SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
อุตสาหกรรมปุ๋ย 
การนา ปุ๋ยมาใช้ในการเกษตรเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้สูงขึ้น ซึ่งเ 
ป็นสิ่งจา เป็นต่อการพัฒนาประเทศ 
ปุ๋ย หมายถึง สารที่ใส่ลงในดินเพื่อให้ปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช 
ปุ๋ยฟอสเฟต 
ส่วนผสมจากหินฟอสเฟต 
เป็นปุ๋ยที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต 
ใช้หินฟอสเฟต(CaF2 
.3Ca3(PO4)2) เป็นวัตถุดิบการผลิตปุ๋ยฟอสเฟตทา ได้ 3 วิธี 
นา หินฟอสเฟตมาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000-1200 
องศาเซลเซียส 
2(CaF2 3Ca3(PO4)2) + 5SiO2 + 6Na2CO3 ---> 12CaNaPO4 + 4Ca2SiO4 + SiF4 + 6CO2 
นา สารที่ได้จากการเผาเทลงน้า จะได้สารที่มีรูพรุน เปราะ
นา หินฟอสเฟตมาทา ปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก 
ได้ปุ๋ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูงขึ้นโดยนา หินฟอสเฟตที่บดแล้วมาทา ปฏิกิริยากับกรดซัลฟิว 
ริก 
CaF.3Ca3(PO4)2 + 10H2PO4 ---> 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF 
ได้กรดฟอสฟอริก (H2PO4) ซึ่ง จะไปทา ปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ 
จะได้มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H2PO4)2) หรือปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน้า ได้ดี 
หรือสามารถผลิตปุ๋ยฟอสเฟตโดยนา หินฟอสเฟตมาทา ปฏิกิริยากบักรดซัลฟิว 
ริกCaF.3Ca3(PO4)2 + 7H2PO4 + 3H2O ---> 3Ca(H2PO4)2.H2O + 7CaSO4 +2HF 
จากปฏิกิริยา ทั้งสาม 
จะพบว่าในส่วนประกอบหินฟอสเฟตจะมี CaF2 ซึ่งเมื่อทา ปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเห 
ยง่ายและเป็นพิษบางส่วนจะทา ปฏิกิริยากับ SiO2 เกิดเป็นแก๊ส SiF4ซึ่งรวมกับน้า ทันทีเกิดเป็น 
H2SiF6 หรืออาจนา SiO2 มาทา ปฏิกิริยากับ HFโดยตรงเกิดเป็น H2SiF6 และเมื่อนา มาทา ปฏิกิริ 
ยาต่อกับ MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ (MgSiF6) ใช้เป็นสารกา จัดแมลง HF ส่วน 
ใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกา จัดโดยการผ่านแก๊ส ลงในน้า ทา ให้ได้สารที่เป็นกรด 
ซึ่งทา ให้เป็นกลางโดยทา ปฏิกิริยากบัโซดาแอชหรือหินปูน 2HF + Na2CO3 ---> 2NaF + H2O 
+ CO2 2HF + CaCO---> CaF + H2O + CO2 
ปุ๋ยโพแทส
ปุ๋ยโพแทสคือปุ๋ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบ 
ปุ๋ยชนิดนี้นิยมบอกความเข้มข้น 
เป็นค่าร้อยละโดยมวลของ K 2O ปุ๋ยโพแทสเซียมชนิดต่างๆนั้นพอจะกล่าวโดยสังเขปได้ดังนี้ 
คือ โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl)ปุ๋ยที่บริสุทธ์ิ 95% นั้นจะมีโพแทสเซียมที่อยู่ในรูป K2O เท่ 
ากับ60% ผลิตมาจากสินแร่โพแทสเซียม เช่น sylvinite เป็นต้น และมีชื่อได้อีกว่า muriate of 
potash 
ในสมัยก่อน แหล่งของปุ๋ยโพแทสได้จากขี้เถ้าจากเตาถ่าน หรือจากการเผากิ่งไม้ 
ใบไม้และเศษเหลือของพืช 
ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็นจา นวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
ในรูปของแร่คาร์นัลไลต์ ( KCl.MgCl 2.6H 2O ) และแร่ซิลวาไนต์ 
( KCl.NaCl) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์ 
( KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต ( K 2SO 4)โพแทสเซียมไนเตรต 
( KNO 3 ) และโพแทสเซียมแมกนีเซียมซัลเฟต ( K 2SO 4.2MgSO 4 ) 
1.ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ 
มาบดให้ละเอียดแล้วทา ให้บริสุทธ์ิ 
โดยละลายแร่ในน้า อุณหภูมิประมาณ 90 ๐ C เติมสารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวลงไป 
กรองแยกโคลนและตะกอนออก
ระเหยน้า เพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนทา ให้ KCl ตกผลึก 
แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง จะได้ปุ๋ย KCl ตามต้องการ 
นอกจากนี้ ยังสามารถผลิตปุ๋ยชนิดนี้จากน้า ทะเล 
โดยการระเหยน้า ทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น 
เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน 
นา สารละลายที่ได้ไประเหยน้า ออกเพื่อทา ให้มีความเข้มข้นมากขึ้นทา ให้KCl ตกผลึก ออกม 
าและใช้เป็นปุ๋ย KCl ได้ 
2.ส่วนปุ๋ยโพแทสซียมซัลเฟต ผลิตได้จากการนา แร่แลงไบไนต์ 
( K 2SO 4.2MgSO 4 ) มาละลายในน้า อุณหภูมิประมาณ 50 ๐ C จนเป็นสารละลายอิ่มตัว 
แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นลงไป จะได้ผลึก K 2SO 4 แยกออกมาดังสมการ
3.นอกจากนี้ถ้านา KCl มาทา ปฏิกิริยากับ NaNO 3 จะได้ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต(KNO 3 ) ดัง 
สมการ 
โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จา เป็นต่อพืชมาก ทา ให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น 
สร้างภูมิต้านทานโรค และเป็นตัวเร่งให้เซลล์ทา งานได้ดีขึ้น 
ถ้าพืชขาดโพแทสเซียมจะทา ให้มีปริมาณแป้งต่า กว่าปกติ ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสีซีด 
ลา ต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ดลีบ
ปุ๋ยผสม 
การผลิตในลักษณะเชิงผสม ( Physical Mixing Process ) 
กรรมวิธีนีเ้ป็นวิธีที่โรงงานผลิตปุ๋ยส่วนใหญ่ในประเทศทาการผลิตอยู่ 
การผลิตในลักษณะนียั้งสามารถแยกได้อีก 2 แบบคือ 
1.1 ผสมเป็นเนือ้เดียว เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ยและส่วนผสมต่าง ๆ 
มาบดให้เข้ากันแล้วอัดเป็นเม็ด ในแต่ละเม็ดมีธาตุอาหารตรงตามสูตรที่ต้องการ 
1.2 ผสมไม่เป็นเนือ้เดียว ( Bulk Blending ) 
เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ยและส่วนต่างๆมาคลุกเคล้าให้เข้ากันเพื่อให้ได้สูตรตามต้องการแต่ไม่มีก 
ารปั้นเป็นเม็ด ดังนัน้การผสมแบบนีถื้อว่าปุ๋ยแต่ละเม็ดมีธาตุอาหารไม่ตรงตามสูตรที่ต้องการ
วิธีการผลิตป๋ยุเชิงผสม 
ปุ๋ยเชิงเดี่ยวและ/หรือปุ๋ยผสมที่มี 
ความเข้มข้นทางธาตุอาหารสูง 
บด 
ผสม 
ปัน้เม็ด 
บรรจุถุง 
ปุ๋ยเชิงผสมแบบ 
เป็นเนือ้เดียว 
ผสมคลุก 
บรรจุถุง 
ปุ๋ยเชิงผสมแบบ 
ไม่เป็นเนื้อเดียว

More Related Content

Viewers also liked

อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยSurasek Tikomrom
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมKorpong Sae-lee
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมsailom
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์Flook Owen'zl
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมJariya Jaiyot
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือChantana Yayod
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์Chantana Yayod
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมoraneehussem
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมTutor Ferry
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)Nupla
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 

Viewers also liked (20)

อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
01
0101
01
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียมการถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
การถลุงแร่แทนทาลัมไนโอเบียม
 
Industrial11
Industrial11Industrial11
Industrial11
 
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์
 
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
อุตสาหกรรมเกี่ยวข้องกับโซเดียมคลอไรด์
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
อุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลืออุตสาหกรรมเกลือ
อุตสาหกรรมเกลือ
 
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์อุตสาหกรรมเซรามิกส์
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
 
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมบทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
บทที่ 10 ธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรมวิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
วิชาเคมี ม.ปลาย เรื่องธาตุและสารประกอบในอุตสาหกรรม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)สไลด์แชร์(พ้อย)
สไลด์แชร์(พ้อย)
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

More from วิศิษฏ์ ชูทอง

More from วิศิษฏ์ ชูทอง (6)

กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
การไทเทรตกรด เบส
การไทเทรตกรด เบสการไทเทรตกรด เบส
การไทเทรตกรด เบส
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 

อุตสาหกรรมปุ๋ย

  • 1. อุตสาหกรรมปุ๋ย การนา ปุ๋ยมาใช้ในการเกษตรเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้สูงขึ้น ซึ่งเ ป็นสิ่งจา เป็นต่อการพัฒนาประเทศ ปุ๋ย หมายถึง สารที่ใส่ลงในดินเพื่อให้ปลดปล่อยธาตุอาหารแก่พืช ปุ๋ยฟอสเฟต ส่วนผสมจากหินฟอสเฟต เป็นปุ๋ยที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูปของสารประกอบฟอสเฟต ใช้หินฟอสเฟต(CaF2 .3Ca3(PO4)2) เป็นวัตถุดิบการผลิตปุ๋ยฟอสเฟตทา ได้ 3 วิธี นา หินฟอสเฟตมาผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000-1200 องศาเซลเซียส 2(CaF2 3Ca3(PO4)2) + 5SiO2 + 6Na2CO3 ---> 12CaNaPO4 + 4Ca2SiO4 + SiF4 + 6CO2 นา สารที่ได้จากการเผาเทลงน้า จะได้สารที่มีรูพรุน เปราะ
  • 2. นา หินฟอสเฟตมาทา ปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริก ได้ปุ๋ยฟอสเฟตที่มีคุณภาพสูงขึ้นโดยนา หินฟอสเฟตที่บดแล้วมาทา ปฏิกิริยากับกรดซัลฟิว ริก CaF.3Ca3(PO4)2 + 10H2PO4 ---> 6H3PO4 + 10CaSO4 + 2HF ได้กรดฟอสฟอริก (H2PO4) ซึ่ง จะไปทา ปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือ จะได้มอนอแคลเซียมฟอสเฟต (Ca(H2PO4)2) หรือปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟตละลายน้า ได้ดี หรือสามารถผลิตปุ๋ยฟอสเฟตโดยนา หินฟอสเฟตมาทา ปฏิกิริยากบักรดซัลฟิว ริกCaF.3Ca3(PO4)2 + 7H2PO4 + 3H2O ---> 3Ca(H2PO4)2.H2O + 7CaSO4 +2HF จากปฏิกิริยา ทั้งสาม จะพบว่าในส่วนประกอบหินฟอสเฟตจะมี CaF2 ซึ่งเมื่อทา ปฏิกิริยากับกรดจะได้ HF ซึ่งระเห ยง่ายและเป็นพิษบางส่วนจะทา ปฏิกิริยากับ SiO2 เกิดเป็นแก๊ส SiF4ซึ่งรวมกับน้า ทันทีเกิดเป็น H2SiF6 หรืออาจนา SiO2 มาทา ปฏิกิริยากับ HFโดยตรงเกิดเป็น H2SiF6 และเมื่อนา มาทา ปฏิกิริ ยาต่อกับ MgO จะได้แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ (MgSiF6) ใช้เป็นสารกา จัดแมลง HF ส่วน ใหญ่จะระเหยกลายเป็นไอ จึงกา จัดโดยการผ่านแก๊ส ลงในน้า ทา ให้ได้สารที่เป็นกรด ซึ่งทา ให้เป็นกลางโดยทา ปฏิกิริยากบัโซดาแอชหรือหินปูน 2HF + Na2CO3 ---> 2NaF + H2O + CO2 2HF + CaCO---> CaF + H2O + CO2 ปุ๋ยโพแทส
  • 3. ปุ๋ยโพแทสคือปุ๋ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบ ปุ๋ยชนิดนี้นิยมบอกความเข้มข้น เป็นค่าร้อยละโดยมวลของ K 2O ปุ๋ยโพแทสเซียมชนิดต่างๆนั้นพอจะกล่าวโดยสังเขปได้ดังนี้ คือ โพแทสเซียมคลอไรด์ (KCl)ปุ๋ยที่บริสุทธ์ิ 95% นั้นจะมีโพแทสเซียมที่อยู่ในรูป K2O เท่ ากับ60% ผลิตมาจากสินแร่โพแทสเซียม เช่น sylvinite เป็นต้น และมีชื่อได้อีกว่า muriate of potash ในสมัยก่อน แหล่งของปุ๋ยโพแทสได้จากขี้เถ้าจากเตาถ่าน หรือจากการเผากิ่งไม้ ใบไม้และเศษเหลือของพืช ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทสเป็นจา นวนมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูปของแร่คาร์นัลไลต์ ( KCl.MgCl 2.6H 2O ) และแร่ซิลวาไนต์ ( KCl.NaCl) ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น โพแทสเซียมคลอไรด์ ( KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต ( K 2SO 4)โพแทสเซียมไนเตรต ( KNO 3 ) และโพแทสเซียมแมกนีเซียมซัลเฟต ( K 2SO 4.2MgSO 4 ) 1.ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ มาบดให้ละเอียดแล้วทา ให้บริสุทธ์ิ โดยละลายแร่ในน้า อุณหภูมิประมาณ 90 ๐ C เติมสารละลาย NaCl ที่อิ่มตัวลงไป กรองแยกโคลนและตะกอนออก
  • 4. ระเหยน้า เพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนทา ให้ KCl ตกผลึก แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง จะได้ปุ๋ย KCl ตามต้องการ นอกจากนี้ ยังสามารถผลิตปุ๋ยชนิดนี้จากน้า ทะเล โดยการระเหยน้า ทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน นา สารละลายที่ได้ไประเหยน้า ออกเพื่อทา ให้มีความเข้มข้นมากขึ้นทา ให้KCl ตกผลึก ออกม าและใช้เป็นปุ๋ย KCl ได้ 2.ส่วนปุ๋ยโพแทสซียมซัลเฟต ผลิตได้จากการนา แร่แลงไบไนต์ ( K 2SO 4.2MgSO 4 ) มาละลายในน้า อุณหภูมิประมาณ 50 ๐ C จนเป็นสารละลายอิ่มตัว แล้วเติมสารละลาย KCl เข้มข้นลงไป จะได้ผลึก K 2SO 4 แยกออกมาดังสมการ
  • 5. 3.นอกจากนี้ถ้านา KCl มาทา ปฏิกิริยากับ NaNO 3 จะได้ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต(KNO 3 ) ดัง สมการ โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จา เป็นต่อพืชมาก ทา ให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้างภูมิต้านทานโรค และเป็นตัวเร่งให้เซลล์ทา งานได้ดีขึ้น ถ้าพืชขาดโพแทสเซียมจะทา ให้มีปริมาณแป้งต่า กว่าปกติ ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสีซีด ลา ต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ดลีบ
  • 6. ปุ๋ยผสม การผลิตในลักษณะเชิงผสม ( Physical Mixing Process ) กรรมวิธีนีเ้ป็นวิธีที่โรงงานผลิตปุ๋ยส่วนใหญ่ในประเทศทาการผลิตอยู่ การผลิตในลักษณะนียั้งสามารถแยกได้อีก 2 แบบคือ 1.1 ผสมเป็นเนือ้เดียว เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ยและส่วนผสมต่าง ๆ มาบดให้เข้ากันแล้วอัดเป็นเม็ด ในแต่ละเม็ดมีธาตุอาหารตรงตามสูตรที่ต้องการ 1.2 ผสมไม่เป็นเนือ้เดียว ( Bulk Blending ) เป็นการนาเอาแม่ปุ๋ยและส่วนต่างๆมาคลุกเคล้าให้เข้ากันเพื่อให้ได้สูตรตามต้องการแต่ไม่มีก ารปั้นเป็นเม็ด ดังนัน้การผสมแบบนีถื้อว่าปุ๋ยแต่ละเม็ดมีธาตุอาหารไม่ตรงตามสูตรที่ต้องการ
  • 7. วิธีการผลิตป๋ยุเชิงผสม ปุ๋ยเชิงเดี่ยวและ/หรือปุ๋ยผสมที่มี ความเข้มข้นทางธาตุอาหารสูง บด ผสม ปัน้เม็ด บรรจุถุง ปุ๋ยเชิงผสมแบบ เป็นเนือ้เดียว ผสมคลุก บรรจุถุง ปุ๋ยเชิงผสมแบบ ไม่เป็นเนื้อเดียว