SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
หลักธรรมาภิบาล
“หลักธรรมาภิบาล” หรืออาจเรียกได้ว่า “การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หลักธรรมรัฐ และ
บรรษัทภิบาล ฯลฯ ” ซึ่งเรารู้จักกันในนาม “Good Governance” ที่หมายถึง การปกครองที่เป็นธรรม
นั้น ไม่ใช่แนวความคิดใหม่ที่เกิดขึ้นในสังคม แต่เป็นการสะสมความรู้ที่เป็นวัฒนธรรมในการอยู่
ร่วมกันเป็นสังคมของมวลมนุษย์เป็นพันๆปี ซึ่งเป็นหลักการเพื่อการอยู่ร่วมกันในบ้านเมืองและสังคม
อย่างมีความสงบสุข สามารถประสานประโยชน์และคลี่คลายปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธีและพัฒนา
สังคมให้มีความยั่งยืน
องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล มีองค์ประกอบที่สาคัญ 6 ประการดังนี้
1. หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับและกติกาต่าง ๆ ให้ทันสมัย
และเป็นธรรม ตลอดจนเป็นที่ยอมรับของสังคมและสมาชิก โดยมีการยินยอมพร้อมใจและถือปฏิบัติ
ร่วมกันอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม กล่าวโดยสรุป คือ สถาปนาการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่
กระทากันตามอาเภอใจหรืออานาจของบุคคล
2. หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมั่นในความถูกต้องดีงาม โดยการรณรงค์เพื่อสร้าง
ค่านิยมที่ดีงามให้ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือสมาชิกของสังคมถือปฏิบัติ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต
ความเสียสละ ความอดทนขยันหมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย เป็นต้น
3. หลักความโปร่งใส คือ การทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่าง
ตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้โดยการปรับปรุงระบบและกลไกการทางาน
ขององค์กรให้มีความโปร่งใส มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรือเปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารได้สะดวก ตลอดจนมีระบบหรือกระบวนการตรวจสอบและประเมินผลที่มี
ประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่วยให้การทางานของภาครัฐ
และภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอรัปชั่น
4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้
และร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาคัญ ๆ ของสังคม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนมีช่องทาง
ในการเข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ การแจ้งความเห็น การไต่สวน สาธารณะ การประชาพิจารณ์การแสดง
ประชามติ หรืออื่น ๆ และขจัดการผูกขาดทั้งโดยภาครัฐหรือโดยภาคธุรกิจเอกชน ซึ่งจะช่วยให้เกิด
ความสามัคคีและความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน
5. หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหาร ตลอดจนคณะข้าราชการ ทั้งฝ่ายการเมืองและ
ข้าราชการประจา ต้องตั้งใจปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่อย่างดียิ่ง โดยมุ่งให้บริการแก่ผู้มารับบริการ เพื่อ
อานวยความสะดวกต่าง ๆ มีความรับผิดชอบต่อความบกพร่องในหน้าที่การงานที่ตนรับผิดชอบอยู่
และพร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที
6. หลักความคุ้มค่า ผู้บริหาร ต้องตระหนักว่ามีทรัพยากรค่อนข้างจากัด ดังนั้นในการ
บริหารจัดการจาเป็นจะต้องยึดหลักความประหยัดและความคุ้มค่า ซึ่งจาเป็นจะต้องตั้งจุดมุ่งหมาย
ไปที่ผู้รับบริการหรือประชาชนโดยส่วนรวม

More Related Content

Similar to หลักธรรมาภิบาล

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Pornpichit55
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพศศิพร แซ่เฮ้ง
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotionFreelance
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลWiroj Suknongbueng
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทยWatcharin Chongkonsatit
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรDental Faculty,Phayao University.
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐWC Triumph
 

Similar to หลักธรรมาภิบาล (13)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพหลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
หลักการสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
09 health promotion
09 health promotion09 health promotion
09 health promotion
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
หลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาลหลักธรรมาภิบาล
หลักธรรมาภิบาล
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
3 การจัดการสาธารณสุขในประเทศไทย
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 

More from Thanai Punyakalamba

More from Thanai Punyakalamba (18)

คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุคู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็นการ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
การ เสวนาเพื่อรับฟังความคิดเห็น
 
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
หลักพื้นฐานธรรมาภิบาล มธ.
 
Eep time issue_8
Eep time issue_8Eep time issue_8
Eep time issue_8
 
Eep time issue_7
Eep time issue_7Eep time issue_7
Eep time issue_7
 
Eep time issue_6
Eep time issue_6Eep time issue_6
Eep time issue_6
 
Eep time issue_5
Eep time issue_5Eep time issue_5
Eep time issue_5
 
Eep time issue_4
Eep time issue_4Eep time issue_4
Eep time issue_4
 
Eep time issue_3
Eep time issue_3Eep time issue_3
Eep time issue_3
 
Eep time issue_2
Eep time issue_2Eep time issue_2
Eep time issue_2
 
Labour protection 2541_new
Labour protection 2541_newLabour protection 2541_new
Labour protection 2541_new
 
Eep time issue_1
Eep time issue_1Eep time issue_1
Eep time issue_1
 
Photo nextor v14
Photo nextor v14Photo nextor v14
Photo nextor v14
 
Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3Labour protection 2551_release_3
Labour protection 2551_release_3
 
Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2Labour protection 2551_release_2
Labour protection 2551_release_2
 
Labour protection 2541
Labour protection 2541Labour protection 2541
Labour protection 2541
 
เกี่ยวกับ มทร
เกี่ยวกับ มทรเกี่ยวกับ มทร
เกี่ยวกับ มทร
 

หลักธรรมาภิบาล

  • 1. หลักธรรมาภิบาล “หลักธรรมาภิบาล” หรืออาจเรียกได้ว่า “การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หลักธรรมรัฐ และ บรรษัทภิบาล ฯลฯ ” ซึ่งเรารู้จักกันในนาม “Good Governance” ที่หมายถึง การปกครองที่เป็นธรรม นั้น ไม่ใช่แนวความคิดใหม่ที่เกิดขึ้นในสังคม แต่เป็นการสะสมความรู้ที่เป็นวัฒนธรรมในการอยู่ ร่วมกันเป็นสังคมของมวลมนุษย์เป็นพันๆปี ซึ่งเป็นหลักการเพื่อการอยู่ร่วมกันในบ้านเมืองและสังคม อย่างมีความสงบสุข สามารถประสานประโยชน์และคลี่คลายปัญหาข้อขัดแย้งโดยสันติวิธีและพัฒนา สังคมให้มีความยั่งยืน องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาล หลักธรรมาภิบาล มีองค์ประกอบที่สาคัญ 6 ประการดังนี้ 1. หลักนิติธรรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับและกติกาต่าง ๆ ให้ทันสมัย และเป็นธรรม ตลอดจนเป็นที่ยอมรับของสังคมและสมาชิก โดยมีการยินยอมพร้อมใจและถือปฏิบัติ ร่วมกันอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม กล่าวโดยสรุป คือ สถาปนาการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่ กระทากันตามอาเภอใจหรืออานาจของบุคคล 2. หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมั่นในความถูกต้องดีงาม โดยการรณรงค์เพื่อสร้าง ค่านิยมที่ดีงามให้ผู้ปฏิบัติงานในองค์กรหรือสมาชิกของสังคมถือปฏิบัติ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเสียสละ ความอดทนขยันหมั่นเพียร ความมีระเบียบวินัย เป็นต้น 3. หลักความโปร่งใส คือ การทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่าง ตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้โดยการปรับปรุงระบบและกลไกการทางาน ขององค์กรให้มีความโปร่งใส มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารหรือเปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารได้สะดวก ตลอดจนมีระบบหรือกระบวนการตรวจสอบและประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ ซึ่งจะเป็นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่วยให้การทางานของภาครัฐ และภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอรัปชั่น 4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ และร่วมเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาคัญ ๆ ของสังคม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนมีช่องทาง ในการเข้ามามีส่วนร่วม ได้แก่ การแจ้งความเห็น การไต่สวน สาธารณะ การประชาพิจารณ์การแสดง ประชามติ หรืออื่น ๆ และขจัดการผูกขาดทั้งโดยภาครัฐหรือโดยภาคธุรกิจเอกชน ซึ่งจะช่วยให้เกิด ความสามัคคีและความร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน
  • 2. 5. หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหาร ตลอดจนคณะข้าราชการ ทั้งฝ่ายการเมืองและ ข้าราชการประจา ต้องตั้งใจปฏิบัติภารกิจตามหน้าที่อย่างดียิ่ง โดยมุ่งให้บริการแก่ผู้มารับบริการ เพื่อ อานวยความสะดวกต่าง ๆ มีความรับผิดชอบต่อความบกพร่องในหน้าที่การงานที่ตนรับผิดชอบอยู่ และพร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที 6. หลักความคุ้มค่า ผู้บริหาร ต้องตระหนักว่ามีทรัพยากรค่อนข้างจากัด ดังนั้นในการ บริหารจัดการจาเป็นจะต้องยึดหลักความประหยัดและความคุ้มค่า ซึ่งจาเป็นจะต้องตั้งจุดมุ่งหมาย ไปที่ผู้รับบริการหรือประชาชนโดยส่วนรวม