SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
     Geographic Information System
ประโยชนของสารสนเทศภูมิศาสตร(GIS)

1.ประโยชนตอองคกรหรือหนวยงาน เชน ตําแหนงที่ตั้งของหนวย
   แผนผังโครงสราง เปนตน
2.ประโยชนตองานในหนาที่ความรับผิดชอบ เชน เปนพนักงาน
   สืบสวนก็สามารถกําหนดจุดเปาหมายบานคนรายหรือแหลงตาง ๆ
   ที่สําคัญ
3.ประโยชนในการดําเนินชีวิตประจําวัน เชนเสนทางการเดินทางไป
   ทํางาน การสงลูกไปโรงเรียน การเดินทางไปตามจุดตาง ๆ
ทําความรูจักกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
• ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System :
  GIS) คือ เครื่องมือสําหรับการวิเคราะหปรากฏการณเชิงพื้นที่หรือ
  วิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) โดยมีระบบคอมพิวเตอร
  เปนเครื่องมือที่สําคัญที่ใชในการประมวลผล แตสิ่งที่สําคัญที่สุดใน
  การวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่คือ บุคลากรและขอมูลที่ถูกตองของ
  พื้นที่นั้น ๆ ถึงแมว าเราจะมีเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพ
  ขนาดไหนก็ไมสามารถที่จะวิเคราะหได ถาปราศจากบุคลากรและ
  ขอมูลที่ถูกตอง
• พรทิพย (2531) ไดใหคําจํากัดความไววา “ระบบสารสนเทศ
  ภูมิศาสตร เปนระบบโปรแกรมที่สามารถนําไปใชในการสรางและ
  วิเคราะหขอมูลรูปทรงสัณฐานของวัตถุทุกอยางบนพื้นผิวโลก
  (Spatial) เกี่ยวกับระบบแผนที่ ภาพถายทางอากาศและแผนผัง
  ตางๆ ของลักษณะภูมิประเทศทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และ
  มนุษยสรางขึ้น สิ่งเหลานี้สามารถแปลความออกมาเปนรหัส
• อิเลคโทรนิค ซึ่งเรียกออกมาใชงาน แกไข และวิเคราะหขอมูลได”
• ศูนยวิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
  ได ใ ห ค วามหมายของคํ า ว า "ระบบสารสนเทศภู มิ ศ าสตร
  ( Geographic Information System ) GIS" วา ระบบสารสนเทศ
  ภูมิศาสตร หรือ Geographic Information System : GIS คือ
  กระบวนการทํ า งานเกี่ ย วกั บ ข อ มู ล ในเชิ ง พื้ น ที่ ด ว ยระบบ
  คอมพิวเตอร ที่ใชกําหนดขอมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ
  กับตําแหนงในเชิงพื้นที่
• สารสนเทศภูมิศาสตร(Geographic Information) หมายถึง...ขอมูลวัตถุ
  (Object)เหตุการณหรือปรากฏการ(Phenomena)ตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ที่มี
  ความเกี่ยวของโดยตรงหรือโดยออมกับตําแหนงหนึ่ง ๆ ที่สัมพันธ
  กับพื้นผิวของโลกโดยมีชวงเวลาเปนตัวกําหนด และทําการรวบรวม
  ขอมูลทั้งหมดแทนดวยเครื่องหมายหรือสัญลักษณ พรอมทั้งขอมูล
  รายละเอียดของวัตถุแตละอยาง นํามาจัดเก็บเปนหมวดหมู เรียกวา
  ขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data)ซึ่งอาจเปนขอมูลในรูปแบบแผนที่
  กระดาษ หรือขอมูลแผนที่ระบบดิจิทัล


                                    โดย...ผศ.อุทัย สุขสิงห
Geographic Information System

           ระบบสารสนเทศใชทําอะไร ?



จัดเก็บ     จัดการ       วิเคราะห    แสดงผล
               ขอมูลทางภูมิศาสตร
Geographic Information System
• Who ?               • ใคร ?
• What ?              • ทําอะไร ?
• Where ?             • ที่ไหน ?
 • How ?              • อยางไร ?
องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                      โปรแกรม

เครื่องคอมพิวเตอร
                                       ขอมูล



    บุคลากร
                                     ขั้นตอนการทํางาน
องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
• ฮารดแวร (Hardware) คือ เครื่องมือที่เปนองคประกอบที่สามารถจับ
  ตองได
1.หนวยรับขอมูล (Input Unit) เชน
2.หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Units-CPU)



3.หนวยแสดงผล (Output Units)


4.หนวยความจําสํารอง (Secondary Storage Units)


5.หนวยติดตอสื่อสาร (Communication Units)
ซอฟทแวร (Software) คือ โปรแกรมหรือชุดคําสั่ง ที่ส่งให
                                                    ั
คอมพิวเตอรทํางานตามที่เราตองการ
1. ซอฟตแวรระบบ (System Software) หรือที่เรียกวา Operating System (OS)

2 ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Software Package)

3. ซอฟตแวรสําหรับจัดระบบฐานขอมูล

4. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)
ซอรฟแวรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

1. ชื่อซอรฟแวร Arc GIS, Arc View GIS, Arc IMS ผลิตโดยบริษัท ESRI




2. ชื่อซอรฟแวร Map Info
3. ชื่อซอรฟแวร Intergraph และ Geomedia




4. ชื่อซอรฟแวร TNTmips
บุคลากร (People ware) คือ ผูมีหนาที่จัดการใหองคประกอบทั้งหมด
ทํางานประสานกันจนไดผลลัพธออกมา
   ผูจัดการ หรือผูอํานวยการ หรือหัวหนา
     นักวิเคราะหระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (System Analysis)
         ผูจัดการฐานขอมูล
               ผูปฏิบัติงานอาวุโส   “ไมมีบุคลากร ไมมี GIS”
                  ผูทําแผนที่
                       ผูปอนขอมูล (Data Entry)
                            ผูบํารุงรักษา
                                 โปรแกรมเมอร
                                     ผูใช (Users)
ขอมูล (Data) คือ ขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น และเปนสิ่งที่เราตองปอนให
คอมพิวเตอรประมวลผลเปนผลลัพธออกมา เชน ชื่อ-สกุล ผูตอบ
แบบสอบถาม
               UTILITIES
               BUILDINGS
               TRANSPORTATION
               HYDROLOGY

               TOPOGRAPHIC                    1121                1124
               PARCEL                                200   1123
                                       1120




               REAL
               WORLD                                                     -   -
ประเภทขอมูลในระบบ GIS
            ขอมูลประกอบดวย

      1.RASTER คือ ขอมูลที่มีโครงสรางการจัดเก็บเปนตารางกริดประกอบดวย
      แนวนอนและแนวตั้งแตละชองของตารางกริด(Pixel)เปนคาตัวเลขแทนพื้นที่
      และวัตถุตาง ๆ ขอมูลที่ใชเปนภาพถายทั่วไป ภาพถายทางอากาศ และภาพถาย
      ดาวเทียม(ในการจัดเก็บจะใชพื้นที่มาก)

       2.VACTER คือ ขอมูลกราฟกที่อาศัยหลักคณิตศาสตรเปนการ
       จัดเก็บขอมูลทีละจุดหรือตําแหนง แตละตําแหนงประกอบดวย
                      ่
       พิกัด X และYพรอมขอมูลทิศทาง(เปนขอมูลที่ใชพื้นที่ในการจัดเก็บนอย)
ลักษณะขอมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial Characteristics )
   1.) Raster or grid representation คือ จุดของเซล ที่อยูในแตละชวงสี่เหลี่ยม
   (grid)
การเก็บขอมูลแบบ Raster

                   •เก็บขอมูลในรูปแบบของ
X, Y
                   ขอมูลเชิงจุด (Cell-based)
                   ในตารางกริต (GRID)
                   •แตละชองใชเก็บคาของ
                   ขอมูลเรียกวา Pixel
                   •เหมาะสําหรับการ
                   วิเคราะห ขอมูลเชิงพื้นที่
                   (Spatial Analysis)
2.) Vector representation ตัวแทนของเวกเตอรนี้อาจแสดงดวย จุด เสน หรือพื้นที่




                              Vector Format
การเก็บขอมูลแบบ Vector
X1 ,Y1

    X2 ,Y2
                                      •เก็บขอมูลในรูปแบบของ
                                      ขอมูลเชิงเสน (Vector)
         X3 ,Y3
                  X5 ,Y5              •ขอมูลแตละเสนมีตําแหนง
X4 ,Y4                                คาพิกัดของจุดตางๆ
             X6 ,Y6
                                      •เหมาะสําหรับการวิเคราะห
                                      ขอมูลเชิงเครือขาย
                                      (Network Analysis)
GIS Feature Type: Point

              POINT
                              Node
                              X3,Y3
              Node
              X2,Y2



Node
X1,Y1
GIS Feature Type: Arc หรือ Line




                   ARC




                      Vertex
                      X2,Y2

                                   Node
Node                               X3,Y3
X1,Y1         Length = 15.26
Line Feature
                                          a          b
มีระยะและทิศทางระหวางจุดเริ่มตน ไปยัง
จุดแนวทาง (Vector) และจุดสิ้นสุด    แต
ไมมีความกวาง
                                              ลําน้ําเห็นเปนแนว
                                              เสนบนแผนที่
                                              มาตราสวนใหญ
                                              เมื่อแผนที่มี
                                              มาตราสวนเล็กลง
                                              อาจเห็นความ
                                              กวางของลําน้า ํ
                                              เปนรูปหลาย
                                              เหลียม (Polygon)
                                                   ่
GIS Feature Type: Polygon


 POLYGON




 Coord. Perimeter Area
Coord. Perimeter Area
 x1,y1
x1,y1      LL     AA
 x2,y2
x2,y2
 x3,y3
x3,y3
 x4,y4
x4,y4
 xN,yN
xN,yN
Polygon Feature
                                                                          b
มีระยะและทิศทางระหวางจุดเริมตน
                            ่         จุดแนวทาง (Vector)           a                c
และจุดสิ้นสุด    ที่ประกอบกันเปนรูปหลายเหลี่ยมมีขนาดพื้นที่
(Area) และเสนรอบรูป (Perimeter)                                          d

                                                               บริเวณปาไมมี
                                                               ขนาดที่สามารถ
                                                               แสดงเปนรูปหลาย
                                                               เหลี่ยม (Polygon
                                                               Feature) ไดบน
                                                               แผนที่ระดับจังหวัด
GIS Data = Graphics + Attributes
 Feature      Examples    Graphic Data   Attribute Data

   จุด       - เสา                       - ความสูงของเสา
  Point      - หมอแปลง                  - Rating KVA
             - สวิทช                    - สถานะของสวิทช
   เสน      - ถนน                       - ประเภทของถนน
   Arc       - สายไฟ                     - ขนาดของสายไฟ

   พื้นที่ - เขตอําเภอ                   - จํานวนประชากร
 Polygon - แหลงน้ํา                     - ประเภทแหลงน้ํา
ระบบพิกดแผนที่
                              ั
ระบบพิกัด (Coordinate System) คือ ระบบที่สรางขึ้นสําหรับใชอางอิง
ในการกําหนดตําแหนงหรือบอกตําแหนงพื้นผิวโลก ที่นิยมใชกับแผนที่ในปจจุบันมี
                                                           Zone 47       Zone 48
อยูดวยกัน 2 ระบบ คือ

  1.ระบบพิกัดภูมิศาสตร (Geographic Coordinate System)
  คือระบบพิกัดที่กําหนดตําแหนงตาง ๆ บนพืนโลก ดวยวิธีการอางอิงบอก
                                           ้
  ตําแหนงเปนคาระยะเชิงมุมของละติจูด(Latitude)และลองติจูด(Longtitude)
  ตามระยะเชิงมุมที่หางจากศูนยกําเนิด(Origin)ของละติจูดและลองติจูดซึ่งจะแบงโลก
  ออกเปนซีกโลกเหนือซีกโลกใตมีคาเชิงมุม 90 องศา มีหนวยวัดเปน องศา ลิปดา และ
  ฟลิปดาแลวจะบอกซีกโลกเหนือหรือใตกํากับดวยเสมอ
ระบบพิกดแผนที่
                          ั
    2.ระบบพิกัดกริดแบบ utm ( Universal Transverse
                                           Zone 47                   Zone 48
    Mercator Co-ordinate System)
คือ ระบบตารางกริดที่ใชชวยในการกําหนดตําแหนงและใชอางอิงในการบอกตําแหนง
เปนที่นิยมในกิจการทหารเกือบทั่วโลกในปจจุบันใชทรงกระบอกตัดโลกระหวางละติจูด
84 องศาเหนือ และ 80 องศาใต ในลักษณะแกนรูปทรงกระบอกแลวทํามุมกับแกนโลก
90 องศารอบโลก แบงออกเปน 60 โซน ๆ ละ 6 องศา

                ประเทศไทยมีพื้นที่อยูระหวางละติจูด 5 องศา 30 ลิปดาเหนือ ถึง
                20 องศา 30 ลิปดาเหนือและลองติจูดประมาณ 97 องศา 30 ลิปดา
                ตะวันออก ถึง 105 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก
ตัวอยางระบบพิกัดกริดแบบ UTM
                          Zone 47   Zone 48
Zone 47   Zone 48


• Projection of Thailand




    • - Indian Datum1975 UTM zone 47 – 48 N
    • - WGS 84 UTM zone 47 – 48 N

More Related Content

Viewers also liked

Photovoltaic(pv) module and transparent solar panels
Photovoltaic(pv) module and transparent solar panelsPhotovoltaic(pv) module and transparent solar panels
Photovoltaic(pv) module and transparent solar panelspadamatikona swapnika
 
Solar energy
Solar energySolar energy
Solar energyeddie0697
 
แคปจอ1
แคปจอ1แคปจอ1
แคปจอ1creaminiie
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Chingchai Humhong
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Chingchai Humhong
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Chingchai Humhong
 
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)nuchida suwapaet
 
What is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated PhotovoltaicsWhat is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated PhotovoltaicsTeodor Galitev
 
Solar energy and PV cells
Solar energy and PV cellsSolar energy and PV cells
Solar energy and PV cellsSurbhi Agarwal
 

Viewers also liked (11)

Photovoltaic(pv) module and transparent solar panels
Photovoltaic(pv) module and transparent solar panelsPhotovoltaic(pv) module and transparent solar panels
Photovoltaic(pv) module and transparent solar panels
 
Solar energy
Solar energySolar energy
Solar energy
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
แคปจอ1
แคปจอ1แคปจอ1
แคปจอ1
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
 
What Is GIS?
What Is GIS?  What Is GIS?
What Is GIS?
 
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
 
What is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated PhotovoltaicsWhat is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
 
Solar energy and PV cells
Solar energy and PV cellsSolar energy and PV cells
Solar energy and PV cells
 

Similar to Knownledge Gis

ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602CUPress
 
Spat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat RdbmsSpat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat Rdbmsphisan_chula
 
sample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVsample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVBhuridech Sudsee
 
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 KruNistha Akkho
 

Similar to Knownledge Gis (8)

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
9789740329602
97897403296029789740329602
9789740329602
 
Spat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat RdbmsSpat Db 1 Intro Spat Rdbms
Spat Db 1 Intro Spat Rdbms
 
Gis
GisGis
Gis
 
sample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCVsample plot 3D form depth map using OpenCV
sample plot 3D form depth map using OpenCV
 
Com Vision
Com VisionCom Vision
Com Vision
 
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1 หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
หลักการเบื้องต้นการรับรู้จากระยะไกล บทที่ 1
 

Knownledge Gis

  • 2. ประโยชนของสารสนเทศภูมิศาสตร(GIS) 1.ประโยชนตอองคกรหรือหนวยงาน เชน ตําแหนงที่ตั้งของหนวย แผนผังโครงสราง เปนตน 2.ประโยชนตองานในหนาที่ความรับผิดชอบ เชน เปนพนักงาน สืบสวนก็สามารถกําหนดจุดเปาหมายบานคนรายหรือแหลงตาง ๆ ที่สําคัญ 3.ประโยชนในการดําเนินชีวิตประจําวัน เชนเสนทางการเดินทางไป ทํางาน การสงลูกไปโรงเรียน การเดินทางไปตามจุดตาง ๆ
  • 3. ทําความรูจักกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร • ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) คือ เครื่องมือสําหรับการวิเคราะหปรากฏการณเชิงพื้นที่หรือ วิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) โดยมีระบบคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือที่สําคัญที่ใชในการประมวลผล แตสิ่งที่สําคัญที่สุดใน การวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่คือ บุคลากรและขอมูลที่ถูกตองของ พื้นที่นั้น ๆ ถึงแมว าเราจะมีเครื่องคอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพ ขนาดไหนก็ไมสามารถที่จะวิเคราะหได ถาปราศจากบุคลากรและ ขอมูลที่ถูกตอง
  • 4. • พรทิพย (2531) ไดใหคําจํากัดความไววา “ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร เปนระบบโปรแกรมที่สามารถนําไปใชในการสรางและ วิเคราะหขอมูลรูปทรงสัณฐานของวัตถุทุกอยางบนพื้นผิวโลก (Spatial) เกี่ยวกับระบบแผนที่ ภาพถายทางอากาศและแผนผัง ตางๆ ของลักษณะภูมิประเทศทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และ มนุษยสรางขึ้น สิ่งเหลานี้สามารถแปลความออกมาเปนรหัส • อิเลคโทรนิค ซึ่งเรียกออกมาใชงาน แกไข และวิเคราะหขอมูลได”
  • 5. • ศูนยวิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ได ใ ห ค วามหมายของคํ า ว า "ระบบสารสนเทศภู มิ ศ าสตร ( Geographic Information System ) GIS" วา ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร หรือ Geographic Information System : GIS คือ กระบวนการทํ า งานเกี่ ย วกั บ ข อ มู ล ในเชิ ง พื้ น ที่ ด ว ยระบบ คอมพิวเตอร ที่ใชกําหนดขอมูลและสารสนเทศ ที่มีความสัมพันธ กับตําแหนงในเชิงพื้นที่
  • 6. • สารสนเทศภูมิศาสตร(Geographic Information) หมายถึง...ขอมูลวัตถุ (Object)เหตุการณหรือปรากฏการ(Phenomena)ตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ที่มี ความเกี่ยวของโดยตรงหรือโดยออมกับตําแหนงหนึ่ง ๆ ที่สัมพันธ กับพื้นผิวของโลกโดยมีชวงเวลาเปนตัวกําหนด และทําการรวบรวม ขอมูลทั้งหมดแทนดวยเครื่องหมายหรือสัญลักษณ พรอมทั้งขอมูล รายละเอียดของวัตถุแตละอยาง นํามาจัดเก็บเปนหมวดหมู เรียกวา ขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data)ซึ่งอาจเปนขอมูลในรูปแบบแผนที่ กระดาษ หรือขอมูลแผนที่ระบบดิจิทัล โดย...ผศ.อุทัย สุขสิงห
  • 7. Geographic Information System ระบบสารสนเทศใชทําอะไร ? จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห แสดงผล ขอมูลทางภูมิศาสตร
  • 8. Geographic Information System • Who ? • ใคร ? • What ? • ทําอะไร ? • Where ? • ที่ไหน ? • How ? • อยางไร ?
  • 9. องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร โปรแกรม เครื่องคอมพิวเตอร ขอมูล บุคลากร ขั้นตอนการทํางาน
  • 10. องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร • ฮารดแวร (Hardware) คือ เครื่องมือที่เปนองคประกอบที่สามารถจับ ตองได 1.หนวยรับขอมูล (Input Unit) เชน
  • 11. 2.หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Units-CPU) 3.หนวยแสดงผล (Output Units) 4.หนวยความจําสํารอง (Secondary Storage Units) 5.หนวยติดตอสื่อสาร (Communication Units)
  • 12.
  • 13. ซอฟทแวร (Software) คือ โปรแกรมหรือชุดคําสั่ง ที่ส่งให ั คอมพิวเตอรทํางานตามที่เราตองการ 1. ซอฟตแวรระบบ (System Software) หรือที่เรียกวา Operating System (OS) 2 ซอฟตแวรสําเร็จรูป (Software Package) 3. ซอฟตแวรสําหรับจัดระบบฐานขอมูล 4. ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)
  • 14. ซอรฟแวรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร 1. ชื่อซอรฟแวร Arc GIS, Arc View GIS, Arc IMS ผลิตโดยบริษัท ESRI 2. ชื่อซอรฟแวร Map Info
  • 15. 3. ชื่อซอรฟแวร Intergraph และ Geomedia 4. ชื่อซอรฟแวร TNTmips
  • 16. บุคลากร (People ware) คือ ผูมีหนาที่จัดการใหองคประกอบทั้งหมด ทํางานประสานกันจนไดผลลัพธออกมา ผูจัดการ หรือผูอํานวยการ หรือหัวหนา นักวิเคราะหระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (System Analysis) ผูจัดการฐานขอมูล ผูปฏิบัติงานอาวุโส “ไมมีบุคลากร ไมมี GIS” ผูทําแผนที่ ผูปอนขอมูล (Data Entry) ผูบํารุงรักษา โปรแกรมเมอร ผูใช (Users)
  • 17. ขอมูล (Data) คือ ขอเท็จจริงที่เกิดขึ้น และเปนสิ่งที่เราตองปอนให คอมพิวเตอรประมวลผลเปนผลลัพธออกมา เชน ชื่อ-สกุล ผูตอบ แบบสอบถาม UTILITIES BUILDINGS TRANSPORTATION HYDROLOGY TOPOGRAPHIC 1121 1124 PARCEL 200 1123 1120 REAL WORLD - -
  • 18. ประเภทขอมูลในระบบ GIS ขอมูลประกอบดวย 1.RASTER คือ ขอมูลที่มีโครงสรางการจัดเก็บเปนตารางกริดประกอบดวย แนวนอนและแนวตั้งแตละชองของตารางกริด(Pixel)เปนคาตัวเลขแทนพื้นที่ และวัตถุตาง ๆ ขอมูลที่ใชเปนภาพถายทั่วไป ภาพถายทางอากาศ และภาพถาย ดาวเทียม(ในการจัดเก็บจะใชพื้นที่มาก) 2.VACTER คือ ขอมูลกราฟกที่อาศัยหลักคณิตศาสตรเปนการ จัดเก็บขอมูลทีละจุดหรือตําแหนง แตละตําแหนงประกอบดวย ่ พิกัด X และYพรอมขอมูลทิศทาง(เปนขอมูลที่ใชพื้นที่ในการจัดเก็บนอย)
  • 19. ลักษณะขอมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial Characteristics ) 1.) Raster or grid representation คือ จุดของเซล ที่อยูในแตละชวงสี่เหลี่ยม (grid)
  • 20. การเก็บขอมูลแบบ Raster •เก็บขอมูลในรูปแบบของ X, Y ขอมูลเชิงจุด (Cell-based) ในตารางกริต (GRID) •แตละชองใชเก็บคาของ ขอมูลเรียกวา Pixel •เหมาะสําหรับการ วิเคราะห ขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis)
  • 21. 2.) Vector representation ตัวแทนของเวกเตอรนี้อาจแสดงดวย จุด เสน หรือพื้นที่ Vector Format
  • 22. การเก็บขอมูลแบบ Vector X1 ,Y1 X2 ,Y2 •เก็บขอมูลในรูปแบบของ ขอมูลเชิงเสน (Vector) X3 ,Y3 X5 ,Y5 •ขอมูลแตละเสนมีตําแหนง X4 ,Y4 คาพิกัดของจุดตางๆ X6 ,Y6 •เหมาะสําหรับการวิเคราะห ขอมูลเชิงเครือขาย (Network Analysis)
  • 23. GIS Feature Type: Point POINT Node X3,Y3 Node X2,Y2 Node X1,Y1
  • 24. GIS Feature Type: Arc หรือ Line ARC Vertex X2,Y2 Node Node X3,Y3 X1,Y1 Length = 15.26
  • 25. Line Feature a b มีระยะและทิศทางระหวางจุดเริ่มตน ไปยัง จุดแนวทาง (Vector) และจุดสิ้นสุด แต ไมมีความกวาง ลําน้ําเห็นเปนแนว เสนบนแผนที่ มาตราสวนใหญ เมื่อแผนที่มี มาตราสวนเล็กลง อาจเห็นความ กวางของลําน้า ํ เปนรูปหลาย เหลียม (Polygon) ่
  • 26. GIS Feature Type: Polygon POLYGON Coord. Perimeter Area Coord. Perimeter Area x1,y1 x1,y1 LL AA x2,y2 x2,y2 x3,y3 x3,y3 x4,y4 x4,y4 xN,yN xN,yN
  • 27. Polygon Feature b มีระยะและทิศทางระหวางจุดเริมตน ่ จุดแนวทาง (Vector) a c และจุดสิ้นสุด ที่ประกอบกันเปนรูปหลายเหลี่ยมมีขนาดพื้นที่ (Area) และเสนรอบรูป (Perimeter) d บริเวณปาไมมี ขนาดที่สามารถ แสดงเปนรูปหลาย เหลี่ยม (Polygon Feature) ไดบน แผนที่ระดับจังหวัด
  • 28. GIS Data = Graphics + Attributes Feature Examples Graphic Data Attribute Data จุด - เสา - ความสูงของเสา Point - หมอแปลง - Rating KVA - สวิทช - สถานะของสวิทช เสน - ถนน - ประเภทของถนน Arc - สายไฟ - ขนาดของสายไฟ พื้นที่ - เขตอําเภอ - จํานวนประชากร Polygon - แหลงน้ํา - ประเภทแหลงน้ํา
  • 29. ระบบพิกดแผนที่ ั ระบบพิกัด (Coordinate System) คือ ระบบที่สรางขึ้นสําหรับใชอางอิง ในการกําหนดตําแหนงหรือบอกตําแหนงพื้นผิวโลก ที่นิยมใชกับแผนที่ในปจจุบันมี Zone 47 Zone 48 อยูดวยกัน 2 ระบบ คือ 1.ระบบพิกัดภูมิศาสตร (Geographic Coordinate System) คือระบบพิกัดที่กําหนดตําแหนงตาง ๆ บนพืนโลก ดวยวิธีการอางอิงบอก ้ ตําแหนงเปนคาระยะเชิงมุมของละติจูด(Latitude)และลองติจูด(Longtitude) ตามระยะเชิงมุมที่หางจากศูนยกําเนิด(Origin)ของละติจูดและลองติจูดซึ่งจะแบงโลก ออกเปนซีกโลกเหนือซีกโลกใตมีคาเชิงมุม 90 องศา มีหนวยวัดเปน องศา ลิปดา และ ฟลิปดาแลวจะบอกซีกโลกเหนือหรือใตกํากับดวยเสมอ
  • 30. ระบบพิกดแผนที่ ั 2.ระบบพิกัดกริดแบบ utm ( Universal Transverse Zone 47 Zone 48 Mercator Co-ordinate System) คือ ระบบตารางกริดที่ใชชวยในการกําหนดตําแหนงและใชอางอิงในการบอกตําแหนง เปนที่นิยมในกิจการทหารเกือบทั่วโลกในปจจุบันใชทรงกระบอกตัดโลกระหวางละติจูด 84 องศาเหนือ และ 80 องศาใต ในลักษณะแกนรูปทรงกระบอกแลวทํามุมกับแกนโลก 90 องศารอบโลก แบงออกเปน 60 โซน ๆ ละ 6 องศา ประเทศไทยมีพื้นที่อยูระหวางละติจูด 5 องศา 30 ลิปดาเหนือ ถึง 20 องศา 30 ลิปดาเหนือและลองติจูดประมาณ 97 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก ถึง 105 องศา 30 ลิปดา ตะวันออก
  • 32. Zone 47 Zone 48 • Projection of Thailand • - Indian Datum1975 UTM zone 47 – 48 N • - WGS 84 UTM zone 47 – 48 N