต้น ซึ่ง ปัญหาดังกล่าวนั้นทาให้เกิดปัญหาอื่นๆตามมา ตัวอย่างเช่น เกิดคาแสลง เกิดการแพร่หลายของการใช้ภาษาผิดๆ เนื่องจากผู้ที่พบเห็นและนาไปใช้ต่อนั้นไม่มีความรู้ในด้านการใช้ภาษา เป็นต้น จากการสารวจช่วงอายุในการใช้ ภาษาไทยผิดนั้นมักอยู่ใน วัยเด็กเป็นส่วนใหญ่ ตามด้วย วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่และวัยชราบางกลุ่ม ผู้จัดทาจึงได้จัดทา โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่มีปัญหาในด้านการใช้ภาษาไทยและทาให้ปัญหาของการใช้ภาษาไทยผิดนั้น ลดลง
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.ผู้ใช้งานบนโลกออนไลน์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยมากขึ้น 2.จานวนผู้ที่ใช้ภาษาไทยถูกต้องมีจานวนเพิ่มมากขึ้น ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้จัดทาโครงงานได้ทาการสารวจในแอปพลิเคชัน เฟซบุ๊ก โดยอ้างอิงจากผู้คนในเฟซบุ๊กจานวน 1802 คน ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมี ระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 17 กันยายน 2562 หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ภาษาวิบัติ เป็นคาเรียกของการใช้ภาษาไทยที่เปลี่ยนแปลงไป และไม่ตรงกับกับหลักภาษาในด้านการสะกดคา คาว่า 'ภาษาวิบัติ' ใช้เรียกรวมถึงการเขียนที่สะกดผิดบ่อย รวมถึงการใช้คาศัพท์ใหม่หรือคาศัพท์ที่สะกดแปลกไป จากเดิม คาว่า "วิบัติ" มาจากภาษาบาลี หมายถึง พินาศฉิบหาย หรือความเคลื่อนทาให้เสียหาย ในประเทศไทย มีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงปัญหาเด็กไทยขาดการศึกษารวมถึงปัญหาภาษาวิบัติทาให้ เด็กไทย ไม่สามารถใช้ภาษาไทยได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ในขณะเดียวกันได้มีการใช้คาว่าภาษาอุบัติแทนที่ภาษาวิบัติที่ มีความหมายในเชิงลบ โดยภาษาอุบัติหมายถึงภาษาที่เกิดขึ้นมาใหม่ ตอบสนองวัฒนธรรมย่อย เช่นเดียวกับภาษา เฉพาะวงการที่เป็นศัพท์สแลง ทั้งนี้ การเปิดใช้พจนานุกรมเพื่อค้นหาคาที่ควรใช้ให้ถูกต้องอาจเป็นทางเลือกที่ดี[ต้องการอ้างอิง] ทาง บัณฑิตยสถานได้กาหนดคาที่ใช้อย่างเป็นทางการหรืออยู่ในรูปแบบมาตรฐาน หากใช้ผิดอาจกลายเป็นคาวิบัติได้ [ต้องการอ้างอิง] ซึ่งคาวิบัติไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงของภาษาแต่อย่างใด[ต้องการอ้างอิง] เป็นเพียงการใช้ภาษาให้ แตกต่างจากปกติในช่วงระยะเวลาหนึ่ง หรืออาจใช้จากรุ่นสู่รุ่นไปจนกว่าคาวิบัตินั้นจะหายไปจากสังคมนั้น ๆ นิธิ เอียวศรีวงศ์ ว่า ภาษาวิบัติเป็นการเปลี่ยนแปลงของภาษาที่ผู้ใหญ่ในสังคมไม่ชอบ แม้ภาษาจะมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ แต่ผู้ใหญ่ไม่ชอบให้ภาษาเปลี่ยน การให้เหตุผลว่าภาษาไทยไม่ควรเปลี่ยนแปลง เพราะเป็น ภาษาของชาติที่มีความศักดิ์สิทธิ์ นิธิเห็นว่าเป็นเหตุผลแบบไสยศาสตร์ ไม่ค่อยน่าฟัง นิธิยังเห็นว่า ปัญหาของ ภาษาไทยในปัจจุบันคือ การใช้ภาษาไม่มีประสิทธิภาพ เช่น ไวยากรณ์ การใช้ศัพท์หรือการเรียบเรียง เป็นต้น และ การไม่ศึกษาภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปนี้เองที่จะเป็นเหตุให้เกิด "ภาษาวิบัติ"
  • 4. 4 ลักษณะและตัวอย่าง คาสะกดผิดได้ง่าย เป็นรูปแบบของคาที่มีการสะกดผิด ซึ่งเกิดจากคาที่มีการผันอักษรและเสียงไม่ตรงกับรูป วรรณยุกต์ - สนุ๊กเกอร์ (สนุกเกอร์) - โน๊ต (โน้ต) คาที่สะกดผิดเพื่อให้แปลกตา - หน่องเตย (ใบเตย อาร์ สยาม) - นู๋ (หนู) - ชะมะ,ชิมิ (ใช่ไหม) - ช่ะ (ใช่ปะ, ใช่เปล่า, ใช่หรือเปล่า ตามลาดับ) - มว๊ากกกก (มาก) - ป่าว , ป่ะ, ปล่าว (เปล่า) - คัย,ไค,ครัย (ใคร) - เตง,ตะเอง (ตัวเอง) - เก๊า, เก๊าท์, (เขา) - เทอ,เทอร์ (เธอ) - ชั้ล , ช้าน (ฉัน) - ค้ะ , คร๊ , คร้ะ , ค่า (ค่ะ) - คร้าบ , คับ , คัฟ , คร๊าฟ (ครับ)
  • 5. 5 - บร๊ะ (พระ) - เกรีeu (เกรียน) - uou (นอน) - Inw (เทพ) - วาน (วัน) - จิง (จริง) - ll"ll ""ll ll"ll (กาก) - กา (กรรม) คาที่สะกดผิดเพื่อแสดงอารมณ์ - เป็นอะไร → เปงราย, เปนรัย, เปงรัย - ทาไม → ทามมาย, ทามมัย - จังเลย → จังรุย, จังเยย, จุงเบย - บอกตรง ๆ → บ่องตง - นิดนึง → นิสนึง, นิสนุง - คือแบบ → คีบับ, เคบับ - น่าราคาญ → น่ามคาน - น่ารักอะ → น่าร๊อคอ้า
  • 6. 6 - จริง ๆ → จีจี,จิงๆ - สุด ๆ → ฝุด ๆ - ไม่รู้ → มะรุ - อะไรหรือ → ไรเหรอ, ไรหรา, ไรเหลอ, ไรหรอ, อาไยหยอ คาเลียนเสียง โดยส่วนใหญ่จะเพิ่มทัณฑฆาต หรือซ้าตัวอักษร - อ๊าย → แอร๊ยย, อร๊ายยย, อั้ยยะ - กรี๊ด → กี๊สส - โฮก → โฮกกก - โอ้→ โอ้วส์ - มัน → มันส์ ทาไมคนไทยถึงใช้ภาษาไทยผิด? ในปัจจุบันมีวัยรุ่น หรือที่เรียกกันว่า เยาวชนไทย จานวนมากที่ใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นด้านการฟัง การพูด การอ่าน หรือ การเขียน ซึ่งเราสามารถสังเกต พบเห็นได้จากคนรอบข้าง และทั่วไป ปัญหาการใช้ ภาษาไทยดังกล่าวเป็นปัญหาที่น่าสงสัยและมีหลายปัจจัยมาเกี่ยวข้อง เนื่องจากการใช้ภาษาไทยได้เกิดขึ้นมาเป็น ระยะเวลานาน แต่ในยุคปัจจุบันเป็นยุคแห่งโลกาภิวัตน์ ทาให้เทคโนโลยีก้าวหน้าและเข้าถึงชีวิตประจาวันของคน ได้ง่าย ปัญหานี้จึงทวีความรุนแรงมากขึ้น ส่งผลให้เยาวชนไทยใช้ภาษาไทยผิดจนกลายเป็นความเคยชิน ไม่มี ประสิทธิภาพเท่าที่ควร และอาจเกิดปัญหาการสื่อสารและเข้าใจความหมายผิดไปจากเดิม อีกทั้งยังทาให้คุณค่า และความสาคัญของภาษาไทยลดลงไปด้วย ทาไมเยาวชนไทยถึงใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง? เป็นปัญหาที่น่าค้นหาและกาลังได้รับความสนใจจากคนจานวน มาก ทั้งคนทั่วไป และคนในแวดวงวิชาการ เพราะภาษานั้นเป็นสิ่งที่สาคัญสาหรับการดาเนินชีวิตประจาวันใน สังคม ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสาร ความคิด ความรู้สึกความต้องการของเราให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจ ตรงกัน ทาให้เราสามารถใช้ชีวิตได้อย่างสมบูรณ์ ประกอบอาชีพ พัฒนาความรู้ต่อยอดต่างๆทั้งด้านความคิด จิตใจ ความเชื่อ ศิลปะ และที่สาคัญก็คือ ภาษาไทยยังเปรียบเสมือนหัวใจของชาติ และ เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติที่โดด
  • 7. 7 เด่นไม่แพ้ชาติใดในโลก แต่หากเยาวชนไทยใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง เราก็คงจะอยากรู้สาเหตุที่แท้จริงและหา วิธีแก้ไข รับมือกับปัญหานี้ สาเหตุของปัญหาเยาวชนไทยใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้องอาจเกิดจาก ค่านิยม ทัศนคติของเยาวชนต่อภาษาไทย ที่เกิดจากการเลียนแบบทางสังคมและยึดถือปฏิบัติต่อ ๆ กันมา ซึ่งค่านิยมเหล่านี้มาจากเพื่อน สังคมรอบข้าง สื่อมวลชนที่เป็นผู้นาทางความคิด ทาให้เยาวชนไทยตกเป็นทาส และผลิตภาษาใหม่ๆขึ้นมาใช้ อาทิ การปน ภาษาไทยกับภาษาต่างประเทศ การพูดภาษาไทยไม่ชัด หรือการสะกดคาผิด ย่อคาให้สั้นลง เพื่อต้องการเป็นที่ ยอมรับ และมีจุดยืนในสังคม ซึ่งเป็นเรื่องไม่ผิดหากใช้สื่อสารกันเพียงกลุ่มเล็กๆ แต่หากอยู่ในสังคมกลุ่มใหญ่ๆ ก็ ควรดูความเหมาะสมจากบริบท สถานที่ บุคคลต่างๆด้วย จากการสารวจและศึกษาข้อมูล พบว่ามีสาเหตุหลักๆ หลายประการ ประการแรก คือ สื่อมวลชน และคนสาคัญต่างๆที่เป็นผู้นาตัวอย่างในประเทศ ทั้งกลุ่มดาราวัยรุ่น นักแสดง นักร้อง นักการเมือง มักใช้ภาษาอย่างไม่เหมาะสม มีการใช้คาแสลงจนภาษาไทยเข้าขั้นวิกฤติ เนื่องจากเราจะเห็น ได้ว่าสื่อมวลชนทาหน้าที่เป็นกระจกสะท้อนสภาพของสังคม เปรียบเสมือนเครื่องมือที่มีบทบาทสาคัญต่อการ สร้างค่านิยม เจตคติ การรับรู้ของประชาชนในสังคม และมียังผลต่อการสร้างอัตลักษณ์ของชาติ อีกทั้งยังเป็น สื่อกลางในการถ่ายทอด นาเสนอข้อมูลข่าวสารออกมา แสดงถึงสภาพสังคมโดยรวม เราจึงพบการใช้ภาษาไทย แบบผิด ๆ มากมายจนเกือบจะกลายเป็นความเคยชิน โดยเฉพาะในกลุ่มเยาวชนไทยยิ่งน่าเป็นห่วงมากที่สุด ประการที่สอง ก็คือ เยาวชนไทย และผู้ปกครองไม่ได้ให้ความสาคัญกับภาษาไทยมากนัก แต่จะไปให้ความสาคัญ ในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เพราะคิดว่าภาษาไทยเป็นภาษาแม่บทที่ใช้กันทุกวันใน ชีวิตประจาวัน จึงเป็นภาษาที่ง่าย ไม่ต้องให้ความสนใจกับรายละเอียดต่างๆมาก ทาให้เราละเลยและลด ความสาคัญของสิ่งที่มีคุณค่าลง ประการต่อมา คือ สถานศึกษาไม่ได้สนับสนุนให้เยาวชนได้ร่วมกิจกรรมหรือโครงการดี ๆ ที่เน้นด้านการฟัง การ พูด การเขียน การอ่าน หรือกิจกรรมที่เน้นให้เด็กได้คลุกคลีกับตัวหนังสือ ขณะที่ห้องสมุดก็ไม่ค่อยจะมีกิจกรรม ดึงดูดความสนใจให้เด็กเข้าไปศึกษาหาความรู้ อีกทั้งสถานศึกษายังให้ความรู้ภาษาไทยแก่เยาวชนเพียงแค่ผิวเผิน ไม่ได้เน้นย้า เจาะลึกลงไปในหลักที่สาคัญ ทาให้เยาวชนไม่มีทักษะความรู้ที่จะนาไปใช้มากพอ ประการสุดท้ายก็ คือ เรื่องของค่านิยมในกลุ่มของเยาวชนที่มองว่าการใช้ภาษาที่ทันสมัย ผิดแปลกจากเดิม เป็นสิ่ง ที่ดี สมควรปฏิบัติ เนื่องจากเยาวชนไทยนิยมใช้โลกออนไลน์ ทั้งเฟสบุ๊ค แชทต่างๆ เพื่อการติดต่อสื่อสารที่ รวดเร็ว สะดวกสบาย ทาให้เกิดความยากลาบากในการพิมพ์ตัวอักษร จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงการสะกดคา เหล่านั้นง่ายขึ้นและสั้นลง ส่งผลให้ภาษาไทยนั้นผิดไวยากรณ์ ผิดความหมาย เปลี่ยนแปลงไป จนไม่รู้ว่าคาที่ ถูกต้องสะกดอย่างไร เช่น ชิมิ = ใช่ไหม , มว้าก = มาก , เตง = ตัวเอง ,จีจี = จริงจริง ,กา =กรรม ฯลฯ สุดท้าย ปัญหานี้จึงกลายเป็นปัญหาใหญ่ในสังคม สรุปสาเหตุที่ทาให้เยาวชนไทยใช้ภาษาไทยไม่ถูกต้อง นั้นเกิดจาก สื่อมวลชน และคนสาคัญต่างๆที่เป็นผู้นา ตัวอย่างในประเทศ มักใช้ภาษาอย่างไม่เหมาะสม และใช้คาแสลง เยาวชนไทย และผู้ปกครองไม่ได้ให้ ความสาคัญกับภาษาไทยแต่จะไปให้ความสาคัญในวิชาอื่น อีกทั้งสถานศึกษาไม่ได้สนับสนุนให้เยาวชนได้ร่วม กิจกรรมหรือโครงการดี ๆ และที่สาคัญก็คือค่านิยมที่ทาตามกันในกลุ่มของเยาวชน จนกลายเป็นค่านิยมของ สังคม ทาให้ไม่มีเค้าโครงเดิมของภาษาไทยอีกต่อไป ดังนั้นแม้ธรรมชาติของภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
  • 8. 8 แต่ภาษาไทยไม่ควรเปลี่ยนแปลง เพราะเป็นภาษาของชาติที่มีความศักดิ์สิทธิ์ เราคนไทยทุกคนจึงควรช่วยกัน ถนอมและรักษาภาษาไทยเอาไว้ให้เหมือนอย่างที่มันเป็นมาตลอด หันมาจริงจังกับการใช้ภาษา ซึ่งเป็นเรื่องง่ายๆที่ ทุกคนสามารถทาได้โดยการปลูกจิตสานึกในการหวงแหนภาษาไทย ส่งเสริม ปลูกฝังทักษะการอ่านเพราะการ อ่านเป็นการซึมซับ หลักการใช้ภาษาซึ่งจะนาไปสู่ทักษะการสื่อสารภาษาไทยที่ถูกต้องทุกด้าน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อปัญหาที่ต้องการศึกษา 2.นาเสนอหัวข้อกับครูที่ปรึกษา 3.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 4.จัดทารายงาน 5.นาเสนอกับครูที่ปรึกษา 6.ปรับปรุงและแก้ไขข้อผิดพลาด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.โทรศัพท์มือถือ 3.สมุดสาหรับบันทึก 4.หนังสือหรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 9. 9 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.การใช้ภาษาไทยผิดบนโลกออนไลน์ลดลง 2.บุคคลทั่วไปตระหนักถึงการใช้ภาษาไทยมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ต าบลศรีภูมิ อ าเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) Pornpen. (2557) ภาษาวิบัติ. สืบค้นเมื่อ20กันยายน2562,จากเว็บไซต์:https://www.dek- d.com/board/view/3135068/ chatchai nokdee. (2557) ปัญหาการใช้ภาษาไทยของวัยรุ่น. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562ม จากเว็บไซต์ : https://www.thaihealth.or.th/Content/25193-.html Monobreo. (2561) ภาษาไทย ไทย ไทย. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2562 จากเว็บไซต์ : https://storylog.co/story/5aa0916c390bebaf310e7292