SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ใ นบางกอก
การนำา
         เสนอ
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ใ นบางกอก




โดย : ด .ช .ณัช พล   แช่ม จัน ทร์   ม .3/3
    เลขที่ 3
    ด .ช .พชรพล เทพาอภิร ัก ษ์ ม .3/3
    เลขที่ 10
    ด .ช .ศุภ ชัย    ทองศิร ิ   ม .3/3
    เลขที่ 17
    นายนิธ ิน ัน ท์ บุน นาค    ม .3/3
ความหมายของ
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ค ือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำาไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม

                      พิพ ธ ภัณ ฑ์
                          ิ
สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อ
การพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน
โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษา
และจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง
สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์นำ้า และสถานที่อันจัดเป็น
เขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์
และท้องฟ้าจำาลอง

จะเห็นได้ว่า คำาจำากัดความของพิพิธภัณฑ์นั้นกว้างมาก ครอบคลุมทั้งด้าน
วัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ที่เกียวข้องกับมนุษย์และธรรมชาติ สามรถจัดแบ่งได้
                             ่
หลายแบบ หลายประเภท เช่น
• แบ่งตามการสะสมรวบรวมวัตถุ ( Collection)
• แบ่งตามต้นสังกัดหรือการบริหาร เช่น พิพิธภัณฑ์ของรัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย
• แบ่งตามลักษณะของผู้เข้าชมหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น นักเรียน นักศึกษา หรือ
บุคคลทั่วไป
• แบ่งตามการจัดแสดง เช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์แหล่งโบราณคดี
ประวัติศาสตร์ ฯลฯ
ประเภทของพิพ ธ ภัณ ฑ์
                           ิ

  พิพิธภัณฑ์ มีทั้งหมด 16 ประเภท
1.พิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ และ โบราณคดี 15.พิพิธภัณฑ์เศรษฐกิจ
2.พิพิธภัณฑ์ การศึกษา                16.พิพิธภัณฑ์ มานุษยวิทยา
3.พิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติวิทยา
4.พิพิธภัณฑ์ สื่อสารและคมนาคม
5.พิพิธภัณฑ์ ทหาร
6.พิพิธภัณฑ์ กฎหมายและราชทัณฑ์
7.พิพิธภัณฑ์ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
8.พิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์
9.พิพิธภัณฑ์ บุคคล
10.พิพิธภัณฑ์ การเกษตร
11.พิพิธภัณฑ์ การแพทย์และสาธารณสุข
12.พิพิธภัณฑ์ พุทธศาสนา
13.พิพิธพัณฑ์ ศิลปะ
14.พิพิธภัณฑ์ ผ้าไทย
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ป ระวัต ศ าสตร์ และ ิ
 พิพิธภัณฑสถาน หรือ พิพิธโบราณคดี น ที่จัดตั้งขึนเพื่อเก็บ
                         ภัณฑ์ เป็นอาคารหรือสถาบั ้
   รักษาวัตถุที่มนุษย์ทำาขึน ทั้งในรูปแบบของโบราณวัตถุ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ
                           ้
   ประวัติศาสตร์ โดยมีจัดแสดงให้ผู้คนสามารถเข้าชมได้ถาวร หรือจัดแสดง
ชั่วคราว พิพิธภัณฑสถานมักจะให้บริการแก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการ
 ศึกษา สันทนาการ แสดงความภูมิใจของท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยว โดยมีผู้
                    ดูแลพิพิธภัณฑสถาน เรียกว่า ภัณฑารักษ์
ปัจจุบันแนวคิดของพิพิธภัณฑสถาน ยังมีความหลากหลายเพิ่มมากขึน จากแค่
                                                                ้
    เป็นการเก็บรักษาและจัดแสดง เป็นการให้ประสบการณ์ และมีการโต้ตอบ
 ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์สัตว์นำ้า
หรือ พิพิธภัณฑ์มีชีวิต โดยมีการจัดเก็บสิ่งของประเภทต่างๆจำานวนมากและจัด
แสดงในพิพิธภัณฑสถาน โดยทั้งแบบถาวรและชั่วคราว เพื่อการหมุนเวียนงาน
                             แสดงได้อย่างหลากหลาย
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ารศึก ษา

         พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดสำาโรง ตั้งอยูในวัดสำาโรง ตำาบลวัดสำาโรง เริ่ม
                                             ่
ดำาเนินการโดยพระครูสิริ ปุญญาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดสำาโรง เมื่อปี พ.ศ. 2542
โดยเจ้าอาวาสและชาวบ้านได้ร่วมกันบริจาคอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้พื้นบ้าน
ครื่องมือจับสัตว์นำ้า สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านของไทยในอดีต ห้อง
พิพิธภัณฑ์อยูชั้นล่างของ ศาลาอเนกประสงค์
               ่
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ธ รรมชาติว ิท ยา
พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ ฟอสซิลไดโนเสาร์ชิ้นแรกของไทยพบที่อำาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น
ในปี 2519 โดยนายสุธรรม แย้มนิยม อดีตนักธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี ขณะ
สำารวจแร่ยูเรเนียม ในหมวดหินเสาขัว ทีอุทยานแห่งชาติภูเวียง บริเวณห้วยประตูตีหมา
                                        ่
กระดูกชิ้นนี้มความกว้างยาวประมาณ 1 ฟุต จากการเปรียบเทียบพบว่ามีลักษณะใกล้เคียง
                ี
กับไดโนเสาร์ซอโรพอด ซึงมีขนาดใหญ่ยาวประมาณ 15 เมตร และจากการตรวจสอบพบ
                             ่
ว่าเป็นส่วนปลายล่างสุดของกระดูกต้นขาของไดโนเสาร์จำาพวกกินพืช การสำารวจไดโนเสาร์
ที่ภเวียงได้เริ่มต้นอย่างจริงจังในปี 2524 โดยนายเชิงชาย ไกรคง นักธรณีวิทยาจากกรม
    ู
ทรัพยากรธรณี ได้พาคณะสำารวจโบราณชีววิทยาไทย และฝรั่งเศสขึ้นไปสำารวจกระดูก
ไดโนเสาร์บริเวณยอดห้วยประตูตีหมา อำาเภอภูเวียงคณะสำารวจพบกระดูกไดโนเสาร์ชนิด
กินพืชขนาดใหญ่ รวมทั้งฟันจระเข้ กระดองเต่า ฟันและเกล็ดปลาโบราณ และจากการ
สำารวจในเวลาต่อมาได้พบกระดูกไดโนเสาร์อีกหลายชนิด ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์
ไดโนเสาร์ภูเวียงจัดตั้งขึน โดยความร่วมมือของกรมทรัพยากรธรณี การท่องเที่ยวแห่ง
                          ้
ประเทศไทย และจังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการ สำาหรับ
ให้การศึกษาแก่เยาวชน และเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่น
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ส ื่อ สารและคมนาคม
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ต ราไปรษณีย ์ย ากร เป็นสถานที่รวบรวมหลักฐานด้านกิจการ
ไปรษณียยากรของไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางของนักสะสมและผู้สนใจในการเข้าชม
          ์
ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ทั้งจากตราไปรษณีย์ยากรของไทยและต่างประเทศ สิ่ง
แสดงหลากหลาย อาทิ ตราไปรษณียยากรขุดแรกของไทย ตราไปรษณียยากร
                                    ์                            ์
ทองคำา ตราไปรษณีย์ยากรที่ลำ้าค่ายิ่งของเมืองไทย ภาพต้นแบบตราไปรษณีย์ยา
กรชุดประวัติศาสตร์ ภาพประดิษฐ์จากตราไปรษณีย์ยากรใช้แล้วนับพันดวง ภาพ
ขั้นตอนและวิธีการพิมพ์ตราไปรษณีย์ยากรของไทย ตราไปรษณียยากรจากต่าง
                                                           ์
ประเทศ ฯลฯ จะทำาให้ท่านได้ตระหนักในคุณค่าของกระดาษแผ่นน้อย ๆ ที่เรียก
ขานกันทั่วไปว่า "แสตมป์" หรือ "ตราไปรษณีย์ยากร
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ท หาร
พิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณ ปืนใหญ่ได้รับฉายาว่าเป็น “ราชาแห่งสนามรบ” เนื่องจากมี
ประสิทธิภาพในการทำาลายล้างสูงและยิงได้ระยะไกล ใช้บุกโจมตีศัตรูในยามศึกสงคราม
ตลอดจนป้องกันพระนครในยามสงบโดยนำามาวางไว้ตามเชิงเทินบนป้อมปราการ สำาหรับ
ประเทศไทยคาดว่ามีปืนใหญ่ใช้มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยตอนปลายหรืออยุธยาตอนต้น กระบอก
ที่เก่าที่สุดปัจจุบันจัดแสดงอยู่ทพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร
                                 ี่
จุดทีน่าสนใจคือชื่อของปืนหลายกระบอกแสดงถึงชนชาติต่างๆที่มความสัมพันธ์ทางทหาร
       ่                                                      ี
กับไทย เช่นชื่อ ขอมดำาดิน ไทใหญ่เล่นหน้า ยวนง่าง้าว ฝรั่งร้ายปืนแม่น จีนสาวไส้
มักกะสันแหกค่าย และมุงิดทะลวงฟัน เป็นต้น นอกจากปืนใหญ่แล้ว ยังมีรูปปั้นพญาคชสีห์
สัญลักษณ์ของกระทรวงกลาโหมยืนสง่าอยูสองข้าง คชสีห์เป็นสัตว์หมพานต์ ลำาตัวเป็น
                                           ่                    ิ
ราชสีห์ส่วนหัวเป็นช้าง เป็นตราประจำาตำาแหน่งของสมุหกลาโหมตั้งแต่สมัยอยุธยา
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ฎหมาย และ ราชทัณ ฑ์
พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ เริ่มจัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อประมาณ พ.ศ. 2482 พ.อ.ขุน
ศรีศรากร (ชลอ
ศรีศรากร) ดำารงตำาแหน่งอธิบดีกรมราชทัณฑ์ได้รวบรวมวัตถุเกี่ยวกับการลงโทษ
และวัตถุโบราณที่พบ
ภายในบริเวณเรือนจำาต่างๆ ทั่วประเทศ จัดแสดง ณ เรือนจำากลางบางขวาง เมื่อมี
การจัดตั้งศูนย์ฝกอบรม
                ึ
ข้าราชการราชทัณฑ์ บริเวณตรงข้ามเรือนจำากลางบางขวาง จึงได้ขนย้ายวัตถุ
สิ่งของดังกล่าวมาจัดแสดง ณ อาคารศูนย์ฝกอบรมข้าราชการราชทัณฑ์ ในนาม
                                             ี
พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ โดยมีพิธีเปิดเป็นทางการพร้อมกับอาคารศูนย์ฝึกอบรม
ข้าราชการราชทัณฑ์ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2515 ต่อมา คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อ
วันที่ 27 มกราคม 2530 ปรับปรุงบริเวณที่ตั้งของเรือนจำาพิเศษกรุงเทพมหานคร
ให้กรุงเทพมหานคร จัดสร้างสวนสาธารณะน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิ
ริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่ทรงมีพระชนม์มายุครบ 60 พรรษา
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ภ ูม ิป ัญ ญาพื้น บ้า น
 พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภายในพิพิธภัณฑ์ จัดแสดงข้าวของหลากหลาย
อาทิ เงินตรา พระเครื่อง ปั๊บสา ภาพเก่า เครื่องเขิน เครื่องจักรสาน ใช้ทองเหลือง
อาวุธโบราณ ของเครื่องเล่นเด็ก ตะเกียง เครื่องมือชั่งตวงวัด อุปกรณ์ทำานา ทอผ้า
เครื่ เปองมือช่างไม้ เครื่องดนตรีพื้นเมือง ฯลฯ นอกจากนี้ยงมีของหาชมยาก เช่น
                                                             ั
เรือขุดจากไม้สักทั้งต้น กว้างเกือบ ๑ เมตร ยาวกว่า ๔ เมตร ซึ่งเจ้าสิงห์ไชย ณ
ลำาพูน บริจาคให้ นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือดักจับสัตว์นำ้า ซึ่งเป็นวิถีของคนแม่ทาที่
อาศัยและหากินอยูริมสองฝั่งนำ้าแม่ทา ซึ่งปัจจุบันเครื่องมือเหล่านี้แทบจะไม่หลง
                   ่
เหลือให้ดูอีกแล้ว
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ว ิท ยาศาสตร์
 พิพิธภัณฑ์วิทยาสาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2533คณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์
วิทยาศาสตร์ ขั้นโดยให้กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม พัฒนา
โครงการ และรับผิดชอบงาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2534ได้รับอนุมัติให้จัดโครงการ
จัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ พระชนมพรรษา 5 รอบ กำาหนดกรอบงบประมาณโครงการ
650 ล้านบาท และเริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในปี พ.ศ. 2537
กระทั่งในปี พ.ศ. 2538 ได้มีพระราชกำาหนดจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์
วิทยาศาสตร์ (อพวช.) ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ.
2538 โดยพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 8 มิ
ถุนายนพ.ศ. 2543
พิพ ิธ ภัณ ฑ์บ ุค คล
"พิพ ิธ ภัณ ฑ์ห ุ่น ขีผ ึ้ง ไทย "ได้ก่อกำาเนิดเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจของศิลปินกลุ่ม
                      ้
หนึ่ง นำาโดยอาจารย์ด วงแก้ว พิท ยากรศิล ป์ คิดจะสร้างหุ่นขี้ผึ้งไทยตามแบบ
หุ่นขี้ผึ้งของมาดามทรูโ ซ ในอังกฤษ แต่พอได้ลองปั้นแล้วมีเกิดปัญหาหลายๆ
อย่าง คือ ประเทศไทยเราเราเป็นเมืองร้อน และมีฝุ่นละอองมาก แถมยังมีความชื้น
สูง ปัญหาต่างๆเหล่านี้มันส่งผลต่อการคงรูปของหุ่นขีผึ้ง ดังนั้น อ.ดวงแก้ว และ
                                                           ้
คณะ จึงได้คิดพลิกแพลงทดลองนำาวัสดุหลายๆอย่างมาใช้แทน ที่สุดก็ทำาให้รู้ว่า
การใช้ไ ฟเบอร์ก ลาส..สามาถแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับตัวหุ่นขี้ผงได้ เพราะไฟ
                                                                     ึ้
เบอร์กลาสมีคุณสมบัติพิเศษที่คงทน ให้ความรู้สึกนุ่มนสล สวยงาม จึงได้สร้างหุ่นขี้
ผึ้งไฟเบอร์กลาสของ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ดฉิมพลี ขึนเป็นรูปแรก ต่อมาได้จัด
                                                         ้
สร้างหุ่นขึนอีกหลายๆชุด กระทั่งเมื่อปีพ.ศ. 2533 จึงเปิดให้ชมกันอย่างเป็น
             ้
ทางการ
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ารเกษตร
พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก่อตั้ง
ขึ้นในปีพ.ศ. 2507 ในสมัยที่ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ ดำารงตำาแหน่งคณบดีคณะ
ประมง โดยได้รับการสนับสนุนจากศาสตราจารย์อินทรี จันทรสถิตย์ อธิการบดี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในสมัยนั้น ตามโครงการสัญญาความร่วมมือระหว่าง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยฮาไวอิ ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อ
วัตถุประสงค์ในการค้นคว้าและการจัดแสดง เป็นแหล่งให้ความรู้ต่อประชาชน การ
เรียนการสอนของนิสิต ตลอดจนการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์การประมง แต่เดิม
พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ตั้งอยูที่ตึกพลเทพ ( กรมประมงในปัจจุบัน ) โดยใช้ชื่อ "
                         ่
พิพิธภัณฑ์คณะประมง " (Kasetsart University Museum of Fisheries) ต่อ
มาเพื่อความเหมาะสมจึงได้มีการเปลี่ยนชื่อไทยเป็น " พิพิธภัณฑ์สัตว์นำ้าและเครื่อง
มือประมง " และได้ย้ายจากตึกพลเทพไปยังตึกภาควิชาชีววิทยาประมง ( คณะ
มนุษยศาสตร์ในปัจจุบัน ) และในเวลาต่อมาจึงย้ายมายังอาคารโชติ สุวัตถิ พร้อม
ทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น " พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ " หรือ " Kasetsart University Museum of Fisheries
(Natural History) " จนกระทั่งถึงปัจจุบัน
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ารแพทย์ และ
                    สาธารณสุข
พิพิธภัณฑ์การแพทย์ศิริราช พิพิธภัณฑ์ภายในโรงพยาบาลศิริราชเริ่มมาจากการ
เก็บและ จัดแสดงสิ่งของของแต่ละภาควิชา โดยในปีพ .ศ. 2525 มี พิพิธภัณฑ์ที่
เปิดรวม 13 แห่งเมื่อระยะเวลาผ่านไปพิพิธภัณฑ์ คงเหลือเพียง 6 แห่งที่สามารถ
เปิดให้ประชาชนทั่วไปได้มี โอกาสเข้าเยี่ยมชม คือ พิพิธภัณฑ์พยาธิวิทยาเอลลิส
พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์ สงกรานต์ นิยมเสน พิพิธภัณฑ์ ประวัติการแพทย์ไทย
อวย เกตุสิงห์ พิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยา พิพิธภัณฑ์กายวิภาคศาสตร์คองดอน และ
พิพิธภัณฑ์กอน ประวัติศาสตร์และห้องปฏิบัติการ สุด แสงวิเชียรเมื่อคณะ
              ่
แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลได้รับมอบพื้นที่บางส่วนของสถานีรถไฟธนบุรีจำานวน
33 ไร่ จาก การรถไฟแห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26
พฤษภาคม พ.ศ. 2546 นั้นคณะฯเล็งเห็นว่า เพื่อให้วงการแพทย์และสาธารณสุข
ของประเทศมีการพัฒนาทั้งด้านวิชาการการวิจัย การศึกษา และการบริการ ชั้น
เลิศ คณะฯ จึงเสนอโครงการพัฒนาศิริราชสู่สถาบันการแพทย์ชั้นเลิศในเอเชีย
อาคเนย์ต่อรัฐบาล จึงได้ วางแผนการดำาเนินงาน เพื่อมุ่งสู่สถาบันทางการแพทย์
ชั้นเลิศฯ ซึ่งประกอบด้วยโครงการย่อย 7 โครงการ พิพิธภัณฑ์เป็นหนึ่งใน
โครงการย่อยเหล่านั้น
พิพ ิธ ภัณ ฑ์พ ุท ธศาสนา
พิพิธภัณฑ์วัดมหาชัย ก่อตั้งขึนเมื่อปี พ.ศ.๒๔๐๘ โดยพระเจริญราชเดช (กวด) เจ้า
                              ้
เมืองมหาสารคามคนแรก ตั้งแต่ในทศวรรษ ๒๕๐๐ ครั้งที่พระอริยานุวัตร เขมจารี
(๒๔๔๘ - ๒๕๓๔) เป็นเจ้าอาวาสลำาดับที่ ๑๙ ได้เริ่มมีการรวบรวมโบราณวัตถุ
ต่างๆ มาเก็บรักษาไว้ที่วัด ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๙ จึงก่อตั้งเป็นศูนย์วัฒนธรรมท้อง
ถิ่นขึ้นก่อน และกลายเป็นพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทางวัดมหาชัยยังมีโบราณวัตถุจัดเก็บอยู่ในอาคารชั่วคราวอีกสองหลัง หลังหนึ่ง
ใช้เก็บเครื่องไม้แกะสลักของอีสานโบราณ เช่น ธรรมาสน์ บานประตู หน้าต่าง
ส่วนอีกหลังหนึ่ง เก็บโบราณวัตถุที่เป็นหิน เช่น ใบเสมา ฐานรูปเคารพ และศิวลึงค์
ส่วนบรรดาใบเสมาที่ไม่มีภาพสลัก หรือชิ้นส่วนฐาน เสาที่เป็นหินสลักขนาดใหญ่ก็
จะนำาไปจัดวางไว้ทั่วไปในบริเวณวัดโดยรอบ
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ศ ิล ปะ
พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วัดขนอน มีส่วนสำาคัญยิงต่อการอนุรักษ์หนังใหญ่ ทั้งในอดีต
                                               ่
และปัจจุบัน ทางวัดได้ร่วมกับภาครัฐและเอกชน ในการนำาหนังใหญ่วัดขนอนไป
แสดงเผยแพร่ยังที่ต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศมาแล้วหลายครั้ง ในปี
พ.ศ.2532 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปถัมภกมรดก
ไทยทรงเห็นคุณค่าในการแสดง และศิลปะหนัง ใหญ่ทรงมีพระราชดำาริให้ทางวัด
ช่วยอนุรักษ์หนังใหญ่ทั้ง 313 ตัว และจัดทำาหนังใหญ่ชุดใหม่ขึ้น แสดงแทน โดย
มีมหาวิทยาลัยศิลปากรรับผิดชอบงานช่างจัดทำาหนังใหญ่ทั้งหมด ได้นำาหนังใหญ่
ชุดใหม่ที่สร้างนี้ ทูลเกล้าถวาย เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2538 ณ โรงละครแห่ง
ชาติ และทรงพระราชทานให้ทางวัดขนอน นำามาใช้ ในการแสดงต่อไป ปัจจุบัน
ทางวัดได้จัดพิพิธภัณฑ์สถานแสดงนิทรรศการหนังใหญ่ เปิดให้ประชาชนและผู้
สนใจ เข้าร่วมชมศึกษา พร้อมทั้งการสาธิตการแสดงหนังใหญ่ ตลอดจนการฝึก
เยาวชนให้เรียนรู้และสืบทอดศิลป วัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ครบทุกกระบวนการ
เพื่อสนองโครงการตามพระราชดำาริในสมเด็จ พระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี สืบต่อไป
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ผ ้า ไทย
สาธรพิพิธภัณฑ์ผ้าทองคำา ตั้งอยูที่บ้านหาดเสี้ยว ตำาบลหาดเสี้ยว บริเวณเดียวกับ
                                   ่
ร้านสาธรศูนย์จำาหน่ายผ้าทอพื้นเมืองสุโขทัย คุณสาธร โสรัจประสพสันติ เจ้าของ
ร้านสาธรเป็นผูริเริ่มจัดตั้งพิพิธภัณฑ์แสดงเรื่องราวผ้าทอมือลายโบราณ และผ้าที่มี
               ้
ความวิจิตรงดงามที่เก็บสะสมด้วยใจรัก ด้วยความผูกพัน มาเป็น พิพิธภัณฑ์ผ้า
ทองคำาบ้านหาดเสี้ยว การสะสมผ้าเก่าที่มีอายุเกิน 100 ปี ผ้าตีนจกลวดลายต่างๆ 
ผ้าคลุมหัวช้างลวดลายโบราณ ผ้าขิด ผ้าขาวม้า 
ผ้าเช็ดหน้า ฯลฯ เป็นเสมือนหนึ่ง การเก็บบันทึกประวัติศาสตร์เรื่องราวของผ้าทอ
มือลายโบราณ เป็นการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมที่มีความวิจิตร งดงามเหล่านี้
ให้คงอยูคู่แผ่นดินไทย และยังเป็นพิพิธภัณฑ์ทางปัญญาสำาหรับผู้สนใจใฝ่เรียนรู้
          ่
เรื่องผ้าทอมือของไทยได้เป็นอย่างดี
พิพ ิธ ภัณ ฑ์เ ศรษฐกิจ
พิพ ิธ ภัณ ฑ์แ รงงานไทย ตั้งอยู่ในอาคารที่ทำาการเก่าของสหภาพแรงงานการ
รถไฟมักกะสัน ถนนนิคมรถไฟมักกะสัน เขตราชเทวี
จัด แสดงเรื่อ งราวความเป็น มาของประวัต ิศ าสตร์แ รงงานไทย แบ่ง ออก
เป็น 7 ห้อ ง
ห้องที่ 1 แรงงานบังคับไพร่-ทาส คือ ฐานของสังคมไทยโบราณ จัดแสดงเรื่องราว
ของแรงงานไทยตั้งแต่ครั้งโบราณ
ห้องที่ 2 กุฎีจีนแรงงานรับจ้างรุ่นแรก บอกเล่าสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของพวกเขา
ห้องที่ 3 แรงงานในกระบวนการปฏิรูปประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นช่วง
เปลี่ยนผ่านครั้งสำาคัญในประวัติศาสตร์ไทย
ห้องที่ 4 กรรมกรกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 สภาพของแรงงานก่อน
และหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ห้องที่ 5 จากสงครามโลกถึงสงครามเย็น ชีวิตแรงงานไทยภายใต้สภาวการณ์ที่
สำาคัญสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเย็น
ห้องที่ 6 จาก 14 ตุลาถึงวิกฤตเศรษฐกิจ ชีวิตคนงานในช่วงประชาธิปไตยเบ่ง
บาน เรื่องราวของแรงงานสตรี แรงงานเด็ก คนขับรถบรรทุก นักมวย
ห้องที่ 7 ห้องศิลปวัฒนธรรมกรรมกรจิตร ภูมิศักดิ์ เพื่อเป็นเกียรติแก่ จิตร ภูมิศักดิ์
พิพ ิธ ภัณ ฑ์ม านุษ ยวิท ยา
พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติเป็นโครงการซึ่งริเริ่มโดย คณะสังคมวิทยา
และมานุษยวิทยา ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2529 สืบเนื่องจากการที่คณะสังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยาได้รับโบราณวัตถุจากการขุดค้นภาคสนาม ในโครงการขุดค้น
วัฒนธรรมบ้านเชียงที่บ้านอ้อมแก้วและบ้านธาตุ จ.อุดรธานี คณะขุดค้นนำาโดย
รศ.สุมิตร ปิติพัตร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 -2517 และมีโบราณวัตถุเพิ่มเติมขึ้นจาก
การขุดค้นแหล่งโบราณคดีอื่นๆ ในช่วงระยะเวลาต่อมา
ในปี พ.ศ.2530 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้รับบริจาคโบราณวัตถุและวัตถุทาง
วัฒนธรรมจำานวนมากจาก ดร.วินิจ วินิจนัยภาค รองเลขาธิการ สำานักพระราชวัง
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้ดำาเนิน
การขอตั้งงบประมาณแผ่นดินเพื่อก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์
เฉลิมพระเกียรติจากรัฐบาล ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2531 สมเด็จพระเทพรัตน
ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จมาทรงเป็นองค์ประธานเปิดพิพิธภัณฑ์
ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติอย่างเป็นทางการ
จบการนำา
   เสนอ
ขอบคุณ มากครับ

More Related Content

Similar to ภูมิปัญญาบางกอก

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาPRINTT
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1kurorma Bent
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยpinyada
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครPRINTT
 
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptxsompornisvilanonda2
 
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืนหนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืนHumanities Information Center
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 

Similar to ภูมิปัญญาบางกอก (20)

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
Rarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICTRarebooks Preservation with ICT
Rarebooks Preservation with ICT
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยาพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา
 
หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1หน้าหลักรวม1
หน้าหลักรวม1
 
Seminar At Singapore
Seminar At SingaporeSeminar At Singapore
Seminar At Singapore
 
เอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสานเอกสารโบราณอีสาน
เอกสารโบราณอีสาน
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
V 277
V 277V 277
V 277
 
ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4ทิพาพร บุญพา 5/4
ทิพาพร บุญพา 5/4
 
ประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทยประวัติวันภาษาไทย
ประวัติวันภาษาไทย
 
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
 
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
(1)นโยบายข้าวไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน เวทีมูลนิธิข้าวไทย 14-12-65.pptx
 
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืนหนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
หนังสือหายากทรงคุณค่า : ห้องสมุดดิจิทัลกับการให้บริการอย่างยั่งยืน
 
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราชโลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
งานนำเสนอวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติราชการเพื่อแต่งตั้งเป็นปลัดองค์การบริหารส่วนตำ...
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 

ภูมิปัญญาบางกอก

  • 1. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ใ นบางกอก
  • 2. การนำา เสนอ พิพ ิธ ภัณ ฑ์ใ นบางกอก โดย : ด .ช .ณัช พล แช่ม จัน ทร์ ม .3/3 เลขที่ 3 ด .ช .พชรพล เทพาอภิร ัก ษ์ ม .3/3 เลขที่ 10 ด .ช .ศุภ ชัย ทองศิร ิ ม .3/3 เลขที่ 17 นายนิธ ิน ัน ท์ บุน นาค ม .3/3
  • 3. ความหมายของ พิพ ิธ ภัณ ฑ์ค ือ หน่วยงานที่ไม่หวังผลกำาไร เป็นสถาบันที่ถาวรในการรวบรวม พิพ ธ ภัณ ฑ์ ิ สงวนรักษา ศึกษาวิจัย สื่อสาร และจัดแสดงนิทรรศการ ให้บริการแก่สังคมเพื่อ การพัฒนา โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการค้นคว้าการศึกษา และความเพลิดเพลิน โดยแสดงหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับมนุษย์และสภาพแวดล้อม สิ่งซึ่งสงวนรักษา และจัดแสดงนั้นไม่ใช่เป็นเพียงวัตถุ แต่ได้รวมถึงสิ่งที่มีชีวิตด้วยโดยรวมไปถึง สวนสัตว์ สวนพฤกษชาติ วนอุทยาน สถานที่สงวนสัตว์นำ้า และสถานที่อันจัดเป็น เขตสงวนอื่นๆ รวมทั้งโบราณสถานและแหล่งอนุสรณ์สถาน ศูนย์วิทยาศาสตร์ และท้องฟ้าจำาลอง จะเห็นได้ว่า คำาจำากัดความของพิพิธภัณฑ์นั้นกว้างมาก ครอบคลุมทั้งด้าน วัฒนธรรมและวิทยาศาสตร์ที่เกียวข้องกับมนุษย์และธรรมชาติ สามรถจัดแบ่งได้ ่ หลายแบบ หลายประเภท เช่น • แบ่งตามการสะสมรวบรวมวัตถุ ( Collection) • แบ่งตามต้นสังกัดหรือการบริหาร เช่น พิพิธภัณฑ์ของรัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย • แบ่งตามลักษณะของผู้เข้าชมหรือกลุ่มเป้าหมาย เช่น นักเรียน นักศึกษา หรือ บุคคลทั่วไป • แบ่งตามการจัดแสดง เช่น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์แหล่งโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ฯลฯ
  • 4. ประเภทของพิพ ธ ภัณ ฑ์ ิ พิพิธภัณฑ์ มีทั้งหมด 16 ประเภท 1.พิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ และ โบราณคดี 15.พิพิธภัณฑ์เศรษฐกิจ 2.พิพิธภัณฑ์ การศึกษา 16.พิพิธภัณฑ์ มานุษยวิทยา 3.พิพิธภัณฑ์ ธรรมชาติวิทยา 4.พิพิธภัณฑ์ สื่อสารและคมนาคม 5.พิพิธภัณฑ์ ทหาร 6.พิพิธภัณฑ์ กฎหมายและราชทัณฑ์ 7.พิพิธภัณฑ์ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน 8.พิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ 9.พิพิธภัณฑ์ บุคคล 10.พิพิธภัณฑ์ การเกษตร 11.พิพิธภัณฑ์ การแพทย์และสาธารณสุข 12.พิพิธภัณฑ์ พุทธศาสนา 13.พิพิธพัณฑ์ ศิลปะ 14.พิพิธภัณฑ์ ผ้าไทย
  • 5. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ป ระวัต ศ าสตร์ และ ิ พิพิธภัณฑสถาน หรือ พิพิธโบราณคดี น ที่จัดตั้งขึนเพื่อเก็บ ภัณฑ์ เป็นอาคารหรือสถาบั ้ รักษาวัตถุที่มนุษย์ทำาขึน ทั้งในรูปแบบของโบราณวัตถุ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ้ ประวัติศาสตร์ โดยมีจัดแสดงให้ผู้คนสามารถเข้าชมได้ถาวร หรือจัดแสดง ชั่วคราว พิพิธภัณฑสถานมักจะให้บริการแก่สาธารณชน เพื่อประโยชน์ในการ ศึกษา สันทนาการ แสดงความภูมิใจของท้องถิ่น ดึงดูดนักท่องเที่ยว โดยมีผู้ ดูแลพิพิธภัณฑสถาน เรียกว่า ภัณฑารักษ์ ปัจจุบันแนวคิดของพิพิธภัณฑสถาน ยังมีความหลากหลายเพิ่มมากขึน จากแค่ ้ เป็นการเก็บรักษาและจัดแสดง เป็นการให้ประสบการณ์ และมีการโต้ตอบ ตัวอย่างเช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง พิพิธภัณฑ์สัตว์นำ้า หรือ พิพิธภัณฑ์มีชีวิต โดยมีการจัดเก็บสิ่งของประเภทต่างๆจำานวนมากและจัด แสดงในพิพิธภัณฑสถาน โดยทั้งแบบถาวรและชั่วคราว เพื่อการหมุนเวียนงาน แสดงได้อย่างหลากหลาย
  • 6. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ารศึก ษา พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดสำาโรง ตั้งอยูในวัดสำาโรง ตำาบลวัดสำาโรง เริ่ม ่ ดำาเนินการโดยพระครูสิริ ปุญญาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดสำาโรง เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยเจ้าอาวาสและชาวบ้านได้ร่วมกันบริจาคอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้พื้นบ้าน ครื่องมือจับสัตว์นำ้า สะท้อนให้เห็นถึงภูมิปัญญาพื้นบ้านของไทยในอดีต ห้อง พิพิธภัณฑ์อยูชั้นล่างของ ศาลาอเนกประสงค์ ่
  • 7. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ธ รรมชาติว ิท ยา พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ ฟอสซิลไดโนเสาร์ชิ้นแรกของไทยพบที่อำาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ในปี 2519 โดยนายสุธรรม แย้มนิยม อดีตนักธรณีวิทยาของกรมทรัพยากรธรณี ขณะ สำารวจแร่ยูเรเนียม ในหมวดหินเสาขัว ทีอุทยานแห่งชาติภูเวียง บริเวณห้วยประตูตีหมา ่ กระดูกชิ้นนี้มความกว้างยาวประมาณ 1 ฟุต จากการเปรียบเทียบพบว่ามีลักษณะใกล้เคียง ี กับไดโนเสาร์ซอโรพอด ซึงมีขนาดใหญ่ยาวประมาณ 15 เมตร และจากการตรวจสอบพบ ่ ว่าเป็นส่วนปลายล่างสุดของกระดูกต้นขาของไดโนเสาร์จำาพวกกินพืช การสำารวจไดโนเสาร์ ที่ภเวียงได้เริ่มต้นอย่างจริงจังในปี 2524 โดยนายเชิงชาย ไกรคง นักธรณีวิทยาจากกรม ู ทรัพยากรธรณี ได้พาคณะสำารวจโบราณชีววิทยาไทย และฝรั่งเศสขึ้นไปสำารวจกระดูก ไดโนเสาร์บริเวณยอดห้วยประตูตีหมา อำาเภอภูเวียงคณะสำารวจพบกระดูกไดโนเสาร์ชนิด กินพืชขนาดใหญ่ รวมทั้งฟันจระเข้ กระดองเต่า ฟันและเกล็ดปลาโบราณ และจากการ สำารวจในเวลาต่อมาได้พบกระดูกไดโนเสาร์อีกหลายชนิด ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ ไดโนเสาร์ภูเวียงจัดตั้งขึน โดยความร่วมมือของกรมทรัพยากรธรณี การท่องเที่ยวแห่ง ้ ประเทศไทย และจังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการ สำาหรับ ให้การศึกษาแก่เยาวชน และเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่น
  • 8. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ส ื่อ สารและคมนาคม พิพ ิธ ภัณ ฑ์ต ราไปรษณีย ์ย ากร เป็นสถานที่รวบรวมหลักฐานด้านกิจการ ไปรษณียยากรของไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางของนักสะสมและผู้สนใจในการเข้าชม ์ ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ ทั้งจากตราไปรษณีย์ยากรของไทยและต่างประเทศ สิ่ง แสดงหลากหลาย อาทิ ตราไปรษณียยากรขุดแรกของไทย ตราไปรษณียยากร ์ ์ ทองคำา ตราไปรษณีย์ยากรที่ลำ้าค่ายิ่งของเมืองไทย ภาพต้นแบบตราไปรษณีย์ยา กรชุดประวัติศาสตร์ ภาพประดิษฐ์จากตราไปรษณีย์ยากรใช้แล้วนับพันดวง ภาพ ขั้นตอนและวิธีการพิมพ์ตราไปรษณีย์ยากรของไทย ตราไปรษณียยากรจากต่าง ์ ประเทศ ฯลฯ จะทำาให้ท่านได้ตระหนักในคุณค่าของกระดาษแผ่นน้อย ๆ ที่เรียก ขานกันทั่วไปว่า "แสตมป์" หรือ "ตราไปรษณีย์ยากร
  • 9. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ท หาร พิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณ ปืนใหญ่ได้รับฉายาว่าเป็น “ราชาแห่งสนามรบ” เนื่องจากมี ประสิทธิภาพในการทำาลายล้างสูงและยิงได้ระยะไกล ใช้บุกโจมตีศัตรูในยามศึกสงคราม ตลอดจนป้องกันพระนครในยามสงบโดยนำามาวางไว้ตามเชิงเทินบนป้อมปราการ สำาหรับ ประเทศไทยคาดว่ามีปืนใหญ่ใช้มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยตอนปลายหรืออยุธยาตอนต้น กระบอก ที่เก่าที่สุดปัจจุบันจัดแสดงอยู่ทพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ี่ จุดทีน่าสนใจคือชื่อของปืนหลายกระบอกแสดงถึงชนชาติต่างๆที่มความสัมพันธ์ทางทหาร ่ ี กับไทย เช่นชื่อ ขอมดำาดิน ไทใหญ่เล่นหน้า ยวนง่าง้าว ฝรั่งร้ายปืนแม่น จีนสาวไส้ มักกะสันแหกค่าย และมุงิดทะลวงฟัน เป็นต้น นอกจากปืนใหญ่แล้ว ยังมีรูปปั้นพญาคชสีห์ สัญลักษณ์ของกระทรวงกลาโหมยืนสง่าอยูสองข้าง คชสีห์เป็นสัตว์หมพานต์ ลำาตัวเป็น ่ ิ ราชสีห์ส่วนหัวเป็นช้าง เป็นตราประจำาตำาแหน่งของสมุหกลาโหมตั้งแต่สมัยอยุธยา
  • 10. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ฎหมาย และ ราชทัณ ฑ์ พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ เริ่มจัดตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อประมาณ พ.ศ. 2482 พ.อ.ขุน ศรีศรากร (ชลอ ศรีศรากร) ดำารงตำาแหน่งอธิบดีกรมราชทัณฑ์ได้รวบรวมวัตถุเกี่ยวกับการลงโทษ และวัตถุโบราณที่พบ ภายในบริเวณเรือนจำาต่างๆ ทั่วประเทศ จัดแสดง ณ เรือนจำากลางบางขวาง เมื่อมี การจัดตั้งศูนย์ฝกอบรม ึ ข้าราชการราชทัณฑ์ บริเวณตรงข้ามเรือนจำากลางบางขวาง จึงได้ขนย้ายวัตถุ สิ่งของดังกล่าวมาจัดแสดง ณ อาคารศูนย์ฝกอบรมข้าราชการราชทัณฑ์ ในนาม ี พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์ โดยมีพิธีเปิดเป็นทางการพร้อมกับอาคารศูนย์ฝึกอบรม ข้าราชการราชทัณฑ์ เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2515 ต่อมา คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อ วันที่ 27 มกราคม 2530 ปรับปรุงบริเวณที่ตั้งของเรือนจำาพิเศษกรุงเทพมหานคร ให้กรุงเทพมหานคร จัดสร้างสวนสาธารณะน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในวโรกาสที่ทรงมีพระชนม์มายุครบ 60 พรรษา
  • 11. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ภ ูม ิป ัญ ญาพื้น บ้า น พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาชาวบ้าน ภายในพิพิธภัณฑ์ จัดแสดงข้าวของหลากหลาย อาทิ เงินตรา พระเครื่อง ปั๊บสา ภาพเก่า เครื่องเขิน เครื่องจักรสาน ใช้ทองเหลือง อาวุธโบราณ ของเครื่องเล่นเด็ก ตะเกียง เครื่องมือชั่งตวงวัด อุปกรณ์ทำานา ทอผ้า เครื่ เปองมือช่างไม้ เครื่องดนตรีพื้นเมือง ฯลฯ นอกจากนี้ยงมีของหาชมยาก เช่น ั เรือขุดจากไม้สักทั้งต้น กว้างเกือบ ๑ เมตร ยาวกว่า ๔ เมตร ซึ่งเจ้าสิงห์ไชย ณ ลำาพูน บริจาคให้ นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือดักจับสัตว์นำ้า ซึ่งเป็นวิถีของคนแม่ทาที่ อาศัยและหากินอยูริมสองฝั่งนำ้าแม่ทา ซึ่งปัจจุบันเครื่องมือเหล่านี้แทบจะไม่หลง ่ เหลือให้ดูอีกแล้ว
  • 12. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ว ิท ยาศาสตร์ พิพิธภัณฑ์วิทยาสาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2533คณะรัฐมนตรีมีมติให้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ ขั้นโดยให้กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม พัฒนา โครงการ และรับผิดชอบงาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2534ได้รับอนุมัติให้จัดโครงการ จัดตั้งพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระชนมพรรษา 5 รอบ กำาหนดกรอบงบประมาณโครงการ 650 ล้านบาท และเริ่มก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในปี พ.ศ. 2537 กระทั่งในปี พ.ศ. 2538 ได้มีพระราชกำาหนดจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ (อพวช.) ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2538 โดยพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ เปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 8 มิ ถุนายนพ.ศ. 2543
  • 13. พิพ ิธ ภัณ ฑ์บ ุค คล "พิพ ิธ ภัณ ฑ์ห ุ่น ขีผ ึ้ง ไทย "ได้ก่อกำาเนิดเกิดขึ้นจากแรงบันดาลใจของศิลปินกลุ่ม ้ หนึ่ง นำาโดยอาจารย์ด วงแก้ว พิท ยากรศิล ป์ คิดจะสร้างหุ่นขี้ผึ้งไทยตามแบบ หุ่นขี้ผึ้งของมาดามทรูโ ซ ในอังกฤษ แต่พอได้ลองปั้นแล้วมีเกิดปัญหาหลายๆ อย่าง คือ ประเทศไทยเราเราเป็นเมืองร้อน และมีฝุ่นละอองมาก แถมยังมีความชื้น สูง ปัญหาต่างๆเหล่านี้มันส่งผลต่อการคงรูปของหุ่นขีผึ้ง ดังนั้น อ.ดวงแก้ว และ ้ คณะ จึงได้คิดพลิกแพลงทดลองนำาวัสดุหลายๆอย่างมาใช้แทน ที่สุดก็ทำาให้รู้ว่า การใช้ไ ฟเบอร์ก ลาส..สามาถแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับตัวหุ่นขี้ผงได้ เพราะไฟ ึ้ เบอร์กลาสมีคุณสมบัติพิเศษที่คงทน ให้ความรู้สึกนุ่มนสล สวยงาม จึงได้สร้างหุ่นขี้ ผึ้งไฟเบอร์กลาสของ หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ดฉิมพลี ขึนเป็นรูปแรก ต่อมาได้จัด ้ สร้างหุ่นขึนอีกหลายๆชุด กระทั่งเมื่อปีพ.ศ. 2533 จึงเปิดให้ชมกันอย่างเป็น ้ ทางการ
  • 14. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ารเกษตร พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก่อตั้ง ขึ้นในปีพ.ศ. 2507 ในสมัยที่ศาสตราจารย์โชติ สุวัตถิ ดำารงตำาแหน่งคณบดีคณะ ประมง โดยได้รับการสนับสนุนจากศาสตราจารย์อินทรี จันทรสถิตย์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในสมัยนั้น ตามโครงการสัญญาความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยฮาไวอิ ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อ วัตถุประสงค์ในการค้นคว้าและการจัดแสดง เป็นแหล่งให้ความรู้ต่อประชาชน การ เรียนการสอนของนิสิต ตลอดจนการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์การประมง แต่เดิม พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ตั้งอยูที่ตึกพลเทพ ( กรมประมงในปัจจุบัน ) โดยใช้ชื่อ " ่ พิพิธภัณฑ์คณะประมง " (Kasetsart University Museum of Fisheries) ต่อ มาเพื่อความเหมาะสมจึงได้มีการเปลี่ยนชื่อไทยเป็น " พิพิธภัณฑ์สัตว์นำ้าและเครื่อง มือประมง " และได้ย้ายจากตึกพลเทพไปยังตึกภาควิชาชีววิทยาประมง ( คณะ มนุษยศาสตร์ในปัจจุบัน ) และในเวลาต่อมาจึงย้ายมายังอาคารโชติ สุวัตถิ พร้อม ทั้งเปลี่ยนชื่อเป็น " พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ " หรือ " Kasetsart University Museum of Fisheries (Natural History) " จนกระทั่งถึงปัจจุบัน
  • 15. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ก ารแพทย์ และ สาธารณสุข พิพิธภัณฑ์การแพทย์ศิริราช พิพิธภัณฑ์ภายในโรงพยาบาลศิริราชเริ่มมาจากการ เก็บและ จัดแสดงสิ่งของของแต่ละภาควิชา โดยในปีพ .ศ. 2525 มี พิพิธภัณฑ์ที่ เปิดรวม 13 แห่งเมื่อระยะเวลาผ่านไปพิพิธภัณฑ์ คงเหลือเพียง 6 แห่งที่สามารถ เปิดให้ประชาชนทั่วไปได้มี โอกาสเข้าเยี่ยมชม คือ พิพิธภัณฑ์พยาธิวิทยาเอลลิส พิพิธภัณฑ์นิติเวชศาสตร์ สงกรานต์ นิยมเสน พิพิธภัณฑ์ ประวัติการแพทย์ไทย อวย เกตุสิงห์ พิพิธภัณฑ์ปรสิตวิทยา พิพิธภัณฑ์กายวิภาคศาสตร์คองดอน และ พิพิธภัณฑ์กอน ประวัติศาสตร์และห้องปฏิบัติการ สุด แสงวิเชียรเมื่อคณะ ่ แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลได้รับมอบพื้นที่บางส่วนของสถานีรถไฟธนบุรีจำานวน 33 ไร่ จาก การรถไฟแห่งประเทศไทย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 นั้นคณะฯเล็งเห็นว่า เพื่อให้วงการแพทย์และสาธารณสุข ของประเทศมีการพัฒนาทั้งด้านวิชาการการวิจัย การศึกษา และการบริการ ชั้น เลิศ คณะฯ จึงเสนอโครงการพัฒนาศิริราชสู่สถาบันการแพทย์ชั้นเลิศในเอเชีย อาคเนย์ต่อรัฐบาล จึงได้ วางแผนการดำาเนินงาน เพื่อมุ่งสู่สถาบันทางการแพทย์ ชั้นเลิศฯ ซึ่งประกอบด้วยโครงการย่อย 7 โครงการ พิพิธภัณฑ์เป็นหนึ่งใน โครงการย่อยเหล่านั้น
  • 16. พิพ ิธ ภัณ ฑ์พ ุท ธศาสนา พิพิธภัณฑ์วัดมหาชัย ก่อตั้งขึนเมื่อปี พ.ศ.๒๔๐๘ โดยพระเจริญราชเดช (กวด) เจ้า ้ เมืองมหาสารคามคนแรก ตั้งแต่ในทศวรรษ ๒๕๐๐ ครั้งที่พระอริยานุวัตร เขมจารี (๒๔๔๘ - ๒๕๓๔) เป็นเจ้าอาวาสลำาดับที่ ๑๙ ได้เริ่มมีการรวบรวมโบราณวัตถุ ต่างๆ มาเก็บรักษาไว้ที่วัด ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๙ จึงก่อตั้งเป็นศูนย์วัฒนธรรมท้อง ถิ่นขึ้นก่อน และกลายเป็นพิพิธภัณฑ์วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทางวัดมหาชัยยังมีโบราณวัตถุจัดเก็บอยู่ในอาคารชั่วคราวอีกสองหลัง หลังหนึ่ง ใช้เก็บเครื่องไม้แกะสลักของอีสานโบราณ เช่น ธรรมาสน์ บานประตู หน้าต่าง ส่วนอีกหลังหนึ่ง เก็บโบราณวัตถุที่เป็นหิน เช่น ใบเสมา ฐานรูปเคารพ และศิวลึงค์ ส่วนบรรดาใบเสมาที่ไม่มีภาพสลัก หรือชิ้นส่วนฐาน เสาที่เป็นหินสลักขนาดใหญ่ก็ จะนำาไปจัดวางไว้ทั่วไปในบริเวณวัดโดยรอบ
  • 17. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ศ ิล ปะ พิพิธภัณฑ์หนังใหญ่วัดขนอน มีส่วนสำาคัญยิงต่อการอนุรักษ์หนังใหญ่ ทั้งในอดีต ่ และปัจจุบัน ทางวัดได้ร่วมกับภาครัฐและเอกชน ในการนำาหนังใหญ่วัดขนอนไป แสดงเผยแพร่ยังที่ต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศมาแล้วหลายครั้ง ในปี พ.ศ.2532 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อุปถัมภกมรดก ไทยทรงเห็นคุณค่าในการแสดง และศิลปะหนัง ใหญ่ทรงมีพระราชดำาริให้ทางวัด ช่วยอนุรักษ์หนังใหญ่ทั้ง 313 ตัว และจัดทำาหนังใหญ่ชุดใหม่ขึ้น แสดงแทน โดย มีมหาวิทยาลัยศิลปากรรับผิดชอบงานช่างจัดทำาหนังใหญ่ทั้งหมด ได้นำาหนังใหญ่ ชุดใหม่ที่สร้างนี้ ทูลเกล้าถวาย เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2538 ณ โรงละครแห่ง ชาติ และทรงพระราชทานให้ทางวัดขนอน นำามาใช้ ในการแสดงต่อไป ปัจจุบัน ทางวัดได้จัดพิพิธภัณฑ์สถานแสดงนิทรรศการหนังใหญ่ เปิดให้ประชาชนและผู้ สนใจ เข้าร่วมชมศึกษา พร้อมทั้งการสาธิตการแสดงหนังใหญ่ ตลอดจนการฝึก เยาวชนให้เรียนรู้และสืบทอดศิลป วัฒนธรรมอันทรงคุณค่านี้ครบทุกกระบวนการ เพื่อสนองโครงการตามพระราชดำาริในสมเด็จ พระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี สืบต่อไป
  • 18. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ผ ้า ไทย สาธรพิพิธภัณฑ์ผ้าทองคำา ตั้งอยูที่บ้านหาดเสี้ยว ตำาบลหาดเสี้ยว บริเวณเดียวกับ ่ ร้านสาธรศูนย์จำาหน่ายผ้าทอพื้นเมืองสุโขทัย คุณสาธร โสรัจประสพสันติ เจ้าของ ร้านสาธรเป็นผูริเริ่มจัดตั้งพิพิธภัณฑ์แสดงเรื่องราวผ้าทอมือลายโบราณ และผ้าที่มี ้ ความวิจิตรงดงามที่เก็บสะสมด้วยใจรัก ด้วยความผูกพัน มาเป็น พิพิธภัณฑ์ผ้า ทองคำาบ้านหาดเสี้ยว การสะสมผ้าเก่าที่มีอายุเกิน 100 ปี ผ้าตีนจกลวดลายต่างๆ  ผ้าคลุมหัวช้างลวดลายโบราณ ผ้าขิด ผ้าขาวม้า  ผ้าเช็ดหน้า ฯลฯ เป็นเสมือนหนึ่ง การเก็บบันทึกประวัติศาสตร์เรื่องราวของผ้าทอ มือลายโบราณ เป็นการสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมที่มีความวิจิตร งดงามเหล่านี้ ให้คงอยูคู่แผ่นดินไทย และยังเป็นพิพิธภัณฑ์ทางปัญญาสำาหรับผู้สนใจใฝ่เรียนรู้ ่ เรื่องผ้าทอมือของไทยได้เป็นอย่างดี
  • 19. พิพ ิธ ภัณ ฑ์เ ศรษฐกิจ พิพ ิธ ภัณ ฑ์แ รงงานไทย ตั้งอยู่ในอาคารที่ทำาการเก่าของสหภาพแรงงานการ รถไฟมักกะสัน ถนนนิคมรถไฟมักกะสัน เขตราชเทวี จัด แสดงเรื่อ งราวความเป็น มาของประวัต ิศ าสตร์แ รงงานไทย แบ่ง ออก เป็น 7 ห้อ ง ห้องที่ 1 แรงงานบังคับไพร่-ทาส คือ ฐานของสังคมไทยโบราณ จัดแสดงเรื่องราว ของแรงงานไทยตั้งแต่ครั้งโบราณ ห้องที่ 2 กุฎีจีนแรงงานรับจ้างรุ่นแรก บอกเล่าสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของพวกเขา ห้องที่ 3 แรงงานในกระบวนการปฏิรูปประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นช่วง เปลี่ยนผ่านครั้งสำาคัญในประวัติศาสตร์ไทย ห้องที่ 4 กรรมกรกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 สภาพของแรงงานก่อน และหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ห้องที่ 5 จากสงครามโลกถึงสงครามเย็น ชีวิตแรงงานไทยภายใต้สภาวการณ์ที่ สำาคัญสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเย็น ห้องที่ 6 จาก 14 ตุลาถึงวิกฤตเศรษฐกิจ ชีวิตคนงานในช่วงประชาธิปไตยเบ่ง บาน เรื่องราวของแรงงานสตรี แรงงานเด็ก คนขับรถบรรทุก นักมวย ห้องที่ 7 ห้องศิลปวัฒนธรรมกรรมกรจิตร ภูมิศักดิ์ เพื่อเป็นเกียรติแก่ จิตร ภูมิศักดิ์
  • 20. พิพ ิธ ภัณ ฑ์ม านุษ ยวิท ยา พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติเป็นโครงการซึ่งริเริ่มโดย คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2529 สืบเนื่องจากการที่คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาได้รับโบราณวัตถุจากการขุดค้นภาคสนาม ในโครงการขุดค้น วัฒนธรรมบ้านเชียงที่บ้านอ้อมแก้วและบ้านธาตุ จ.อุดรธานี คณะขุดค้นนำาโดย รศ.สุมิตร ปิติพัตร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 -2517 และมีโบราณวัตถุเพิ่มเติมขึ้นจาก การขุดค้นแหล่งโบราณคดีอื่นๆ ในช่วงระยะเวลาต่อมา ในปี พ.ศ.2530 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้รับบริจาคโบราณวัตถุและวัตถุทาง วัฒนธรรมจำานวนมากจาก ดร.วินิจ วินิจนัยภาค รองเลขาธิการ สำานักพระราชวัง คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จึงได้ดำาเนิน การขอตั้งงบประมาณแผ่นดินเพื่อก่อสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติจากรัฐบาล ในวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ.2531 สมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จมาทรงเป็นองค์ประธานเปิดพิพิธภัณฑ์ ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติอย่างเป็นทางการ
  • 21. จบการนำา เสนอ ขอบคุณ มากครับ