SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Application Layer …
เสนอ
คุณครู ชญานิตย์ ภาสว่าง
จัดทาโดย
นางสาว นิภากร เพ็ชรชะ
นางสาว อริสา เสาะเห็ม
นางสาว ปภัสศร เสียงอ่อน
นางสาว วรรณนิภา แพงศรี
นางสาว สุภาวรรณ สุปัดคา
Application Layer หรือ Process
Layer เป็นลาดับชั้นการทางานของโปรโตคอล TCP/IP
ตามมาตฐาน DoD - Reference Model ซึ่งเมื่อนามา
เทียบกับมาตรฐานของ OSI - Reference Model นั้น ใน
ชั้นบนสุดที่เรียกว่า Process Layer ของ DoD - Model
จะทางาน 2 หน้าที่เทียบได้กับ Application Layer และ
Presentation Layer ของ OSI - Reference
Model
Application Layer …
ในชั้นนี้จะรองรับการทางานของ Application
ต่างๆ อย่างเช่น เมื่อมีเครื่อง Client ขอใช้บริการเพื่อจะ
ติดต่อขอ Download File ผ่านทาง Internet โดยอาจจะ
เรียกใช้โปรแกรม FTP Client ทั่วไป อย่างเช่นโปรแกรม
WS_ftp เพื่อติดต่อกับโปรเซส FTP ที่กาลังให้บริการอยู่ที่เครื่อง
Server จากนั้นตัวโปรเซส FTP ก็จะเรียกใช้โปรโตคอล FTP
( File Transfer Protocol ) เพื่อทาการโอนถ่ายไฟล์นี้ไป
ให้เครื่อง Client เป็นต้น
การเชื่อมต่อโปรโตคอลชั้น Application
หรือถ้าผู้ใช้ต้องการเรียกใช้งานคอมพิวเตอร์ จากเครื่องที่
อยู่ห่างไกลออกไป ด้วยการใช้โปรแกรม Telnet ที่เครื่อง Server
ให้บริการ ตัวโปรเซส Telnet ที่ทางานอยู่ ก็จะเรียกใช้โปรโตคอล
Telnet เพื่อติดต่อกัน หรือกรณีที่มีการเรียกใช้โปรแกรม Web
Browser เช่น Internet Explorer เพื่อเรียกดูเว็บเพจใน
เว็บไซต์ ของ NASA ที่เครื่องให้บริการเว็บของ NASA ก็จะมี
โปรเซส HTTP (HyperText Transfer Protocol )
ทางานอยู่และจะติดต่อกับผู้ใช้ผ่านโปรโตคอล HTTP เป็นต้น
การทางานของ Application ต่าง ๆ จะอยู่ที่
Process Layer นี้และมีการติดต่อกัน ตามแต่ละโปรโตคอล
เฉพาะแล้วแต่ Application ที่ใช้งาน จากการที่ Process
Layer ของ TCP/IP รองรับให้โปรโตคอลอื่นทางานได้หลายโปรเซส
และหลายโปรโตคอล ได้พร้อมกันนั้น ทาให้ผู้ใช้สามารถเปิดโปรแกรมใช้
งานได้หลาย ๆ อย่าง พร้อมกัน เช่น เปิดโปรแกรม Internet
Explorer เพื่อเรียกดูเวบเพจ พร้อมกับใช้งานโปรแกรม Outlook
Express เพื่อรับส่ง E-Mail ไปพร้อม ๆ กัน ได้โดยไม่ต้องรอให้
ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเสร็จไปก่อน หรือในปัจจุบันมีการพัฒนาโปรแกรม
Web Browser ให้สามารถเรียกใช้งานโปรโตคอลอื่น ๆ ได้มากขึ้น
ทาให้เราสามารถใช้โปรแกรม Web Browser โอนถ่ายไฟล์ข้อมูลที่
ใช้โปรโตคอล FTP ได้โดยไม่ต้องไปหาโปรแกรมอื่น ๆ มาใช้เพิ่มเติมอีก
โปรโตคอล ที่ทำงำนและให้บริกำรก็มี อย่ำงเช่น
 HTTP ( HyperText Transfer Protocol )
 FTP ( File Transfer Protocol )
 Electronic Mail
 Protocol DNS( Domain Name System)
 Protocol UDP
HTTP ( HyperText Transfer
Protocol )
HTTP ใช้ในการติดต่อรับส่งข้อมูลชนิดไฮเปอร์เท็กซ์
(Hypertext) ระหว่างเครื่องลูกข่ายกับ WWW Server
(World Wide Web) โดยที่เอกสารนี้จะอยู่ในรูปแบบที่เขียนใน
ภาษา HTML (HyperText Markup Language)
เอกสารแต่ละชิ้น จะสามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารชิ้นอื่นได้ ซึ่งเอกสารที่
ถูกเชื่อมโยงนี้อาจจะอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกัน หรือต่าง
เครื่องกันก็ได้
FTP ( File Transfer Protocol )
FTP ใช้ในการรับ-ส่งแฟ้ มข้อมูลระหว่างเครื่อง
ลูกข่ายและเครื่อง Server โดยที่เครื่องServer จะต้องมี
โปรแกรมให้บริการ FTP (FTP Server) ติดตั้งและ
ทางานอยู่ เพื่อให้เครื่องลูกข่ายที่รันโปรแกรม FTP Client
สามารถเข้ามาขอใช้บริการได้
Electronic Mail
ไปรษณีอิเล้กทรอนิกส์ นิยมเรียกสั้นว่าอีเมล์ ช่วยให้ผู้ใช้ส่ง
และรับข้อความข้ามเคือข่ายกันได้
Protocol DNS( Domain Name
System)
ที่ทาหน้าที่แปลงข้อมูลชื่อ Domain Name หรือ ชื่อ
เว็บไซท์ ทั้งหลายให้เป็นหมายเลย IP Address
Protocol UDP
ทาหน้าที่นาส่งข้อมูลจากโปรโตคอลประยุกต์ไปยัง
ไอพี ข้อมูลรวบรวมยูดีพีเฮดเดอร์เรียกว่า ยูดีพีดำทำแก
รม หรือ ยูสเซอร์ดำทำแกรม
แหล่งอ้างอิง
 http://ced.kmutnb.ac.th/wws/network/c
hapter/c2.html
 http://ispying.blogspot.com/2013/11/os
i-7-layer.html
 https://sites.google.com/site/wepsitphe
uxkars/hnwy-kar-reiyn-ru-thi-4/4-1-osi-
model-khux-xari

More Related Content

Similar to Application layer (2)

แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง OsiPituk Sense
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง OsiPituk Sense
 
Charpter 5 2
Charpter 5 2Charpter 5 2
Charpter 5 2monnoonan
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)Khon Kaen University
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)Khon Kaen University
 

Similar to Application layer (2) (7)

แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osi
 
แบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osiแบบอ้างอิง Osi
แบบอ้างอิง Osi
 
Charpter 5 2
Charpter 5 2Charpter 5 2
Charpter 5 2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
 
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5(4.2)
 
Ftp
FtpFtp
Ftp
 

Application layer (2)

  • 2. เสนอ คุณครู ชญานิตย์ ภาสว่าง จัดทาโดย นางสาว นิภากร เพ็ชรชะ นางสาว อริสา เสาะเห็ม นางสาว ปภัสศร เสียงอ่อน นางสาว วรรณนิภา แพงศรี นางสาว สุภาวรรณ สุปัดคา
  • 3. Application Layer หรือ Process Layer เป็นลาดับชั้นการทางานของโปรโตคอล TCP/IP ตามมาตฐาน DoD - Reference Model ซึ่งเมื่อนามา เทียบกับมาตรฐานของ OSI - Reference Model นั้น ใน ชั้นบนสุดที่เรียกว่า Process Layer ของ DoD - Model จะทางาน 2 หน้าที่เทียบได้กับ Application Layer และ Presentation Layer ของ OSI - Reference Model Application Layer …
  • 4. ในชั้นนี้จะรองรับการทางานของ Application ต่างๆ อย่างเช่น เมื่อมีเครื่อง Client ขอใช้บริการเพื่อจะ ติดต่อขอ Download File ผ่านทาง Internet โดยอาจจะ เรียกใช้โปรแกรม FTP Client ทั่วไป อย่างเช่นโปรแกรม WS_ftp เพื่อติดต่อกับโปรเซส FTP ที่กาลังให้บริการอยู่ที่เครื่อง Server จากนั้นตัวโปรเซส FTP ก็จะเรียกใช้โปรโตคอล FTP ( File Transfer Protocol ) เพื่อทาการโอนถ่ายไฟล์นี้ไป ให้เครื่อง Client เป็นต้น
  • 6. หรือถ้าผู้ใช้ต้องการเรียกใช้งานคอมพิวเตอร์ จากเครื่องที่ อยู่ห่างไกลออกไป ด้วยการใช้โปรแกรม Telnet ที่เครื่อง Server ให้บริการ ตัวโปรเซส Telnet ที่ทางานอยู่ ก็จะเรียกใช้โปรโตคอล Telnet เพื่อติดต่อกัน หรือกรณีที่มีการเรียกใช้โปรแกรม Web Browser เช่น Internet Explorer เพื่อเรียกดูเว็บเพจใน เว็บไซต์ ของ NASA ที่เครื่องให้บริการเว็บของ NASA ก็จะมี โปรเซส HTTP (HyperText Transfer Protocol ) ทางานอยู่และจะติดต่อกับผู้ใช้ผ่านโปรโตคอล HTTP เป็นต้น
  • 7. การทางานของ Application ต่าง ๆ จะอยู่ที่ Process Layer นี้และมีการติดต่อกัน ตามแต่ละโปรโตคอล เฉพาะแล้วแต่ Application ที่ใช้งาน จากการที่ Process Layer ของ TCP/IP รองรับให้โปรโตคอลอื่นทางานได้หลายโปรเซส และหลายโปรโตคอล ได้พร้อมกันนั้น ทาให้ผู้ใช้สามารถเปิดโปรแกรมใช้ งานได้หลาย ๆ อย่าง พร้อมกัน เช่น เปิดโปรแกรม Internet Explorer เพื่อเรียกดูเวบเพจ พร้อมกับใช้งานโปรแกรม Outlook Express เพื่อรับส่ง E-Mail ไปพร้อม ๆ กัน ได้โดยไม่ต้องรอให้ ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเสร็จไปก่อน หรือในปัจจุบันมีการพัฒนาโปรแกรม Web Browser ให้สามารถเรียกใช้งานโปรโตคอลอื่น ๆ ได้มากขึ้น ทาให้เราสามารถใช้โปรแกรม Web Browser โอนถ่ายไฟล์ข้อมูลที่ ใช้โปรโตคอล FTP ได้โดยไม่ต้องไปหาโปรแกรมอื่น ๆ มาใช้เพิ่มเติมอีก
  • 8. โปรโตคอล ที่ทำงำนและให้บริกำรก็มี อย่ำงเช่น  HTTP ( HyperText Transfer Protocol )  FTP ( File Transfer Protocol )  Electronic Mail  Protocol DNS( Domain Name System)  Protocol UDP
  • 9. HTTP ( HyperText Transfer Protocol ) HTTP ใช้ในการติดต่อรับส่งข้อมูลชนิดไฮเปอร์เท็กซ์ (Hypertext) ระหว่างเครื่องลูกข่ายกับ WWW Server (World Wide Web) โดยที่เอกสารนี้จะอยู่ในรูปแบบที่เขียนใน ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เอกสารแต่ละชิ้น จะสามารถเชื่อมโยงไปยังเอกสารชิ้นอื่นได้ ซึ่งเอกสารที่ ถูกเชื่อมโยงนี้อาจจะอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกัน หรือต่าง เครื่องกันก็ได้
  • 10. FTP ( File Transfer Protocol ) FTP ใช้ในการรับ-ส่งแฟ้ มข้อมูลระหว่างเครื่อง ลูกข่ายและเครื่อง Server โดยที่เครื่องServer จะต้องมี โปรแกรมให้บริการ FTP (FTP Server) ติดตั้งและ ทางานอยู่ เพื่อให้เครื่องลูกข่ายที่รันโปรแกรม FTP Client สามารถเข้ามาขอใช้บริการได้
  • 11. Electronic Mail ไปรษณีอิเล้กทรอนิกส์ นิยมเรียกสั้นว่าอีเมล์ ช่วยให้ผู้ใช้ส่ง และรับข้อความข้ามเคือข่ายกันได้
  • 12. Protocol DNS( Domain Name System) ที่ทาหน้าที่แปลงข้อมูลชื่อ Domain Name หรือ ชื่อ เว็บไซท์ ทั้งหลายให้เป็นหมายเลย IP Address