SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
รูปต่างๆที่ต้องการ เช่น พลังงานความร้อน พลังงานเสียง พลังงานกล
พลังงานเคมี และช่วยให้ความเป็นอยู่ของคนในบ้าน ในชุมชน ในสังคม มี
ความสุข และสะดวกสบาย แต่ถ้าใช้กันอย่างไม่ถูกต้อง หรือไม่
เหมาะสม ก็จะส่งผลกรทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น การสร้างเขื่อนเพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้าทาให้เนื้อที่ป่าถูกทาลายทั้งสัตว์ต่างๆ ที่ดารงชิวิตอยู่ในบริเวณ
นั้นหรือการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง ก็ส่งผลกระทบ โดยเกิด
มลภาวะทางอากาศ และ ทางนาได้
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
- ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างระมัดระวัง
- หมั่นตรวจดูแลสายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้ได้ดีและ
ปลอดภัย
- ถ้าไม่มีความรู้จริง อย่าแก้หรือซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้าเองเป็นอันขาด
          ผลเสียที่จะเกิดขึ้น เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ระมัดระวัง
- ถูกไฟฟ้าช็อต เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือไฟฟ้ารั่ว
- เกิดเพลิงไหม้ เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือไฟฟ้ารั่ว
อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง ได้แก่ หลอดไฟฟ้า หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva
Edison) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ได้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
2422 โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆเป็นไส้หลอดและต่อมาได้มีการพัฒนาขึ้น จนเป็น
หลอดไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบัน
หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า
เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้
ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ
1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
    หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
มี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบดังนี้
1.1 ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความ
ทานสูง เช่น ทังสเตน
      1.2 หลอดแก้วทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจน
หมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทาปฏิกิริยายาก
ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่
ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้หลอดขาด
ง่าย
     1.3 ขั้วหลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว
      เนื่องจากหลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วย
การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อนก่อนที่
จะให้แสงสว่างออกมา จึงทาให้สิ้นเปลือง พลังงานไฟฟ้า
มากกว่าหลอดชนิดอื่น ในขนาดกาลังไฟฟ้า ของ
หลอดไฟซึ่งจะกาหนดไว้ที่หลอดไฟทุกดวง เช่น
หลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์ เป็นต้น
หลักการทางานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา
    การที่หลอด ไฟฟ้าให้แสงสว่างได้เป็นไปตามหลักการดังนี้ เมื่อ
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะ
เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง ออกมา
ได้ ซึ่งมีการเปลี่ยนรูปพลังงานดังนี้
        พลังงานไฟฟ้า ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง
2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent Lamp)
 หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วย
หลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลาย
หลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทาเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็
ได้ ส่วนประกอบและการทางานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้
2.1 ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซ
อาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ
แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้อง
ฉาบด้วยสารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟ้าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพู
ฉาบด้วยแคดเนียมบอเรต เป็นต้น
      2.2 ไส้หลอด ทาด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อ
กระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทาให้ไอ
ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอ
ปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทาให้ความต้านทานของหลอดสูง
2.3 สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทาด้วย
หลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อได้รับความร้อน เมื่อ
กระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทาให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะ
ติดกันทาให้กลายเป็นวงจรปิดทาให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่น โลหะได้ครบวงจร ก๊าซนีออนที่ตด       ิ
ไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิดความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันที
ซึ่งขณะ เดียวกันกระแสไฟฟ้าจะผ่านไส้หลอดได้มากขึ้นทาให้ไส้หลอดร้อนขึนมาก ปรอทก็
                                                                         ้
จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นากระแสไฟฟ้าได้
     2.4 แบลลัสต์ เป็นขดลวดที่พันอยูบนแกนเหล็ก ขณะกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดการ
                                     ่
เหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าทาให้เกิดแรงเคลื่อน ไฟฟ้าเหนี่ยวนาขึ้น เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ต
เตอร์แยกตัวออกจากกันนั้นจะเกิดวงจรเปิดชั่วขณะ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นใน
แบลลัสต์จึงทาให้เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างไส้หลอดทั้งสองข้างสูงขึ้นเพียงพอที่จะทาให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ไอปรอทจากไส้หลอดข้างหนึ่งไปยังไส้หลอดอีกข้างหนึ่ง
ได้ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาทีเ่ กิดจากแบลลัสต์นั้นจะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนาไหล
สวนทางกับกระแสไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าในบ้าน ทาให้กระแส ไฟฟ้าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอด
เรืองแสงลดลง
หลักการทางานของหลอดฟลูออเรสเซนต์
     เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอท จะคายพลังงานไฟฟ้าให้แก่ไอปรอท ซึ่งจะ
ทาให้อะตอม ของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (exited state) เป็นผลให้
อะตอมปรอทคายพลังงานออกมาเพื่อ ลดระดับพลังงานในตัวเองในรูปของ
รังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งมองไม่เห็น เมื่อรังสีชนิดนี้ไปกระทบกับสารวาวแสงที่
ฉาบไว้ที่ผิวด้านในของหลอดฟลูออเรส เซนต์ สารเหล่านี้จะเปล่งแสงได้ โดย
ให้แสงสีต่างๆตามชนิดของสารวาวแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น ซิงค์ซิ
ลิเคท (Zinc silicate) ให้แสงสีเขียว ซิงค์เบริลเลียมซิลิเคท (Zinc Beryllium
silicate) ให้แสงสีเหลืองนวล นอกจากนี้ยังอาจผสมสารวาวแสงเหล่านี้ เพื่อให้
ได้แสงสีผสมที่แตกต่างกันออกไปได้อีกด้วย
3.หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน
  หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้วดัดให้เป็น
รูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้าทาด้วยโลหะ
ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ภายใน
หลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆออกมาเมื่อมี
กระแสไฟฟ้าผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซฮีเลียมให้แสงสี
ชมพู ความต่างศักย์ที่สูงมากๆ จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดการแตกตัว
เป็นนีออน และนาไฟฟ้าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซเหล่านี้จะทาให้ก๊าซร้อนติด
ไฟให้แสงสีต่างๆได้
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
เป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนา
ที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้นจะร้อนจนสามารถนาความร้อนออกไปใช้
ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่
เท่ากัน ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความ
ระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว
กระทะไฟฟ้า กาต้มน้า เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
ส่วนประกอบในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน มีดังนี้
        1. ขดลวดความร้อน หรือแผ่นความร้อน มักทาจากโลหะผสมระหว่างนิเกิล
กับโครเมียม เรียกว่า นิโครม ซึ่งมีสมบัติคือมีจุดหลอมเหลวสูงมากจึงทนความร้อน
ได้สูงเมื่อมีความร้อนเกิดขึ้นมากๆจึงไม่ขาด และมีความต้านทานสูงมาก
        2. เทอโมสตาร์ท หรือสวิตซ์ความร้อนอัตโนมัติ ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิ
ไม่ให้ร้อนเกินไป มีส่วนประกอบเป็นโลหะต่างชนิดกัน 2 แผ่นมาประกบกัน เมื่อ
ได้รับความร้อนจะขยายตัวได้ไม่เท่ากัน เช่น เหล็กกับทองเหลือง โดยให้แผ่น
โลหะที่ขยายตัวได้น้อย(เหล็ก)อยู่ด้านบน ส่วนโลหะที่จะขยายตัวได้มาก
(ทองเหลือง)อยู่ด้านล่าง เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านแผ่นโลหะทั้งสองมากขึ้น จะทา
ให้มีอุณหภูมิสูงจนแผ่นโลหะทั้งสองซึ่งขยายตัวได้ต่างกันโลหะที่ขยายตัวได้ มาก
จะขยายตัวโค้งงอ เป็นเหตุให้จุดสัมผัสแยกออกจากกัน เกิดเป็นวงจรเปิด
กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านไม่ได้ และเมื่อแผ่นโลหะทั้งสองเย็นลงก็จะสัมผัสกัน
เหมือนเดิม เกิดเป็นวงจรปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านได้อีกครั้งหนึ่ง
3. แผ่นไมกา หรือ แผ่นใยหิน ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่
ให้พลังงาน ความร้อนบางชนิด เช่นเตารีด หม้อหุงข้าว เตาไฟฟ้า จะมีแผ่น
ไมกา หรือใยหิน เพื่อป้องกันไม่ให้ขดลวดหลอมละลาย และป้องกันไฟฟ้ารั่ว
ขณะใช้งาน
ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน
   เนื่องจากเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณมาก
ไหลผ่าน มากกว่าเครื่องใช้ประเภทอื่นๆ จึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังดังนี้
      - หมั่นตรวจสอบดูแลสายไฟ เต้ารับ เต้าเสียบ ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยไม่
ชารุด
      - เมื่อเลิกใช้งานต้องถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครั้งไม่ควรเสียบทิ้งไว้
หลักการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน
    เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อนมีหลักการคือเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความ
ต้านทานไฟฟ้าสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ดังนั้น จึงให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดนิโครมหรือแผ่นความร้อนซึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า
สูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนมากแล้วถ่ายเทพลังงานความ
ร้อนไป ยังภาชนะ
    เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน ใช้พลังงานไฟฟ้ามากกว่าเครื่องใช้ไฟฟ้า
อื่นหลายเท่า กระแสไฟฟ้าที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้มีปริมาณมากจึงต้องใช้ด้วย
ความ ระมัดระวัง เช่น คอยตรวจสอบสภาพของสายไฟ และเต้าเสียบให้อยู่ใน
สภาพดีอยู่เสมอเพื่อป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว ขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า
ควรดูแลใกล้ชิด และอย่าใช้ใกล้กับสารไวไฟ เมื่อเลิกใช้แล้วต้องถอดเต้าเสียบออก
ทุกครั้ง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า
มอเตอร์ และ เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่
ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ
ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้าผลไม้ ฯลฯ
ส่วนประกอบของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล
    มอเตอร์
    มอเตอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
กล ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อ
ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดหมุน
ไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม
ประเภทของมอเตอร์มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอเตอร์
กระแสสลับ
       - มอเตอร์กระแสตรง เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้ไฟฟ้ากระแสตรงผ่านเข้า
ไปในขดลวดอาร์เมเจอร์เพื่อทาให้ เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวร
กับแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวด มอเตอร์จึงหมุนได้
       - มอเตอร์กระแสสลับ เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ
โดยใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าจาก
ขดลวดมาทาให้ เกิดการหมุนของมอเตอร์
       ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอรเป็นส่วนประกอบ
คือ ห้ามใช้เครื่องใช้ประเภทนี้ในช่วงที่ไฟตก หรือแรงดันไฟฟ้าไม่ถึง 220
โวลต์ เนื่องจากมอเตอร์จะไม่หมุนและทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าดันกลับ จะทา
ให้ขดลวดร้อนจัดจนเกิดไหม้เสียหายได้
หลักการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล

        พลังงานกล ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่
ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่าง
ขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุน
ของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับ
วิทยุ เครื่องขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ
       1.เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง
โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียง
ที่มีอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลาโพง
จะทาให้ลาโพงสั่น สะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง




       แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
2. เครื่องขยายเสียง(Amplifier) คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงาน
ไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงโดยรับสัญญาณไฟฟ้าจากไมโครโฟน หัวเทป หรือ
จาก เครื่องกาเนิดสัญญาณไฟฟ้าจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟ้าจนมี
กาลังมากพอจึงส่งออกสู่ลาโพงเสียง
     ส่วนประกอบของเครื่องขยายเสียง

    1. ไมโครโฟน เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า


    2. เครื่องขยายสัญญาณไฟฟ้า ขยายสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึน
                                                     ้

    3. ลาโพง เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นพลังงานเสียง
3. เครื่องบันทึกเสียง (Tape recorder) ขณะบันทึกด้วยการพูดผ่าน
ไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบ
บันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก ดังแผนผัง




            แผนผังการเปลี่ยนพลังงานของเครื่องบันทึกเสียงขณะบันทึก
เมื่อนาแถบบันทึกเสียงที่บันทึกได้มาเล่น สัญญาณแม่เหล็กจะถูก
เปลี่ยนกลับเป็นสัญญาณไฟฟ้า และสัญญาณนี้จะถูกขยายให้แรงขึ้นด้วย
อุปกรณ์ไฟฟ้าจนทาให้ลาโพงสั่นสะเทือนเป็นเสียงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ดัง
แผนผัง



   สัญญาณแม่เหล็กจาก




            แผนผังการเปลี่ยนพลังงานของเครื่องบันทึกเสียงขณะเล่น
ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง พวก วิทยุ หรือเครื่องเสียง
ประเภทต่างๆ ส่วนใหญ่สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าไม่มาก แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
กาลังไฟฟ้า ของเครื่องเสียงนั้นๆ และขึ้นอยู่กับความดังของเสียงในการเปิดฟัง
ด้วย
ป.ล. ในการเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดต้องพิจารณาถึงคุณภาพของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า รู้จักวิธีใช้ที่ถูกต้อง รู้จักวิธีป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วและ
ไฟฟ้าลักวงจรและตรวจดูแลอุปกรณ์อยู่เสมอ
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า

More Related Content

What's hot

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าaing_siripatra
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าRattanapron Tacomdee
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3SUPAPIT3033
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าufonon
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าChanukid Chaisri
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าUp To You's Toey
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 

What's hot (14)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3เครื่องใช้ไฟฟ้า3
เครื่องใช้ไฟฟ้า3
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้าหลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
หลักการเครื่องใช่ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 

Similar to ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า

งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์jee2002
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1Keatisak TAtanarua
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าmaxkyza5
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2hiphopsky
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2hiphopsky
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าBenjamat301
 

Similar to ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า (20)

งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2
 
ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2ไฟฟ้า2
ไฟฟ้า2
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 

ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า

  • 1.
  • 2. เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน รูปต่างๆที่ต้องการ เช่น พลังงานความร้อน พลังงานเสียง พลังงานกล พลังงานเคมี และช่วยให้ความเป็นอยู่ของคนในบ้าน ในชุมชน ในสังคม มี ความสุข และสะดวกสบาย แต่ถ้าใช้กันอย่างไม่ถูกต้อง หรือไม่ เหมาะสม ก็จะส่งผลกรทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น การสร้างเขื่อนเพื่อผลิต กระแสไฟฟ้าทาให้เนื้อที่ป่าถูกทาลายทั้งสัตว์ต่างๆ ที่ดารงชิวิตอยู่ในบริเวณ นั้นหรือการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเชื้อเพลิง ก็ส่งผลกระทบ โดยเกิด มลภาวะทางอากาศ และ ทางนาได้
  • 3. ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า - ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างระมัดระวัง - หมั่นตรวจดูแลสายไฟ และอุปกรณ์ไฟฟ้าให้อยู่ในสภาพที่ใช้ได้ดีและ ปลอดภัย - ถ้าไม่มีความรู้จริง อย่าแก้หรือซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟ้าเองเป็นอันขาด ผลเสียที่จะเกิดขึ้น เมื่อใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างไม่ระมัดระวัง - ถูกไฟฟ้าช็อต เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือไฟฟ้ารั่ว - เกิดเพลิงไหม้ เนื่องจากไฟฟ้าลัดวงจร หรือไฟฟ้ารั่ว
  • 4. อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานแสง ได้แก่ หลอดไฟฟ้า หลอด ฟลูออเรสเซนต์ และหลอดไฟโฆษณา โธมัส แอลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ได้ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2422 โดยใช้คาร์บอนเส้นเล็กๆเป็นไส้หลอดและต่อมาได้มีการพัฒนาขึ้น จนเป็น หลอดไฟฟ้าที่ใช้ในปัจจุบัน
  • 5. หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ 1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา มี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบดังนี้
  • 6. 1.1 ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความ ทานสูง เช่น ทังสเตน 1.2 หลอดแก้วทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจน หมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทาปฏิกิริยายาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้หลอดไม่ ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้หลอดขาด ง่าย 1.3 ขั้วหลอดไฟ เป็นจุดต่อวงจรไฟฟ้า มี 2 แบบ คือ แบบเขี้ยวและแบบเกลียว เนื่องจากหลอดไฟฟ้าประเภทนี้ให้แสงสว่างได้ด้วย การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานความร้อนก่อนที่ จะให้แสงสว่างออกมา จึงทาให้สิ้นเปลือง พลังงานไฟฟ้า มากกว่าหลอดชนิดอื่น ในขนาดกาลังไฟฟ้า ของ หลอดไฟซึ่งจะกาหนดไว้ที่หลอดไฟทุกดวง เช่น หลอดไฟฟ้าขนาด 100 วัตต์ เป็นต้น
  • 7. หลักการทางานของหลอดไฟฟ้าธรรมดา การที่หลอด ไฟฟ้าให้แสงสว่างได้เป็นไปตามหลักการดังนี้ เมื่อ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอด ซึ่งมีความต้านทานสูง พลังงานไฟฟ้าจะ เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสง ออกมา ได้ ซึ่งมีการเปลี่ยนรูปพลังงานดังนี้ พลังงานไฟฟ้า ----> พลังงานความร้อน ----> พลังงานแสง
  • 8. 2.หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent Lamp) หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วย หลอดแก้วที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลาย หลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทาเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ ได้ ส่วนประกอบและการทางานของหลอดเรืองแสง มีดังนี้
  • 9. 2.1 ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทและก๊าซ อาร์กอน เล็กน้อย ผิวด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสงชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้เรืองแสงสีเขียว ต้อง ฉาบด้วยสารซิงค์ซิลิเคต แสงสีขาวแกมฟ้าฉาบด้วยมักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพู ฉาบด้วยแคดเนียมบอเรต เป็นต้น 2.2 ไส้หลอด ทาด้วยทังสเตนหรือวุลแฟรมอยู่ที่ปลายทั้งสองข้าง เมื่อ กระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดขึ้นจะทาให้ไอ ปรอทที่บรรจุไว้ในหลอดกลายเป็นไอมากขึ้น แต่ขณะนั้นกระแสไฟฟ้ายังผ่านไอ ปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็นไอน้อยทาให้ความต้านทานของหลอดสูง
  • 10. 2.3 สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าที่เป็นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมัติของวงจรโดยต่อขนานกับหลอด ทาด้วย หลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ที่งอตัวได้ เมื่อได้รับความร้อน เมื่อ กระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออนจะติดไฟเกิดความร้อนขึ้น ทาให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะ ติดกันทาให้กลายเป็นวงจรปิดทาให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่น โลหะได้ครบวงจร ก๊าซนีออนที่ตด ิ ไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกันทาให้เกิดความต้านทานสูงขึ้นอย่างทันที ซึ่งขณะ เดียวกันกระแสไฟฟ้าจะผ่านไส้หลอดได้มากขึ้นทาให้ไส้หลอดร้อนขึนมาก ปรอทก็ ้ จะเป็นไอมากขึ้นจนพอที่นากระแสไฟฟ้าได้ 2.4 แบลลัสต์ เป็นขดลวดที่พันอยูบนแกนเหล็ก ขณะกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะเกิดการ ่ เหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าทาให้เกิดแรงเคลื่อน ไฟฟ้าเหนี่ยวนาขึ้น เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ต เตอร์แยกตัวออกจากกันนั้นจะเกิดวงจรเปิดชั่วขณะ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นใน แบลลัสต์จึงทาให้เกิดความต่าง ศักย์ระหว่างไส้หลอดทั้งสองข้างสูงขึ้นเพียงพอที่จะทาให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ไอปรอทจากไส้หลอดข้างหนึ่งไปยังไส้หลอดอีกข้างหนึ่ง ได้ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาทีเ่ กิดจากแบลลัสต์นั้นจะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า เหนี่ยวนาไหล สวนทางกับกระแสไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้าในบ้าน ทาให้กระแส ไฟฟ้าที่จะเข้าสู่วงจรของหลอด เรืองแสงลดลง
  • 11. หลักการทางานของหลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านไอปรอท จะคายพลังงานไฟฟ้าให้แก่ไอปรอท ซึ่งจะ ทาให้อะตอม ของไอปรอทอยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (exited state) เป็นผลให้ อะตอมปรอทคายพลังงานออกมาเพื่อ ลดระดับพลังงานในตัวเองในรูปของ รังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งมองไม่เห็น เมื่อรังสีชนิดนี้ไปกระทบกับสารวาวแสงที่ ฉาบไว้ที่ผิวด้านในของหลอดฟลูออเรส เซนต์ สารเหล่านี้จะเปล่งแสงได้ โดย ให้แสงสีต่างๆตามชนิดของสารวาวแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น ซิงค์ซิ ลิเคท (Zinc silicate) ให้แสงสีเขียว ซิงค์เบริลเลียมซิลิเคท (Zinc Beryllium silicate) ให้แสงสีเหลืองนวล นอกจากนี้ยังอาจผสมสารวาวแสงเหล่านี้ เพื่อให้ ได้แสงสีผสมที่แตกต่างกันออกไปได้อีกด้วย
  • 12. 3.หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้วดัดให้เป็น รูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้าทาด้วยโลหะ ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ภายใน หลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสีต่างๆออกมาเมื่อมี กระแสไฟฟ้าผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซฮีเลียมให้แสงสี ชมพู ความต่างศักย์ที่สูงมากๆ จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้ในหลอดเกิดการแตกตัว เป็นนีออน และนาไฟฟ้าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซเหล่านี้จะทาให้ก๊าซร้อนติด ไฟให้แสงสีต่างๆได้
  • 13. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนา ที่มีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้นจะร้อนจนสามารถนาความร้อนออกไปใช้ ประโยชน์ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยน พลังงานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่ เท่ากัน ฉะนั้นขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความ ระมัดระวัง ตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้า เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
  • 14. ส่วนประกอบในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน มีดังนี้ 1. ขดลวดความร้อน หรือแผ่นความร้อน มักทาจากโลหะผสมระหว่างนิเกิล กับโครเมียม เรียกว่า นิโครม ซึ่งมีสมบัติคือมีจุดหลอมเหลวสูงมากจึงทนความร้อน ได้สูงเมื่อมีความร้อนเกิดขึ้นมากๆจึงไม่ขาด และมีความต้านทานสูงมาก 2. เทอโมสตาร์ท หรือสวิตซ์ความร้อนอัตโนมัติ ทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิ ไม่ให้ร้อนเกินไป มีส่วนประกอบเป็นโลหะต่างชนิดกัน 2 แผ่นมาประกบกัน เมื่อ ได้รับความร้อนจะขยายตัวได้ไม่เท่ากัน เช่น เหล็กกับทองเหลือง โดยให้แผ่น โลหะที่ขยายตัวได้น้อย(เหล็ก)อยู่ด้านบน ส่วนโลหะที่จะขยายตัวได้มาก (ทองเหลือง)อยู่ด้านล่าง เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านแผ่นโลหะทั้งสองมากขึ้น จะทา ให้มีอุณหภูมิสูงจนแผ่นโลหะทั้งสองซึ่งขยายตัวได้ต่างกันโลหะที่ขยายตัวได้ มาก จะขยายตัวโค้งงอ เป็นเหตุให้จุดสัมผัสแยกออกจากกัน เกิดเป็นวงจรเปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านไม่ได้ และเมื่อแผ่นโลหะทั้งสองเย็นลงก็จะสัมผัสกัน เหมือนเดิม เกิดเป็นวงจรปิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านได้อีกครั้งหนึ่ง
  • 15. 3. แผ่นไมกา หรือ แผ่นใยหิน ซึ่งเป็นฉนวนไฟฟ้า ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ ให้พลังงาน ความร้อนบางชนิด เช่นเตารีด หม้อหุงข้าว เตาไฟฟ้า จะมีแผ่น ไมกา หรือใยหิน เพื่อป้องกันไม่ให้ขดลวดหลอมละลาย และป้องกันไฟฟ้ารั่ว ขณะใช้งาน
  • 16. ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เนื่องจากเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนจะมีกระแสไฟฟ้าปริมาณมาก ไหลผ่าน มากกว่าเครื่องใช้ประเภทอื่นๆ จึงควรใช้ด้วยความระมัดระวังดังนี้ - หมั่นตรวจสอบดูแลสายไฟ เต้ารับ เต้าเสียบ ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยไม่ ชารุด - เมื่อเลิกใช้งานต้องถอดเต้าเสียบออกจากเต้ารับทุกครั้งไม่ควรเสียบทิ้งไว้
  • 17. หลักการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อน เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้ความร้อนมีหลักการคือเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านความ ต้านทานไฟฟ้าสูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน ดังนั้น จึงให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดนิโครมหรือแผ่นความร้อนซึ่งมีความต้านทานไฟฟ้า สูง พลังงานไฟฟ้าจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนมากแล้วถ่ายเทพลังงานความ ร้อนไป ยังภาชนะ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน ใช้พลังงานไฟฟ้ามากกว่าเครื่องใช้ไฟฟ้า อื่นหลายเท่า กระแสไฟฟ้าที่ผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้มีปริมาณมากจึงต้องใช้ด้วย ความ ระมัดระวัง เช่น คอยตรวจสอบสภาพของสายไฟ และเต้าเสียบให้อยู่ใน สภาพดีอยู่เสมอเพื่อป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว ขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้า ควรดูแลใกล้ชิด และอย่าใช้ใกล้กับสารไวไฟ เมื่อเลิกใช้แล้วต้องถอดเต้าเสียบออก ทุกครั้ง
  • 18. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร์ และ เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่องซักผ้า เครื่องปั่นน้าผลไม้ ฯลฯ
  • 19. ส่วนประกอบของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล มอเตอร์ มอเตอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน กล ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อ ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดหมุน ไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม
  • 20. ประเภทของมอเตอร์มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอเตอร์ กระแสสลับ - มอเตอร์กระแสตรง เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้ไฟฟ้ากระแสตรงผ่านเข้า ไปในขดลวดอาร์เมเจอร์เพื่อทาให้ เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวร กับแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวด มอเตอร์จึงหมุนได้ - มอเตอร์กระแสสลับ เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยใช้หลักการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าจาก ขดลวดมาทาให้ เกิดการหมุนของมอเตอร์ ข้อควรระวังในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอรเป็นส่วนประกอบ คือ ห้ามใช้เครื่องใช้ประเภทนี้ในช่วงที่ไฟตก หรือแรงดันไฟฟ้าไม่ถึง 220 โวลต์ เนื่องจากมอเตอร์จะไม่หมุนและทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าดันกลับ จะทา ให้ขดลวดร้อนจัดจนเกิดไหม้เสียหายได้
  • 21. หลักการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล พลังงานกล ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดยเมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่าง ขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวดหมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุน ของขดลวดจะหมุนกลับทิศทางเดิม
  • 22. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับ วิทยุ เครื่องขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ 1.เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดยรับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียง ที่มีอยู่ในรูปของ สัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลาโพง จะทาให้ลาโพงสั่น สะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
  • 23. 2. เครื่องขยายเสียง(Amplifier) คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงาน ไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงโดยรับสัญญาณไฟฟ้าจากไมโครโฟน หัวเทป หรือ จาก เครื่องกาเนิดสัญญาณไฟฟ้าจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟ้าจนมี กาลังมากพอจึงส่งออกสู่ลาโพงเสียง ส่วนประกอบของเครื่องขยายเสียง 1. ไมโครโฟน เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า 2. เครื่องขยายสัญญาณไฟฟ้า ขยายสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึน ้ 3. ลาโพง เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นพลังงานเสียง
  • 24. 3. เครื่องบันทึกเสียง (Tape recorder) ขณะบันทึกด้วยการพูดผ่าน ไมโครโฟน ซึ่งจะเปลี่ยนพลังงานเสียงเป็นสัญญาณไฟฟ้า แล้วบันทึกลงในแถบ บันทึกเสียงซึ่งฉาบด้วยสารแม่เหล็กในรูปของสัญญาณแม่เหล็ก ดังแผนผัง แผนผังการเปลี่ยนพลังงานของเครื่องบันทึกเสียงขณะบันทึก
  • 26. ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง พวก วิทยุ หรือเครื่องเสียง ประเภทต่างๆ ส่วนใหญ่สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าไม่มาก แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ กาลังไฟฟ้า ของเครื่องเสียงนั้นๆ และขึ้นอยู่กับความดังของเสียงในการเปิดฟัง ด้วย
  • 27. ป.ล. ในการเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดต้องพิจารณาถึงคุณภาพของ เครื่องใช้ไฟฟ้า รู้จักวิธีใช้ที่ถูกต้อง รู้จักวิธีป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วและ ไฟฟ้าลักวงจรและตรวจดูแลอุปกรณ์อยู่เสมอ