SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ประชุม เชิง ปฏิบ ัต ิก าร
                 เรื่อ ง
    แนวทางการจัด ทำา แผนผัง
และข้อ กำา หนดการใช้ป ระโยชน์ใ น
  บริเ วณที่โ ล่ง และแผนผัง แสดง
 กิจ การสาธารณูป โภคพร้อ มข้อ
              กำา หนด
 วัน ที่ ๒๘ – ๒๙ มีน าคม ๒๕๕๖
ตามที่เกิดปัญหาอุทกภัยในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ นั้น
กรมโยธาธิการและผังเมืองได้กำาหนดแนวทางในการ
แก้ไขปัญหาดังกล่าว ด้วยมาตรการทางด้านผังเมือง
ซึงสามารถกำาหนดได้ ดังนี้
  ่
    ๑. กำาหนดพื้นที่เสียงภัยนำ้าท่วม เพื่อควบคุมการ
                        ่
       ตังถิ่นฐานและกิจการ
         ้                        การใช้พื้นที่ ในพื้นที่
       เสี่ยงต่อภาวะนำ้าท่วมหลาก และนำ้าท่วม
       เฉียบพลัน
    ๒. กำาหนดให้มีพื้นที่สีเขียว (Green Belt) เพื่อ
       ป้องกันการขยายตัวของเมือง และเป็นแนวนำ้า
       ท่วมหลากหรือ (Flood way) เพื่อประโยชน์
       สำาหรับ ผันนำ้า ระบายนำ้า ชะลอนำ้า โดยกำาหนด
       เป็นพื้นที่อนุรักษ์ชนบท        และเกษตรกรรม
       หรือ พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม หรือที่โล่ง
๓. กำาหนดพื้นที่สำาหรับเป็นแหล่งกักเก็บนำ้า พื้นที่
 ระบายนำ้า และพื้นที่รับนำ้า (แก้มลิง) เพิ่มความ
 สามารถในการรองรับนำ้าหลาก หรือขยายทาง
 นำ้า สนับสนุนการใช้ที่ดนให้เหมาะสม เพื่อรักษา
                          ิ
 พื้นที่แก้มลิงและหนองนำ้า ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
๔. กำาหนดทิศทางการขยายตัวของเมือง ไม่ให้
  ขยายไปในพื้นที่ลมนำ้าุ่
   หรือพื้นที่เสี่ยงภัยนำ้าท่วม ที่มีผลต่อการตัง
                                               ้
  ถิ่นฐานและการพัฒนา
   โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ
๕. กำาหนดพื้นที่หรือจัดหาพื้นที่ใหม่เพื่อย้ายถิ่นที่อยู่
  (Relocation)
   โดยสร้างเมืองใหม่ที่มีความเหมาะสมต่อการตัง     ้
  ถิ่นฐาน
   ให้มีความปลอดภัย มีสภาพแวดล้อมและคุณภาพ
  ชีวิตที่ดี
๖. กำาหนดแนวทางการพัฒนาสาธารณูปโภค –
  สาธารณูปการ พร้อมการบริหารจัดการ
  ทรัพยากรนำ้า โดยไม่ให้เป็นอุปสรรคกีดขวาง
  การไหลของนำ้า หรือออกแบบใช้เป็นแนวเขื่อน
  ป้องกันและชะลอนำ้า ซึ่งต้องคำานึงถึงทิศทาง
  การไหลของนำ้าและความสอดคล้องกับสภาพ
  พื้นที่ ที่กำาหนดไว้ในผังเมือง
๗. กำาหนดระยะถอยร่นจากแนวลำานำ้าและพื้นที่
  แหล่งนำ้า เพื่อเป็นพื้นที่รับนำ้าและรักษาสภาพ
  แวดล้อมของชุมชน โดยกำาหนดพื้นที่อนุรักษ์
 แหล่งนำ้า พื้นที่ชุ่มนำ้า เป็นพื้นที่เปิดโล่ง กำาหนด
 พื้นที่ระยะถอยร่น จากแนวลำานำ้าให้ปลอดภัย
 จากนำ้าท่วมให้เป็นเส้นทางนำ้าผ่าน ห้ามการอยู่
  อาศัยหรือสิงก่อสร้างอันจะเป็นการขวางทาง
               ่
   ไหลของนำ้า ซึงตามพระราชบัญญัตควบคุม
                   ่                         ิ
 อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ กำาหนดให้มีระยะถอยร่น
 ๓ เมตร ในขนาดลำานำ้ามีความกว้าง ๑๐ เมตร
    และระยะถอยร่น ๖ เมตร ในขนาดลำานำ้ามี
            ความกว้างเกิน ๑๐ เมตร
๘. กำาหนดมาตรการบรรเทาภัยพิบติ โดยจัด
                                 ั
เตรียมเส้นทางหนีภัยของเมือง และสถานที่รวม
  พลที่ปลอดภัย พร้อมการประชาสัมพันธ์ ให้
ประชาชนรับทราบรวมทั้งการติดตังระบบเตือน
                               ้
 ภัย เช่น หอเตือนภัย             หอกระจาย
                ข่าว เป็นต้น
ข้อ กำา หนดการใช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน ใน
               บริเ วณที่โ ล่ง
และข้อ กำา หนดแผนผัง แสดงโครงการ
          กิจ การสาธารณูป โภค

เสนอทีป ระชุม คณะกรรมการผัง เมือ ง
       ่
             ครั้ง ที่ ๒ /
                         ๒๕๕๖
                 ( เพือ ทราบ )
                      ่
  วัน ศุก ร์ท ี่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๖
ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้ระบุ
 ไว้ในมาตรา ๑๗ผังเมืองรวมประกอบด้วย
๑. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทำาผังเมืองรวม
๒. แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม
๓. แผนผังซึ่งทำาขึนเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับ
                  ้
  พร้อมด้วยข้อกำาหนด        โดยมีสาระสำาคัญทุก
  ประการหรือบางประการ ดังต่อไปนี้
  (ก) แผนผังกำาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้
  จำาแนกประเภท
  (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง
  (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง
  (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค
ในกรณีของผังเมืองรวม ซึ่งสามารถดำาเนินการ
ได้โดยเพิ่มองค์ประกอบของผังเมืองรวม เพิ่มแผนผัง
    แสดงที่โล่ง และแผนผังแสดงโครงการกิจการ
 สาธารณูปโภค โดยมีรายละเอียดของการกำาหนด
                 ดังตัวอย่างต่อไปนี้
                           ง

       แผนผังแสดงที่โล่งพร้อมด้วยข้อกำาหนด ได้จด
                                               ั
 ทำาขึน เพื่อประโยชน์ ในการดำารงรักษาที่โล่งไว้
       ้
   เพื่อสาธารณประโยชน์และสภาพแวดล้อมอันจะ
เป็นการรักษาสภาพภูมิทัศน์ที่ดี     ของชุมชนรวมทั้ง
              เพื่อป้องกันปัญหานำ้าท่วม
ที่โล่งตามแผนผังแสดงที่โล่งประเภท ล ๑ ที่กำาหนดไว้
เป็นสีเขียวอ่อน ที่โล่งประเภท ล ๒ ที่กำาหนดไว้เป็นสี
    เขียวอ่อน มีเส้นทแยงสีดำา ที่โล่งประเภท ล ๓ ที่
    กำาหนดไว้เป็นสีเขียวมีเส้นทแยงสีเขียว และที่โล่ง
ประเภท ล ๔ ที่กำาหนดไว้เป็นสีเขียวมีเส้นทแยงสีดำา
ให้เป็นที่โล่งเพื่อนันทนาการ และการรักษาคุณภาพ
        สิ่งแวดล้อม จำาแนกเป็นบริเวณดังต่อไปนี้

          ข้อ ๑ . ที่ด น ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๑ ) สวน
                       ิ
 สาธารณะ สนามกีฬ า สนามเด็ก เล่น เฉพาะ
 ที่ด ิน ของรัฐ ให้ใ ช้ป ระโยชน์ท ี่ด น เพื่อ สวน
                                          ิ
       สาธารณะ สนามกีฬ า สนามเด็ก เล่น
นัน ทนาการ             หรือ เกี่ย วข้อ งกับ นัน ทนาการ
ข้อ ๒. ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๒) หนองนำ้า บึง
อ่า งเก็บ นำ้า เฉพาะที่ด ิน ของรัฐ ให้ใ ช้ป ระโยชน์
ที่ด น เพื่อ หนองนำ้า บึง อ่า งเก็บ นำ้า ประมง เพาะ
     ิ
    เลีย งสัต ว์น ำ้า นัน ทนาการหรือ เกี่ย วข้อ งกับ
       ้
 นัน ทนาการ            การรัก ษาคุณ ภาพสิง แวดล้อ ม
                                           ่
หรือ สาธารณประโยชน์เ ท่า นั้น
ข้อ ๓ . ที่ด ิน ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๓ ) การระบาย
   นำ้า สงวนรัก ษาสภาพการระบายนำ้า ตาม
ธรรมชาติ ให้ใ ช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน เพื่อ ระบายนำ้า
เป็น พื้น ที่น ำ้า หลาก เกษตรกรรมหรือ เกี่ย วข้อ ง
     กับ เกษตรกรรม สถาบัน ราชการ การ
สาธารณูป โภคและสาธารณูป การ สำา หรับ การ
ใช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน เพื่อ กิจ การอืน ให้ใ ช้ไ ด้ไ ม่
                                    ่
 เกิน ร้อ ยละห้า ของที่ด ิน ประเภทนี้ ในแต่ล ะ
                        บริเ วณ
ข้อ ๔ . ที่ด น ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๔ ) การพัก
                      ิ
 นำ้า การป้อ งกัน นำ้า ท่ว ม       ให้ใ ช้ป ระโยชน์
 ที่ด น เพื่อ การพัก นำ้า ในกรณีท ี่น ำ้า มีป ริม าณ
       ิ
มาก การป้อ งกัน นำ้า ท่ว ม การเกษตรกรรม
หรือ เกี่ย วข้อ งกับ เกษตรกรรม การประโยชน์
 ที่ด ิน          เพือ กิจ การอื่น ให้ใ ช้ไ ด้ไ ม่เ กิน
                        ่
    ร้อ ยละห้า สาธารณูป โภคที่เ กี่ย วกับ การ
 ป้อ งกัน นำ้า ท่ว ม หรือ สวนสาธารณะ สำา หรับ
การใช้ข องที่ด น ประเภทนี้ิ                          ใน
                     แต่ล ะบริเ วณ
ที่ด ิน ประเภทนี้ ห้า มใช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน เพื่อ
   กิจ การ ตามที่ก ำา หนด ดัง ต่อ ไปนี้
 ( ๑ ) คลัง นำ้า มัน เชื้อ เพลิง และสถานที่ท ี่ใ ช้
                   ในการเก็บ รัก ษา
           นำ้า มัน เชื้อ เพลิง ที่ไ ม่ใ ช่ก ๊า ซ
                   ปิโ ตรเลีย มเหลว
      และก๊า ซธรรมชาติเ พื่อ จำา หน่า ยที่ต อ ง   ้
                      ขออนุญ าต
      ตามกฎหมายว่า ด้ว ยการควบคุม นำ้า มัน
                       เชื้อ เพลิง
  ( ๒ ) สถานที่บ รรจุก ๊า ซ สถานที่เ ก็บ ก๊า ซ
(๓ ) โรงแรมตามกฎหมายว่า ด้ว ยโรงแรม
(๔ ) จัด สรรที่ด ิน ทุก ประเภท
  (๕ ) อาคารขนาดพื้น ที่เ กิน ๑๐๐ ตาราง
                     เมตร เว้น แต่
        เป็น การประกอบพาณิช ยกรรมที่ม ี
              พืน ที่ป ระกอบการเกิน
                 ้
         ๑๐๐ ตารางเมตร แต่ไ ม่เ กิน ๓๐๐
                 ตารางเมตรที่ต ง อยู่
                                 ั้
     ริม ถนนสาธารณะ ที่ม ีข นาดเขตทางไม่
                 น้อ ยกว่า ๑๖ เมตร
     และมีท ี่ว ่า งด้า นหน้า อาคารไม่น ้อ ยกว่า
                        ๖ เมตร
(๖ ) อาคารอยู่อ าศัย ประเภทห้อ งแถว
( ๘ ) อาคารที่ม ีค วามสูง เกิน ๖ เมตร โดย
            การวัด ความสูง ของอาคาร
       ให้ว ัด จากระดับ ถนนถึง ยอดผนัง ของ
                           ชั้น สูง สุด
  ( ๙ ) สถานที่เ ก็บ สิน ค้า หรือ พัก สิน ค้า หรือ
                 สิง ของ เพือ ประโยชน์
                    ่           ่
        ทางการค้า หรือ อุต สาหกรรม แต่ไ ม่
                   รวมถึง การเก็บ สิน ค้า
        หรือ สิง ของ เพื่อ รอการจำา หน่า ย ณ
               ่
                         สถานที่น น    ั้
                    ( ๑๐ ) สนามกอล์ฟ
( ๑๑ ) การกำา จัด มูล ฝอยและสิง ปฏิก ูล   ่
( ๑๒ ) การซือ ขายหรือ เก็บ เศษวัส ดุ
                 ้
การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ประเภทนี้ ให้เ ป็น ไปดัง
                     ิ
                 ต่อ ไปนี้
  (๑) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน
                       (๐.๐๑ : ๑)
    ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมี
                       การแบ่งแยก
    หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่
                   อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน
    ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยก หรือแบ่ง
                    โอนทั้งหมดรวมกัน
                    ต้องไม่เกิน ๐.๐๑ : ๑
(๒) อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อย
  กว่าร้อยละ ๗๐
(๓) ที่ว่างโดยรอบจากแนวเขตที่ดินของแปลงที่ดินที่
  ใช้เป็นที่ก่อสร้าง
     อาคาร ไม่น้อยกว่า ๔ เมตร
(๔) พื้นที่ดินแปลงย่อยแปลงละไม่น้อยกว่า ๑๐๐
  ตารางวา ป ระโยชน์ท ี่ด ิน ริม ฝัง แม่น ำ้า ลำา คลอง
       การใช้                        ่
(๕) การก่อสร้นำงอาคารให้มีใต้่ม ีข สูง
   หรือ แหล่ง า ้า สาธารณะที ถุนนาดความกว้า ง
 น้อ ยกว่า ๑๐ เมตร ให้ม ีท ี่ว ่า ง ตามแนวขนาน
ริม ฝั่ง ตามสภาพธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง
 หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะ ไม่น ้อ ยกว่า ๓ เมตร
การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แม่น ำ้า
                            ิ       ่
ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะที่ม ีข นาด
ความกว้า งระหว่า ง ๑๐ – ๒๐ เมตร ให้ม ท ี่ว ่า งี
ตามแนวขนานริม ฝัง ตามสภาพธรรมชาติข อง
                     ่
แม่น ำ้า ลำา คลอง    หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะนัน  ้
ไม่น ้อ ยกว่า ง ๖ เมตร

      การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แหล่ง นำ้า
                               ิ    ่
สาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง หรือ ทะเลสาบ
 ให้ม ีท ี่ว ่า งตามแนวขนานริม ฝั่ง ตามสภาพ
ธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า
สาธารณะ นั้น ไม่น อ ยกว่า ๑๒ เมตร เว้น แต่
                        ้
เป็น การก่อ สร้า ง        เพือ การคมนาคม ขนส่ง
                             ่
ทางนำ้า หรือ การสาธารณูป โภค
ที่ด น ประเภทนี้ ห้า มใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น
      ิ                                   ิ
เพื่อ กิจ การตามที่ก ำา หนด ดัง ต่อ ไปนี้

 (๑) คลังนำ้ามันเชื้อเพลิงและสถานที่ที่ใช้ใน
      การเก็บรักษานำ้ามันเชื้อเพลิง ที่ไม่ใช่
     ก๊าซปิโตรเลียมเหลวและก๊าซธรรมชาติ
       เพื่อจำาหน่ายที่ต้อง ขออนุญาตตาม
      กฎหมายว่าด้วยการควบคุมนำ้ามันเชื้อ
                       เพลิง
 (๒) สถานที่บรรจุก๊าซ สถานที่เก็บก๊าซ และ
     ห้องบรรจุก๊าซ สำาหรับก๊าซปิโตรเลียม
             เหลวตามกฎหมายว่าด้วย
(๓) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม
(๔) จัดสรรที่ดินทุกประเภท
 (๕) อาคารขนาดพื้นที่เกิน ๑๐๐ ตารางเมตร
                    เว้นแต่
     เป็นการ ประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่
                 ประกอบการ
      เกิน ๑๐๐ ตารางเมตร แต่ไม่เกิน ๓๐๐
                 ตารางเมตร
(๖) อาคารอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว
                 หรือบ้านแถว
 (๗) อาคารอยู่อาศัยประเภทห้องชุด อาคาร
                  ชุด หอพัก
(๘) อาคารที่มีความสูงเกิน ๖ เมตร โดยการ
                     วัดความสูง
     ของอาคารให้วัดจากระดับถนนถึงยอด
                 ผนังของชั้นสูงสุด
   (๙) สถานที่เก็บสินค้าหรือพักสินค้าหรือ
              สิ่งของ เพื่อประโยชน์
     ทางการค้าหรืออุตสาหกรรม แต่ไม่รวม
                  ถึงการเก็บสินค้า
    หรือสิ่งของเพื่อรอการจำาหน่าย ณ สถาน
                        ที่นน
                            ั้
(๑๐) การกำาจัดมูลฝอยและสิงปฏิกูล
                               ่
(๑๑) การซือขายหรือเก็บเศษวัสดุ
            ้
(๑๒) การสร้างรั้วหรือกำาแพงที่นำ้าไม่สามารถ
การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ประเภทนี้ ให้เ ป็น ไปดัง
                         ิ
                        ต่อ ไปนี้
 (๑) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน
                        (๐.๐๑ : ๑)
      ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว
                    หากมีการแบ่งแยก
     หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน
                     พื้นที่อาคารรวม
     ต่อพื้นที่ดินของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่ง
    แยกหรือแบ่งโอนทั้งหมด รวมกันต้องไม่เกิน
                         ๐.๐๑ : ๑
  (๒) อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่
(๓) ที่ว่างโดยรอบจากแนวเขตที่ดินของแปลง
  ที่ดนที่ใช้เป็นที่ก่อสร้าง
      ิ
     อาคาร ไม่น้อยกว่า ๔ เมตร
(๔) พื้นที่ดนแปลงย่อยแปลงละไม่นอยกว่า ๑๐๐
            ิ                     ้
  ตารางวา
การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แม่น ำ้า ลำา คลอง
                          ิ  ่
(๕)อการก่อสร้าสาธารณะมีใต้ถุนสูง
หรื แหล่ง นำ้า   งอาคารให้
ที่ม ีข นาดความกว้า งน้อ ยกว่า ๑๐ เมตร ให้
มีท ี่ว ่า งตามแนวขนานริม ฝัง
                            ่        ตาม
สภาพธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ
แหล่ง นำ้า สาธารณะ                  ไม่น ้อ ย
กว่า ๓ เมตร
การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แม่น ำ้า
                              ิ    ่
ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะ ที่ม ข นาด
                                         ี
ความกว้า งระหว่า ง ๑๐ – ๒๐ เมตร ให้ม ท ี่       ี
ว่า งตามแนวขนานริม ฝัง ตามสภาพ
                          ่
ธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง
นำ้า สาธารณะนัน ไม่น อ ยกว่า ง ๖ เมตร
                   ้    ้
      การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แหล่ง นำ้า
                                ิ    ่
สาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง หรือ
ทะเลสาบ ให้ม ท ี่ว ่า งตามแนวขนานริม ฝัง
                 ี                            ่
ตามสภาพธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง
หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะนัน ไม่น ้อ ยกว่า
                            ้
๑๒ เมตร เว้น แต่เ ป็น การก่อ สร้า งเพื่อ การ
คมนาคมขนส่ง ทางนำ้า หรือ การ
เงือ นไขการใช้แ นวทางจัด ทำา ผัง ที่โ ล่ง
   ่
๑ . ไม่ต อ งดำา เนิน การสำา หรับ ผัง ที่จ ัด ทำา มา
          ้
ก่อ นปี ๒๕๕๖
๒ . ไม่ต อ งดำา เนิน การสำา หรับ ผัง ที่จ ะมีผ ลก
            ้
ระทบในขัน ตอนทางกฎหมายที่ไ ด้ด ำา เนิน
                ้
การมาแล้ว
๓ . ไม่ต อ งดำา เนิน การจัด ทำา ผัง ที่โ ล่ง ทุก ผัง
              ้
ให้ด ำา เนิน การเฉพาะผัง ที่ม ค วามจำา เป็น
                               ี
๔ . ใช้ส ำา หรับ เป็น แนวทาง ไม่จ ำา เป็น ต้อ ง
จัด ทำา เหมือ นตัว อย่า งทุก ประการ
( พิจ ารณาตามลัก ษณะของแต่ล ะผัง )
แผนผังแสดงที่โล่งผังเมืองรวมกรุงเทพมหา
        นครฯ (ปรับปรุงรั้งที่ ๓)

More Related Content

What's hot

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริnarunart
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตChayaphon yaphon
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตChayaphon yaphon
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริChayaphon yaphon
 
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553Dow P.
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวchkchp
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 

What's hot (11)

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
 
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคตโครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
โครงการพระราชดำริ.ห้วยองคต
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553Redd   Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
Redd Plus เชียงใหม่ 5 มี ค 2553
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 

ผังที่โล่ง

  • 1. ประชุม เชิง ปฏิบ ัต ิก าร เรื่อ ง แนวทางการจัด ทำา แผนผัง และข้อ กำา หนดการใช้ป ระโยชน์ใ น บริเ วณที่โ ล่ง และแผนผัง แสดง กิจ การสาธารณูป โภคพร้อ มข้อ กำา หนด วัน ที่ ๒๘ – ๒๙ มีน าคม ๒๕๕๖
  • 2. ตามที่เกิดปัญหาอุทกภัยในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ นั้น กรมโยธาธิการและผังเมืองได้กำาหนดแนวทางในการ แก้ไขปัญหาดังกล่าว ด้วยมาตรการทางด้านผังเมือง ซึงสามารถกำาหนดได้ ดังนี้ ่ ๑. กำาหนดพื้นที่เสียงภัยนำ้าท่วม เพื่อควบคุมการ ่ ตังถิ่นฐานและกิจการ ้ การใช้พื้นที่ ในพื้นที่ เสี่ยงต่อภาวะนำ้าท่วมหลาก และนำ้าท่วม เฉียบพลัน ๒. กำาหนดให้มีพื้นที่สีเขียว (Green Belt) เพื่อ ป้องกันการขยายตัวของเมือง และเป็นแนวนำ้า ท่วมหลากหรือ (Flood way) เพื่อประโยชน์ สำาหรับ ผันนำ้า ระบายนำ้า ชะลอนำ้า โดยกำาหนด เป็นพื้นที่อนุรักษ์ชนบท และเกษตรกรรม หรือ พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม หรือที่โล่ง
  • 3. ๓. กำาหนดพื้นที่สำาหรับเป็นแหล่งกักเก็บนำ้า พื้นที่ ระบายนำ้า และพื้นที่รับนำ้า (แก้มลิง) เพิ่มความ สามารถในการรองรับนำ้าหลาก หรือขยายทาง นำ้า สนับสนุนการใช้ที่ดนให้เหมาะสม เพื่อรักษา ิ พื้นที่แก้มลิงและหนองนำ้า ที่มีอยู่ในธรรมชาติ
  • 4. ๔. กำาหนดทิศทางการขยายตัวของเมือง ไม่ให้ ขยายไปในพื้นที่ลมนำ้าุ่ หรือพื้นที่เสี่ยงภัยนำ้าท่วม ที่มีผลต่อการตัง ้ ถิ่นฐานและการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ๕. กำาหนดพื้นที่หรือจัดหาพื้นที่ใหม่เพื่อย้ายถิ่นที่อยู่ (Relocation) โดยสร้างเมืองใหม่ที่มีความเหมาะสมต่อการตัง ้ ถิ่นฐาน ให้มีความปลอดภัย มีสภาพแวดล้อมและคุณภาพ ชีวิตที่ดี
  • 5. ๖. กำาหนดแนวทางการพัฒนาสาธารณูปโภค – สาธารณูปการ พร้อมการบริหารจัดการ ทรัพยากรนำ้า โดยไม่ให้เป็นอุปสรรคกีดขวาง การไหลของนำ้า หรือออกแบบใช้เป็นแนวเขื่อน ป้องกันและชะลอนำ้า ซึ่งต้องคำานึงถึงทิศทาง การไหลของนำ้าและความสอดคล้องกับสภาพ พื้นที่ ที่กำาหนดไว้ในผังเมือง
  • 6. ๗. กำาหนดระยะถอยร่นจากแนวลำานำ้าและพื้นที่ แหล่งนำ้า เพื่อเป็นพื้นที่รับนำ้าและรักษาสภาพ แวดล้อมของชุมชน โดยกำาหนดพื้นที่อนุรักษ์ แหล่งนำ้า พื้นที่ชุ่มนำ้า เป็นพื้นที่เปิดโล่ง กำาหนด พื้นที่ระยะถอยร่น จากแนวลำานำ้าให้ปลอดภัย จากนำ้าท่วมให้เป็นเส้นทางนำ้าผ่าน ห้ามการอยู่ อาศัยหรือสิงก่อสร้างอันจะเป็นการขวางทาง ่ ไหลของนำ้า ซึงตามพระราชบัญญัตควบคุม ่ ิ อาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ กำาหนดให้มีระยะถอยร่น ๓ เมตร ในขนาดลำานำ้ามีความกว้าง ๑๐ เมตร และระยะถอยร่น ๖ เมตร ในขนาดลำานำ้ามี ความกว้างเกิน ๑๐ เมตร
  • 7. ๘. กำาหนดมาตรการบรรเทาภัยพิบติ โดยจัด ั เตรียมเส้นทางหนีภัยของเมือง และสถานที่รวม พลที่ปลอดภัย พร้อมการประชาสัมพันธ์ ให้ ประชาชนรับทราบรวมทั้งการติดตังระบบเตือน ้ ภัย เช่น หอเตือนภัย หอกระจาย ข่าว เป็นต้น
  • 8. ข้อ กำา หนดการใช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน ใน บริเ วณที่โ ล่ง และข้อ กำา หนดแผนผัง แสดงโครงการ กิจ การสาธารณูป โภค เสนอทีป ระชุม คณะกรรมการผัง เมือ ง ่ ครั้ง ที่ ๒ / ๒๕๕๖ ( เพือ ทราบ ) ่ วัน ศุก ร์ท ี่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๖
  • 9. ตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ได้ระบุ ไว้ในมาตรา ๑๗ผังเมืองรวมประกอบด้วย ๑. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดทำาผังเมืองรวม ๒. แผนที่แสดงเขตของผังเมืองรวม ๓. แผนผังซึ่งทำาขึนเป็นฉบับเดียวหรือหลายฉบับ ้ พร้อมด้วยข้อกำาหนด โดยมีสาระสำาคัญทุก ประการหรือบางประการ ดังต่อไปนี้ (ก) แผนผังกำาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้ จำาแนกประเภท (ข) แผนผังแสดงที่โล่ง (ค) แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่ง (ง) แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค
  • 10. ในกรณีของผังเมืองรวม ซึ่งสามารถดำาเนินการ ได้โดยเพิ่มองค์ประกอบของผังเมืองรวม เพิ่มแผนผัง แสดงที่โล่ง และแผนผังแสดงโครงการกิจการ สาธารณูปโภค โดยมีรายละเอียดของการกำาหนด ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ง แผนผังแสดงที่โล่งพร้อมด้วยข้อกำาหนด ได้จด ั ทำาขึน เพื่อประโยชน์ ในการดำารงรักษาที่โล่งไว้ ้ เพื่อสาธารณประโยชน์และสภาพแวดล้อมอันจะ เป็นการรักษาสภาพภูมิทัศน์ที่ดี ของชุมชนรวมทั้ง เพื่อป้องกันปัญหานำ้าท่วม
  • 11. ที่โล่งตามแผนผังแสดงที่โล่งประเภท ล ๑ ที่กำาหนดไว้ เป็นสีเขียวอ่อน ที่โล่งประเภท ล ๒ ที่กำาหนดไว้เป็นสี เขียวอ่อน มีเส้นทแยงสีดำา ที่โล่งประเภท ล ๓ ที่ กำาหนดไว้เป็นสีเขียวมีเส้นทแยงสีเขียว และที่โล่ง ประเภท ล ๔ ที่กำาหนดไว้เป็นสีเขียวมีเส้นทแยงสีดำา ให้เป็นที่โล่งเพื่อนันทนาการ และการรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม จำาแนกเป็นบริเวณดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ . ที่ด น ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๑ ) สวน ิ สาธารณะ สนามกีฬ า สนามเด็ก เล่น เฉพาะ ที่ด ิน ของรัฐ ให้ใ ช้ป ระโยชน์ท ี่ด น เพื่อ สวน ิ สาธารณะ สนามกีฬ า สนามเด็ก เล่น นัน ทนาการ หรือ เกี่ย วข้อ งกับ นัน ทนาการ
  • 12. ข้อ ๒. ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๒) หนองนำ้า บึง อ่า งเก็บ นำ้า เฉพาะที่ด ิน ของรัฐ ให้ใ ช้ป ระโยชน์ ที่ด น เพื่อ หนองนำ้า บึง อ่า งเก็บ นำ้า ประมง เพาะ ิ เลีย งสัต ว์น ำ้า นัน ทนาการหรือ เกี่ย วข้อ งกับ ้ นัน ทนาการ การรัก ษาคุณ ภาพสิง แวดล้อ ม ่ หรือ สาธารณประโยชน์เ ท่า นั้น
  • 13. ข้อ ๓ . ที่ด ิน ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๓ ) การระบาย นำ้า สงวนรัก ษาสภาพการระบายนำ้า ตาม ธรรมชาติ ให้ใ ช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน เพื่อ ระบายนำ้า เป็น พื้น ที่น ำ้า หลาก เกษตรกรรมหรือ เกี่ย วข้อ ง กับ เกษตรกรรม สถาบัน ราชการ การ สาธารณูป โภคและสาธารณูป การ สำา หรับ การ ใช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน เพื่อ กิจ การอืน ให้ใ ช้ไ ด้ไ ม่ ่ เกิน ร้อ ยละห้า ของที่ด ิน ประเภทนี้ ในแต่ล ะ บริเ วณ
  • 14. ข้อ ๔ . ที่ด น ประเภทที่โ ล่ง ( ล ๔ ) การพัก ิ นำ้า การป้อ งกัน นำ้า ท่ว ม ให้ใ ช้ป ระโยชน์ ที่ด น เพื่อ การพัก นำ้า ในกรณีท ี่น ำ้า มีป ริม าณ ิ มาก การป้อ งกัน นำ้า ท่ว ม การเกษตรกรรม หรือ เกี่ย วข้อ งกับ เกษตรกรรม การประโยชน์ ที่ด ิน เพือ กิจ การอื่น ให้ใ ช้ไ ด้ไ ม่เ กิน ่ ร้อ ยละห้า สาธารณูป โภคที่เ กี่ย วกับ การ ป้อ งกัน นำ้า ท่ว ม หรือ สวนสาธารณะ สำา หรับ การใช้ข องที่ด น ประเภทนี้ิ ใน แต่ล ะบริเ วณ
  • 15. ที่ด ิน ประเภทนี้ ห้า มใช้ป ระโยชน์ท ี่ด ิน เพื่อ กิจ การ ตามที่ก ำา หนด ดัง ต่อ ไปนี้ ( ๑ ) คลัง นำ้า มัน เชื้อ เพลิง และสถานที่ท ี่ใ ช้ ในการเก็บ รัก ษา นำ้า มัน เชื้อ เพลิง ที่ไ ม่ใ ช่ก ๊า ซ ปิโ ตรเลีย มเหลว และก๊า ซธรรมชาติเ พื่อ จำา หน่า ยที่ต อ ง ้ ขออนุญ าต ตามกฎหมายว่า ด้ว ยการควบคุม นำ้า มัน เชื้อ เพลิง ( ๒ ) สถานที่บ รรจุก ๊า ซ สถานที่เ ก็บ ก๊า ซ
  • 16. (๓ ) โรงแรมตามกฎหมายว่า ด้ว ยโรงแรม (๔ ) จัด สรรที่ด ิน ทุก ประเภท (๕ ) อาคารขนาดพื้น ที่เ กิน ๑๐๐ ตาราง เมตร เว้น แต่ เป็น การประกอบพาณิช ยกรรมที่ม ี พืน ที่ป ระกอบการเกิน ้ ๑๐๐ ตารางเมตร แต่ไ ม่เ กิน ๓๐๐ ตารางเมตรที่ต ง อยู่ ั้ ริม ถนนสาธารณะ ที่ม ีข นาดเขตทางไม่ น้อ ยกว่า ๑๖ เมตร และมีท ี่ว ่า งด้า นหน้า อาคารไม่น ้อ ยกว่า ๖ เมตร (๖ ) อาคารอยู่อ าศัย ประเภทห้อ งแถว
  • 17. ( ๘ ) อาคารที่ม ีค วามสูง เกิน ๖ เมตร โดย การวัด ความสูง ของอาคาร ให้ว ัด จากระดับ ถนนถึง ยอดผนัง ของ ชั้น สูง สุด ( ๙ ) สถานที่เ ก็บ สิน ค้า หรือ พัก สิน ค้า หรือ สิง ของ เพือ ประโยชน์ ่ ่ ทางการค้า หรือ อุต สาหกรรม แต่ไ ม่ รวมถึง การเก็บ สิน ค้า หรือ สิง ของ เพื่อ รอการจำา หน่า ย ณ ่ สถานที่น น ั้ ( ๑๐ ) สนามกอล์ฟ ( ๑๑ ) การกำา จัด มูล ฝอยและสิง ปฏิก ูล ่ ( ๑๒ ) การซือ ขายหรือ เก็บ เศษวัส ดุ ้
  • 18. การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ประเภทนี้ ให้เ ป็น ไปดัง ิ ต่อ ไปนี้ (๑) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน (๐.๐๑ : ๑) ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมี การแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วนพื้นที่ อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน ของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่งแยก หรือแบ่ง โอนทั้งหมดรวมกัน ต้องไม่เกิน ๐.๐๑ : ๑
  • 19. (๒) อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่น้อย กว่าร้อยละ ๗๐ (๓) ที่ว่างโดยรอบจากแนวเขตที่ดินของแปลงที่ดินที่ ใช้เป็นที่ก่อสร้าง อาคาร ไม่น้อยกว่า ๔ เมตร (๔) พื้นที่ดินแปลงย่อยแปลงละไม่น้อยกว่า ๑๐๐ ตารางวา ป ระโยชน์ท ี่ด ิน ริม ฝัง แม่น ำ้า ลำา คลอง การใช้ ่ (๕) การก่อสร้นำงอาคารให้มีใต้่ม ีข สูง หรือ แหล่ง า ้า สาธารณะที ถุนนาดความกว้า ง น้อ ยกว่า ๑๐ เมตร ให้ม ีท ี่ว ่า ง ตามแนวขนาน ริม ฝั่ง ตามสภาพธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะ ไม่น ้อ ยกว่า ๓ เมตร
  • 20. การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แม่น ำ้า ิ ่ ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะที่ม ีข นาด ความกว้า งระหว่า ง ๑๐ – ๒๐ เมตร ให้ม ท ี่ว ่า งี ตามแนวขนานริม ฝัง ตามสภาพธรรมชาติข อง ่ แม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะนัน ้ ไม่น ้อ ยกว่า ง ๖ เมตร การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แหล่ง นำ้า ิ ่ สาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง หรือ ทะเลสาบ ให้ม ีท ี่ว ่า งตามแนวขนานริม ฝั่ง ตามสภาพ ธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะ นั้น ไม่น อ ยกว่า ๑๒ เมตร เว้น แต่ ้ เป็น การก่อ สร้า ง เพือ การคมนาคม ขนส่ง ่ ทางนำ้า หรือ การสาธารณูป โภค
  • 21. ที่ด น ประเภทนี้ ห้า มใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ิ ิ เพื่อ กิจ การตามที่ก ำา หนด ดัง ต่อ ไปนี้ (๑) คลังนำ้ามันเชื้อเพลิงและสถานที่ที่ใช้ใน การเก็บรักษานำ้ามันเชื้อเพลิง ที่ไม่ใช่ ก๊าซปิโตรเลียมเหลวและก๊าซธรรมชาติ เพื่อจำาหน่ายที่ต้อง ขออนุญาตตาม กฎหมายว่าด้วยการควบคุมนำ้ามันเชื้อ เพลิง (๒) สถานที่บรรจุก๊าซ สถานที่เก็บก๊าซ และ ห้องบรรจุก๊าซ สำาหรับก๊าซปิโตรเลียม เหลวตามกฎหมายว่าด้วย
  • 22. (๓) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม (๔) จัดสรรที่ดินทุกประเภท (๕) อาคารขนาดพื้นที่เกิน ๑๐๐ ตารางเมตร เว้นแต่ เป็นการ ประกอบพาณิชยกรรมที่มีพื้นที่ ประกอบการ เกิน ๑๐๐ ตารางเมตร แต่ไม่เกิน ๓๐๐ ตารางเมตร (๖) อาคารอยู่อาศัยประเภทห้องแถว ตึกแถว หรือบ้านแถว (๗) อาคารอยู่อาศัยประเภทห้องชุด อาคาร ชุด หอพัก
  • 23. (๘) อาคารที่มีความสูงเกิน ๖ เมตร โดยการ วัดความสูง ของอาคารให้วัดจากระดับถนนถึงยอด ผนังของชั้นสูงสุด (๙) สถานที่เก็บสินค้าหรือพักสินค้าหรือ สิ่งของ เพื่อประโยชน์ ทางการค้าหรืออุตสาหกรรม แต่ไม่รวม ถึงการเก็บสินค้า หรือสิ่งของเพื่อรอการจำาหน่าย ณ สถาน ที่นน ั้ (๑๐) การกำาจัดมูลฝอยและสิงปฏิกูล ่ (๑๑) การซือขายหรือเก็บเศษวัสดุ ้ (๑๒) การสร้างรั้วหรือกำาแพงที่นำ้าไม่สามารถ
  • 24. การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ประเภทนี้ ให้เ ป็น ไปดัง ิ ต่อ ไปนี้ (๑) อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินไม่เกิน (๐.๐๑ : ๑) ทั้งนี้ ที่ดินแปลงใดที่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว หากมีการแบ่งแยก หรือแบ่งโอนไม่ว่าจะกี่ครั้งก็ตาม อัตราส่วน พื้นที่อาคารรวม ต่อพื้นที่ดินของที่ดินแปลงที่เกิดจากการแบ่ง แยกหรือแบ่งโอนทั้งหมด รวมกันต้องไม่เกิน ๐.๐๑ : ๑ (๒) อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวมไม่
  • 25. (๓) ที่ว่างโดยรอบจากแนวเขตที่ดินของแปลง ที่ดนที่ใช้เป็นที่ก่อสร้าง ิ อาคาร ไม่น้อยกว่า ๔ เมตร (๔) พื้นที่ดนแปลงย่อยแปลงละไม่นอยกว่า ๑๐๐ ิ ้ ตารางวา การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แม่น ำ้า ลำา คลอง ิ ่ (๕)อการก่อสร้าสาธารณะมีใต้ถุนสูง หรื แหล่ง นำ้า งอาคารให้ ที่ม ีข นาดความกว้า งน้อ ยกว่า ๑๐ เมตร ให้ มีท ี่ว ่า งตามแนวขนานริม ฝัง ่ ตาม สภาพธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะ ไม่น ้อ ย กว่า ๓ เมตร
  • 26. การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แม่น ำ้า ิ ่ ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะ ที่ม ข นาด ี ความกว้า งระหว่า ง ๑๐ – ๒๐ เมตร ให้ม ท ี่ ี ว่า งตามแนวขนานริม ฝัง ตามสภาพ ่ ธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะนัน ไม่น อ ยกว่า ง ๖ เมตร ้ ้ การใช้ป ระโยชน์ท ี่ด น ริม ฝัง แหล่ง นำ้า ิ ่ สาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง หรือ ทะเลสาบ ให้ม ท ี่ว ่า งตามแนวขนานริม ฝัง ี ่ ตามสภาพธรรมชาติข องแม่น ำ้า ลำา คลอง หรือ แหล่ง นำ้า สาธารณะนัน ไม่น ้อ ยกว่า ้ ๑๒ เมตร เว้น แต่เ ป็น การก่อ สร้า งเพื่อ การ คมนาคมขนส่ง ทางนำ้า หรือ การ
  • 27.
  • 28.
  • 29. เงือ นไขการใช้แ นวทางจัด ทำา ผัง ที่โ ล่ง ่ ๑ . ไม่ต อ งดำา เนิน การสำา หรับ ผัง ที่จ ัด ทำา มา ้ ก่อ นปี ๒๕๕๖ ๒ . ไม่ต อ งดำา เนิน การสำา หรับ ผัง ที่จ ะมีผ ลก ้ ระทบในขัน ตอนทางกฎหมายที่ไ ด้ด ำา เนิน ้ การมาแล้ว ๓ . ไม่ต อ งดำา เนิน การจัด ทำา ผัง ที่โ ล่ง ทุก ผัง ้ ให้ด ำา เนิน การเฉพาะผัง ที่ม ค วามจำา เป็น ี ๔ . ใช้ส ำา หรับ เป็น แนวทาง ไม่จ ำา เป็น ต้อ ง จัด ทำา เหมือ นตัว อย่า งทุก ประการ ( พิจ ารณาตามลัก ษณะของแต่ล ะผัง )