SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
RADIATION SAFETY
     INSTRUMENTS
        Pawitra Masa-ah
เนื่องจากหัววัดรังสีมีหลายชนิด ได้มีการออกแบบมาโดยมี
วัตถุประสงค์แตกต่างกัน ต่อไปนี้จะกล่าวถึงเครื่องมือตรวจวัดและสารวจ
รังสีแบบเคลื่อนที่ 3 แบบ
Dose-rate monitors and Survey meters.
 Gas-Filled Detectors
        Ionization chambers
        Proportional counter
        Geiger-Muller (GM) tubes
OUTLINE

Dose-rate monitors and Survey meters.
 Gas-Filled Detectors
      Ionization chambers
      Proportional counter
      Geiger-Muller (GM) tubes


Integrated dose indicators
 Thermoluminescence Dosimeter (TLD)
 Optically Stimulated Luminescence (OSL)
Gas-Filled Detector
เครื่องมือสารวจรังสีแบบเคลื่อนที่ ใช้หัววัดรังสีประเภทบรรจุก๊าซ หรือ เรียกว่า
Gas-filled Detector
หลักการวัดรังสีประเภทนี้ อาศัยหลักการที่ว่าเมื่อรังสีก่อไอออนทาอันตรกิริยากับ
แก๊สที่บรรจุอยู่ภายในหัววัด จะก่อให้เกิดคู่ของไอออน (Ion pairs) ภายในหัววัด คู่
ของไอออนที่เกิดจะถูกรวบรวมในรูปของกระแสไฟฟ้า (Current) หรือ
สัญญาณพัลส์ (Pulse) ถ้าสัญญาณที่เกิดมากหมายถึงมีความแรงรังสีมากสัญญาณ
เกิดน้อยหมายถึงมีความแรงรังสีน้อย
Gas-Filled Detector
เมื่ อ แก๊ ส ได้ รั บ รั ง สี จ ะเปลี่ ย นจากโมเลกุ ล ที่ เ ป็ น กลางทางไฟฟ้ า (Neutral
molecule) เป็นโมเลกุลที่มีประจุบวกและอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบโดยภายใน
หัววัดจะมีขั้วบวกอยู่ตรงกลางทาด้วยขดลวดเล็ก ๆ และขั้วลบซึ่งเป็นโลหะ
ทรงกระบอก เมื่อให้ความต่างศักย์ที่ขั้วไฟฟ้า จะเกิดสนามไฟฟ้ามี
ทิศทางจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ ประจุที่เกิดขึ้นเมื่อแก๊สได้รับรังสีก็จะวิ่งไปยังขั้ว
ตรงข้าม ทาให้เกิดเป็นกระแสไหลในวงจรที่ต่อครบ
Gas-Filled Detectors-Components
    Variable voltage source
    Gas-filled counting chamber
    Two coaxial electrodes well insulated from
     each other
    Electron-pairs
        produced by radiation in fill gas
        move under influence of electric field
        produce measurable current on electrodes
        transformed into pulse
Gas-Filled Detectors
          wall

          fill gas
End                  Anode (+)            Output
window
Or wall
           Cathode (-)           R   or    A
Gas-Filled Detector ที่มี
 ความต่างศักย์ ต่าง ๆ กันไป
 ก็จะเกิดเป็นเครื่องมือสารวจ
 ต่างประเภทต่าง
 วัตถุประสงค์การใช้งาน


I ; Ionization chamber region
P ; Proportional region
GM ; Geigur-Mueller region
OUTLINE

Dose-rate monitors and Survey meters.
 Gas-Filled Detectors
      Ionization chambers
      Proportional counter
      Geiger-Muller (GM) tubes


Integrated dose indicators
 Thermoluminescence Dosimeter (TLD)
 Optically Stimulated Luminescence (OSL)
Ionization Chamber
   ไอออนไนเซชัน แชมเบอร์ได้ถูกออกแบบมาเพื่อวัด Exposure rate ในหน่วย
    mR/hr หรือ R/hr
   หัววัดจะเป็นรูปทรงกระบอกและมีการเติมอากาศ (Air) ไว้ภายใน เมื่อรังสีเกิด
    อันตรกิริยากับอากาศที่อยู่ภายในหัววัดจะเกิดคู่ของไอออนขึ้นและคู่ของไอออนนี้
    จะถูกเก็บสะสมและเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าขึ้น ในขณะที่สนามไฟฟ้าไม่เข้มพอ คู่
    ของไอออนที่เกิดจะกลับไปรวมตัวกันแต่เมื่อเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้มากขึ้น
    จนทาให้คู่ของไอออนที่เกิดขึ้นทั้งหมดเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้าตรงกันข้าม เรียกว่า
    เกิด Ion saturation กระแสที่วัดได้จะมีค่าสูงสุดถึงแม้จะเพิ่มความต่าง
    ศักย์ไฟฟ้าให้มากขึ้น จะไม่ทาให้กระแสที่วัดได้เพิ่มขึ้น
   การวัดสัญญาณจากหัววัดไอออนไนเซชันทาได้โดยการวัดกระแสตรงหรือโดย
    การแปลงประจุให้เป็นพัลส์
Ionization Chamber

                      Electrometer
        +                  1234


                                            HV

         -
                  The response is proportional to
   Negative ion   ionization rate (activity, exposure rate)

   Positive ion
Ionization Chamber
ไอออนไนเซชัน แชมเบอร์ เป็นเครื่องมือที่เหมาะสมในการวัด ปริมาณรังสี
(Radiation dosimetry) เพราะหัววัดชนิดนี้มีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่
จ่ายให้แก่หัววัดต่าและเพียงพอที่จะทาให้หัววัดจับ/นับวัด จานวนคู่ของ
ไอออนที่เกิดขึ้นได้ทั้งหมด โดยไม่มีการคูณขยาย (Multiplication)
จานวนคู่ของไอออนเพิ่มขึ้นจากเดิม
 ดังนั้นขนาดของกระแสที่เกิดขึ้นที่หัววัดจึงสามารถเทียบเป็นหน่วยเรินต์
เกนหรือหน่วยซีเวิร์ตได้โดยตรง
Ionization Chamber
In the ionization chamber region
    The number of ion pairs collected by the
     electrodes is equal to the number of ion pair
     produced by the radiation in the detector.
    There is no change in the number of ion pairs
     collected as the voltage increase.


    จานวนคู่ของไอออน (Ion Pair) ที่ถูกเก็บสะสมโดย Electrode จะมีค่า
     เท่ากับจานวน Ion pair ที่เกิดขึ้นจริงเมื่อรังสีตกกระทบหัววัด
    ถึงแม้จะเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้มากขึ้น จะไม่ทาให้กระแสที่วัดได้เพิ่มขึ้น
Ionization Chamber
Main properties
    High accuracy
    Stable
    Relatively low sensitivity
    Slow response (used as integrator)
    Wide range (uGy/hr – several thousand)
    Portable

Used for
    Monitoring instrument : Survey for radiation level >1 mR/hr
    Main x-ray QC. Instrument
Portable ion chamber
survey instrument
OUTLINE

Dose-rate monitors and Survey meters.
 Gas-Filled Detectors
      Ionization chambers
      Proportional counter
      Geiger-Muller (GM) tubes


Integrated dose indicators
 Thermoluminescence Dosimeter (TLD)
 Optically Stimulated Luminescence (OSL)
Proportional region
            ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่จ่ายให้ electrodes สูงขึ้นในช่วงนี้
            ทาให้ขนาดของกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
            เนื่ อ งจากความต่ า งศั ก ย์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นอกจากจะท าให้ มี
            พลังงานเพียงพอที่จะไปถึง electrodes และยังให้คู่
            ไอออนซึ่งมีความเร็วเพิ่มขึ้น จากการที่เพิ่มความเร็วนี้
            ท าให้ เ กิ ด ก ารแตกตั ว อี กครั้ ง เป็ น secondary
            ionization ทาให้ได้คูไอออนเพิ่มขึ้น ปรากฏการณ์นี้
            เรียกว่า gas multiplication มีผลให้ได้กระแสไฟฟ้า
            ขนาดใหญ่ขึ้น
             จะเห็นได้ว่าจานวนคู่ไออนเพิ่มขึ้นเมื่อความต่างศักย์
            เพิ่มขึ้น
Proportional region
   การเกิด gas multiplication สามารถทาให้เกิดคู่ไอออนประมาณล้านคู่ต่อ 1
    ปฏิกิริยา ซึ่งต่างจาก ionization chamber ที่ 1 ปฏิกิริยาทาให้เกิดเพียง 1 คู่
    ไอออน ถึงแม้จะเกิดการขยายตัวได้คู่ไอออนมากมายแต่อัตราการขยายยัง
    เป็นสัดส่วนกับพลังงานของรังสีหรืออนุภาคที่เข้ามาทาปฏิกิริยา




                    Diagram of a proportional counter: (a) region of electron drift
                    and (b) region of gas amplification
Proportional region
   นิ ย มใช้ วั ด นิ ว ตรอนในเตาปฏิ ก รณ์ ป รมาณู เนื่ อ งจาก proportional
    counter ให้สัญญาณที่มีขนาดใหญ่ทาให้ประสิทธิภาพการวัดสูงจึงเป็น
    เหตุให้แยกชนิดของรังสีหรืออนุภาคได้

   ข้อเสียคือหัววัดชนิดนี้ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่
    จ่ า ยให้ ท าให้อั ต ราขยายสั ญญาณเปลี่ ยนแปลงด้ ว ยจึ ง จ าเป็ นต้ อ ง
    ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของความต่างศักย์ไฟฟ้าในการใช้งาน
Proportional counter
In the proportional region
     The number of ion pairs collected is greater than the
      number of ion pairs produced in the detector by the
      radiation.
     There is gas amplification.
                                             ion pairs collected
               The amplificat ion factor 
                                             ion pairs produced

     The amplification factor at specific voltage is the same
      for any type of radiation or energy of radiation.
     The number of ion pairs collected is proportional to the
      number of ion pairs originally produced.
Proportional counter




    Operates in pulse mode
    Most common general-purpose : 90% argon + 10%
     methane
Proportional counter
Main properties
     Laboratory instrument.
     Accuracy.
     A little higher sensitivity than the ion chamber.
     Used for particles and low energy photon.


Used for
     Monitoring instrument ; Assay of small quantities of
      radionuclides
     spectrometer
OUTLINE

Dose-rate monitors and Survey meters.
 Gas-Filled Detectors
      Ionization chambers
      Proportional counter
      Geiger-Muller (GM) tubes


Integrated dose indicators
 Thermoluminescence Dosimeter (TLD)
 Optically Stimulated Luminescence (OSL)
Geiger-Müller Counter
In the Geiger-Muller region
     Any single ionizing event will produce so many secondary
      ions that very large pulse is produce.
     These ion pairs produce more ion pairs, until literally
      millions of ion pairs are produced. This effect called
      “Avalanching”
     Because of the avalanche, It’s possible to tell that the
      radiation is present, but it isn’t possible to determine the
      type of radiation.
     To stop the continual avalanche, another gas, called
      “Quenching gas” is mixed with argon
Geiger-Müller Counter
ไกเกอร์ มูลเลอร์ เคาท์เตอร์ หรือ ไกเกอร์ เคาท์เตอร์ เป็นเครื่องสารวจรังสี
แบบเคลื่อนที่ ที่นิยมใช้กันมาก ภายในหัววัดรูปทรงกระบอกจะบรรจุแก๊ส ซึ่ง
ประกอบด้วย ฮีเลียม 98% และ บิวเทน 1.3% และหัววัดจะสามารถถอด
แยกออกจากตัวเครื่องได้เพื่อสะดวกในการใช้งาน




                                             Hand Monitor for Beta and
     Pancake Typed GM counter                Gamma Detection
Geiger-Müller Counter
หลักการทางานคล้ายกับ Ionization Chamber แต่ขนาดของความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าที่จ่ายให้มีค่าสูงกว่ามาก
ค่ า ความต่ า งศั ก ย์ ที่ สู ง มากนี้ จ ะท าให้ คู่ ข องไอออน โดยเฉพาะอิ เ ล็ ก ตรอน
เคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากขึ้น
ทาให้เมื่อ รังสีตกกระทบ แก๊สทุกโมเลกุลที่อยู่ในหัววัดแตกตัวเป็นคู่ของ
ไอออนทั้งหมด เนื่องจากเกิดการชนกันแบบต่อเนื่อง จนทาให้สัญญาณพัลส์ที่
ได้มีค่าเกือบคงที่หรือเท่ากัน
Geiger Müller-tube principle

                                                     -



                                                     +


                                                     -
                                             Knoll


  A single incident particle cause full ionization
Geiger-Müller Counter
หัววัดชนิดนี้จะวัดออกมาในรูป พัลส์ หรือค่านับวัด (Count)
และด้วยสัญญาณพัลส์ที่ออกมาจะมีขนาดเท่ากัน ไม่ว่าคู่ไอออนเริ่มต้นเป็น
เท่าใด ดังนั้นเครื่องมือนี้จึงไม่สามารถแยกชนิดของรังสี หรือระดับ
พลังงานต่าง ๆ ได้ จึงมักใช้บ่งบอกว่ามีสารรังสีอยู่เท่านั้น
Geiger Müller counter
Main properties
     High sensitivity.
     Lower accuracy
     Limited to <100 mR/hr
     Portable


Used for
     Contamination monitor
     Survey for low radiation level
     Dosimeter (if calibrated)
OUTLINE

Dose-rate monitors and Survey meters.
 Gas-Filled Detectors
      Ionization chambers
      Proportional counter
      Geiger-Muller (GM) tubes


Integrated dose indicators
 Thermoluminescence Dosimeter (TLD)
 Optically Stimulated Luminescence (OSL)
Personal Dosimetry
งานตรวจวัดรังสีประจาบุคคลคือ การตรวจวัดปริมาณรังสีที่ได้รับขณะ
ปฏิบัติงาน โดยใช้เครื่องวัดรังสีประจาบุคคลสาหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้าน
รังสี เป็นโครงสร้างพื้นฐานของระบบป้องกันอันตรายจากรังสี เป็นการเฝ้า
ระวังและประเมินความเสี่ยงไม่ให้บุคลากรด้านรังสีได้รับปริมาณรังสีเกินกว่า
ค่ามาตรฐาน
Thermo-luminescence
    Dosimeter (TLD)
Thermo-luminescence Dosimeter
                        (TLD)
   ที แอล ดี (Thermoluminescence Dosimetry : TLD) เป็นของผลึกใช้
    ผลึกลิเทียมฟลูออไรด์(LiF) หรือ แคลเซียมฟลูออไรด์ (CaF2)
   ซึ่งมีสมบัติที่เมื่อได้รับพลังงานจากรังสีแล้วจะสะสมพลังงานเอาไว้โดยการ
    เปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็คตรอน เมื่อได้รับความร้อนที่เหมาะสม
    ผลึ ก จะคายพลั ง งานที่ เ ก็ บ ไว้ อ อกมาในรู ป ของแสง ปรากฏการณ์ นี้ จึ ง
    เรีย กว่ า Thermoluminescence ปริมาณของแสงนี้จ ะถูก เปลี่ยนให้ เป็น
    สัญญาณไฟฟ้าซึ่งจะแปรผันตามปริมาณรังสีที่ผลึกได้รับ
   อ่านค่าออกมาเป็นตัวเลขได้ ผลึกนี้จะบรรจุอยู่ในตลับซึ่งจะมีตัวกรองเพื่อ
    แยกความแตกต่างของชนิดและพลังงานของรังสี
Thermoluminescence (TL)
   (TL) is the ability to convert energy from radiation
    to a radiation of a different wavelength, normally in
    the visible light range.
   Two categories
     Fluorescence - emission of light during or
      immediately after irradiation
     Not a particularly useful reaction for TLD use
     Phosphorescence - emission of light after the
      irradiation period. Delay can be seconds to
      months.
   TLDs use phosphorescence to detect radiation.
Thermoluminescence
   Radiation moves electrons into “traps”
   Heating moves them out
   Energy released is proportional to radiation
   Response is ~ linear
   High energy trap data is stored in TLD for a long
    time
TL Process

             Conduction Band (unfilled shell)

                                                      Electron trap
                                                    (metastable state)
                                                -



Phosphor atom
                        Valence Band (outermost electron shell)


 Incident
 radiation
TL Process, continued

          Conduction Band


Thermoluminescent
photon                                  -         Heat Applied




 Phosphor atom
                    Valence Band (outermost electron shell)
TLD Reader Construction
      To High                                       DC Amp
      Voltage                     To ground


                           PMT
                                                Recorder or meter
          Filter
                                      TL material
    Heated
    Cup

                   Power Supply


 •Output as “glow curve”
 •Area under represents the radiation energy deposited in the TLD
Thermoluminescence
Main properties
     High sensitivity.
     Accuracy
     Wild range (uGy-Gy)
     Size-so small, can be taped to finger.
     Versatility ; can use for long period.
     Reusable - economical
     Readout convenience - rapid (<30 sec)
     No wet chemical ; data won’t be lost if it wet.
Used for
     personnel monitoring
     stationary area monitoring
Thermoluminescence dosimeter : area monitoring , Personnel
radiation monitoring (Courtesy Bicron.)
OUTLINE

Dose-rate monitors and Survey meters.
 Gas-Filled Detectors
      Ionization chambers
      Proportional counter
      Geiger-Muller (GM) tubes


Integrated dose indicators
 Thermoluminescence Dosimeter (TLD)
 Optically Stimulated Luminescence (OSL)
Optically stimulated
luminescence (OSL)
Optically stimulated luminescence
(OSL)
   Minimum detectable dose
       1 mRem for gamma and x-ray radiation,
       10 mRem for beta radiation.

   Uses thin layer of aluminum oxide  Al2O3 : C 
   Has a TL sensitivity 50 times greater than TLD-100
    (LiF:Mg,Ti)
   Almost tissue equivalent.
   Strong sensitivity to light
   Readout stimulated using laser
   Intensity luminescence in proportion to radiation
    dose.
Optically stimulated luminescence
(OSL)

แผ่นวัดรังสีชนิด OSL เป็นของผลึกสารประกอบ Al2O3 : C
ผลึกมีคุณสมบัติที่เมื่อได้รับพลังงานจากรังสีแล้วจะสะสมพลังงานเอาไว้
โดยการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็คตรอน เมื่อมีการกระตุนด้วยแสงสี
                                                           ้
น้าเงินความเข้มที่เหมาะสม ผลึกจะคายพลังงานที่ได้รับมาส่วนหนึ่งในรูป
ของแสงสีน้าเงินเช่นกัน ปริมาณของแสงที่ปล่อยออกมาจะแปรตามปริมาณ
รังสีที่ได้รับ
เนื่องจากการคายอิเล็กตรอนในขบวนการกระตุนแต่ละครั้ง จะมีอิเล็กตรอน
                                              ้
หลุดออกมาเพียงบางส่วนเท่านั้น ทาให้สามารถทาการกระตุ้นได้หลายครั้ง
จึงทาให้มีคุณสมบัติในการอ่านซ้าได้
ปรากฏการณ์ของ OSL คล้ายกับขบวนการของ TLD ต่างกันด้วย
วิธีการกระตุ้น
          “TLD ใช้ ความร้อน” ในขณะที่ “OSL ใช้ แสง”

ผลึกของ Al2O3 : C เมื่อนามาบรรจุเป็นแผ่นวัดรังสีแล้วต้องใช้คู่กับ
ตลับใส่แผ่นวัดรังสีซึ่งตัวตลับจะบรรจุแผ่นกรองรังสีชนิดและความหนา
แตกต่างกัน เพื่อใช้วิเคราะห์ปริมาณรังสีแยกความแตกต่างของชนิดและ
พลังงาน
Optically Stimulated Luminescence dosimeters
(Courtesy Laudauer.)
Film Badge
   Film Badge (ฟิล์มแบดจ์) ประกอบด้วย ฟิล์มวัดรังสีและตลับบรรจุ
   ตัวฟิล์มวัดรังสี เป็น สารโพลีเอสเตอร์ เคลือบด้วย emulsion ที่เป็น
    ส่วนประกอบของ AgBr ซึ่งเมื่อได้รับรังสีจะถูก ionized เป็น Ag+ และ
    Br- โดย Ag+ เป็นตาแหน่งของภาพแฝง เมื่อนาไปผ่านกระบวนการล้าง
    ฟิล์มจะปรากฏความดาตรงตาแหน่งของภาพแฝงนั้น
   ฟิล์มวัดรังสีต้องใช้คู่กับตลับใส่ฟิล์มที่มีแผ่นกรองรังสี ชนิดและความหนา
    ต่างกัน ทาให้เกิดรูปแบบ (pattern) ของการได้รับรังสีที่แตกต่างกันซึ่ง
    สามารถน ามาวิเคราะห์ ชนิด และปริม าณของรัง สีชนิ ด นั้น            ได้แ ก่
    Conventional Film ซึ่งตอบสนองต่อรังสี โฟตอนและ บีตา
Film Badge
Film Badge
   อย่างไรก็ตามหากเลือกใช้ตลับบรรจุชนิดมี Cadmium เป็นแผ่นกรองรังสี
    จะสามารถตอบสนองต่อ Thermal neutron ได้ เนื่องจาก Thermal
    neutron ทาอันตรกิริยากับ Cadmium จะให้รังสีแกมมา ทาให้เกิดความ
    ดาที่บริเวณแผ่นกรองรังสี Cadmium
Radiation Safety Instrument

More Related Content

What's hot

Dosimetry In Nuclear Medicine
Dosimetry In Nuclear MedicineDosimetry In Nuclear Medicine
Dosimetry In Nuclear MedicineKhaeroel Ansory
 
Radiation protection in nm
Radiation protection in nmRadiation protection in nm
Radiation protection in nmBlessyPhilip4
 
nuclear radiation detector unit V
nuclear radiation detector unit Vnuclear radiation detector unit V
nuclear radiation detector unit VDr. Vishal Jain
 
Module 7 radiation detection, american fork fire rescue
Module 7 radiation detection, american fork fire rescueModule 7 radiation detection, american fork fire rescue
Module 7 radiation detection, american fork fire rescuejhendrickson1983
 
2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicao
2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicao2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicao
2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicaoIPEN - CNEN / SP
 
Radiation detection and measurement
Radiation detection and measurement Radiation detection and measurement
Radiation detection and measurement Shahid Younas
 
RADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptx
RADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptxRADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptx
RADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptxSrinath Chowdary
 
Medical Internal Radiation Dosimetry
Medical Internal Radiation DosimetryMedical Internal Radiation Dosimetry
Medical Internal Radiation Dosimetrysaumyashrivastav
 
Non-Imaging Devices in Nuclear Medicine
Non-Imaging Devices in Nuclear MedicineNon-Imaging Devices in Nuclear Medicine
Non-Imaging Devices in Nuclear MedicinePawitra Masa-ah
 
challenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetrychallenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetryLayal Jambi
 
Radiation safety in diagnostic nuclear medicine
Radiation safety in diagnostic nuclear medicineRadiation safety in diagnostic nuclear medicine
Radiation safety in diagnostic nuclear medicineSGPGIMS
 
Radiation dosimtery princicles
Radiation dosimtery princiclesRadiation dosimtery princicles
Radiation dosimtery princiclesSabari Kumar
 
1 radiation detection and measurement
1 radiation detection and measurement 1 radiation detection and measurement
1 radiation detection and measurement Shahid Younas
 
Geiger muller counting system
Geiger muller counting systemGeiger muller counting system
Geiger muller counting systemGaurav Bhati
 
Flame Photometry.pptx
Flame Photometry.pptxFlame Photometry.pptx
Flame Photometry.pptxNeetuSoni21
 
Ssd calculations
Ssd calculationsSsd calculations
Ssd calculationsCSULB
 
Radiation detectors
Radiation detectorsRadiation detectors
Radiation detectorsjmocherman
 
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...Vongsakara Angkhakhummoola
 

What's hot (20)

Dosimetry In Nuclear Medicine
Dosimetry In Nuclear MedicineDosimetry In Nuclear Medicine
Dosimetry In Nuclear Medicine
 
Radiation protection in nm
Radiation protection in nmRadiation protection in nm
Radiation protection in nm
 
nuclear radiation detector unit V
nuclear radiation detector unit Vnuclear radiation detector unit V
nuclear radiation detector unit V
 
Module 7 radiation detection, american fork fire rescue
Module 7 radiation detection, american fork fire rescueModule 7 radiation detection, american fork fire rescue
Module 7 radiation detection, american fork fire rescue
 
Icrp60
Icrp60Icrp60
Icrp60
 
2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicao
2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicao2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicao
2015 aula 06b instrumentacao nuclear medicao
 
Radiation detection and measurement
Radiation detection and measurement Radiation detection and measurement
Radiation detection and measurement
 
RADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptx
RADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptxRADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptx
RADIATION DETECTION AND MEASUREMENT ppt 2.pptx
 
Medical Internal Radiation Dosimetry
Medical Internal Radiation DosimetryMedical Internal Radiation Dosimetry
Medical Internal Radiation Dosimetry
 
Non-Imaging Devices in Nuclear Medicine
Non-Imaging Devices in Nuclear MedicineNon-Imaging Devices in Nuclear Medicine
Non-Imaging Devices in Nuclear Medicine
 
challenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetrychallenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetry
 
Radiation safety in diagnostic nuclear medicine
Radiation safety in diagnostic nuclear medicineRadiation safety in diagnostic nuclear medicine
Radiation safety in diagnostic nuclear medicine
 
Radiation dosimtery princicles
Radiation dosimtery princiclesRadiation dosimtery princicles
Radiation dosimtery princicles
 
1 radiation detection and measurement
1 radiation detection and measurement 1 radiation detection and measurement
1 radiation detection and measurement
 
Geiger muller counting system
Geiger muller counting systemGeiger muller counting system
Geiger muller counting system
 
Solid state detector mamita
Solid state detector mamitaSolid state detector mamita
Solid state detector mamita
 
Flame Photometry.pptx
Flame Photometry.pptxFlame Photometry.pptx
Flame Photometry.pptx
 
Ssd calculations
Ssd calculationsSsd calculations
Ssd calculations
 
Radiation detectors
Radiation detectorsRadiation detectors
Radiation detectors
 
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...
แนวปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้มีอำน...
 

More from Pawitra Masa-ah

N Health | Your TB lab solution
N Health | Your TB lab solutionN Health | Your TB lab solution
N Health | Your TB lab solutionPawitra Masa-ah
 
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity ValuesA new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity ValuesPawitra Masa-ah
 
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET StudyPerformance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET StudyPawitra Masa-ah
 
Demonstration clip of my project
Demonstration clip of my projectDemonstration clip of my project
Demonstration clip of my projectPawitra Masa-ah
 
19 440 Publication in NAUN journal
19 440 Publication in NAUN journal 19 440 Publication in NAUN journal
19 440 Publication in NAUN journal Pawitra Masa-ah
 
my poster presentation in the jcms2011 conference
my poster presentation in the jcms2011 conferencemy poster presentation in the jcms2011 conference
my poster presentation in the jcms2011 conferencePawitra Masa-ah
 
Radiation Safety Instruments
Radiation Safety InstrumentsRadiation Safety Instruments
Radiation Safety InstrumentsPawitra Masa-ah
 
Radiation protection Standard
Radiation protection Standard Radiation protection Standard
Radiation protection Standard Pawitra Masa-ah
 
Practical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional researchPractical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional researchPawitra Masa-ah
 
Radioactive Contamination Research
Radioactive Contamination ResearchRadioactive Contamination Research
Radioactive Contamination ResearchPawitra Masa-ah
 
"Three Mile Island Accident"
"Three Mile Island Accident""Three Mile Island Accident"
"Three Mile Island Accident"Pawitra Masa-ah
 

More from Pawitra Masa-ah (19)

N Health | Your TB lab solution
N Health | Your TB lab solutionN Health | Your TB lab solution
N Health | Your TB lab solution
 
Radiation Biology
Radiation BiologyRadiation Biology
Radiation Biology
 
Radiation Protection
Radiation ProtectionRadiation Protection
Radiation Protection
 
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity ValuesA new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
 
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET StudyPerformance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
 
Demonstration clip of my project
Demonstration clip of my projectDemonstration clip of my project
Demonstration clip of my project
 
19 440 Publication in NAUN journal
19 440 Publication in NAUN journal 19 440 Publication in NAUN journal
19 440 Publication in NAUN journal
 
AIBE 68
AIBE 68AIBE 68
AIBE 68
 
my poster presentation in the jcms2011 conference
my poster presentation in the jcms2011 conferencemy poster presentation in the jcms2011 conference
my poster presentation in the jcms2011 conference
 
Nuclear Reactor
Nuclear ReactorNuclear Reactor
Nuclear Reactor
 
Radiation Safety Instruments
Radiation Safety InstrumentsRadiation Safety Instruments
Radiation Safety Instruments
 
Radiation protection Standard
Radiation protection Standard Radiation protection Standard
Radiation protection Standard
 
Practical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional researchPractical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional research
 
Nutritional research
Nutritional researchNutritional research
Nutritional research
 
Infection
InfectionInfection
Infection
 
Future Immunoassay
Future Immunoassay Future Immunoassay
Future Immunoassay
 
Radioactive Contamination Research
Radioactive Contamination ResearchRadioactive Contamination Research
Radioactive Contamination Research
 
"Three Mile Island Accident"
"Three Mile Island Accident""Three Mile Island Accident"
"Three Mile Island Accident"
 
PET Cyclotron
PET Cyclotron PET Cyclotron
PET Cyclotron
 

Radiation Safety Instrument

  • 1. RADIATION SAFETY INSTRUMENTS Pawitra Masa-ah
  • 3. OUTLINE Dose-rate monitors and Survey meters.  Gas-Filled Detectors  Ionization chambers  Proportional counter  Geiger-Muller (GM) tubes Integrated dose indicators  Thermoluminescence Dosimeter (TLD)  Optically Stimulated Luminescence (OSL)
  • 4. Gas-Filled Detector เครื่องมือสารวจรังสีแบบเคลื่อนที่ ใช้หัววัดรังสีประเภทบรรจุก๊าซ หรือ เรียกว่า Gas-filled Detector หลักการวัดรังสีประเภทนี้ อาศัยหลักการที่ว่าเมื่อรังสีก่อไอออนทาอันตรกิริยากับ แก๊สที่บรรจุอยู่ภายในหัววัด จะก่อให้เกิดคู่ของไอออน (Ion pairs) ภายในหัววัด คู่ ของไอออนที่เกิดจะถูกรวบรวมในรูปของกระแสไฟฟ้า (Current) หรือ สัญญาณพัลส์ (Pulse) ถ้าสัญญาณที่เกิดมากหมายถึงมีความแรงรังสีมากสัญญาณ เกิดน้อยหมายถึงมีความแรงรังสีน้อย
  • 5. Gas-Filled Detector เมื่ อ แก๊ ส ได้ รั บ รั ง สี จ ะเปลี่ ย นจากโมเลกุ ล ที่ เ ป็ น กลางทางไฟฟ้ า (Neutral molecule) เป็นโมเลกุลที่มีประจุบวกและอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบโดยภายใน หัววัดจะมีขั้วบวกอยู่ตรงกลางทาด้วยขดลวดเล็ก ๆ และขั้วลบซึ่งเป็นโลหะ ทรงกระบอก เมื่อให้ความต่างศักย์ที่ขั้วไฟฟ้า จะเกิดสนามไฟฟ้ามี ทิศทางจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ ประจุที่เกิดขึ้นเมื่อแก๊สได้รับรังสีก็จะวิ่งไปยังขั้ว ตรงข้าม ทาให้เกิดเป็นกระแสไหลในวงจรที่ต่อครบ
  • 6. Gas-Filled Detectors-Components  Variable voltage source  Gas-filled counting chamber  Two coaxial electrodes well insulated from each other  Electron-pairs  produced by radiation in fill gas  move under influence of electric field  produce measurable current on electrodes  transformed into pulse
  • 7. Gas-Filled Detectors wall fill gas End Anode (+) Output window Or wall Cathode (-) R or A
  • 8. Gas-Filled Detector ที่มี ความต่างศักย์ ต่าง ๆ กันไป ก็จะเกิดเป็นเครื่องมือสารวจ ต่างประเภทต่าง วัตถุประสงค์การใช้งาน I ; Ionization chamber region P ; Proportional region GM ; Geigur-Mueller region
  • 9. OUTLINE Dose-rate monitors and Survey meters.  Gas-Filled Detectors  Ionization chambers  Proportional counter  Geiger-Muller (GM) tubes Integrated dose indicators  Thermoluminescence Dosimeter (TLD)  Optically Stimulated Luminescence (OSL)
  • 10. Ionization Chamber  ไอออนไนเซชัน แชมเบอร์ได้ถูกออกแบบมาเพื่อวัด Exposure rate ในหน่วย mR/hr หรือ R/hr  หัววัดจะเป็นรูปทรงกระบอกและมีการเติมอากาศ (Air) ไว้ภายใน เมื่อรังสีเกิด อันตรกิริยากับอากาศที่อยู่ภายในหัววัดจะเกิดคู่ของไอออนขึ้นและคู่ของไอออนนี้ จะถูกเก็บสะสมและเกิดเป็นกระแสไฟฟ้าขึ้น ในขณะที่สนามไฟฟ้าไม่เข้มพอ คู่ ของไอออนที่เกิดจะกลับไปรวมตัวกันแต่เมื่อเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้มากขึ้น จนทาให้คู่ของไอออนที่เกิดขึ้นทั้งหมดเคลื่อนที่ไปยังขั้วไฟฟ้าตรงกันข้าม เรียกว่า เกิด Ion saturation กระแสที่วัดได้จะมีค่าสูงสุดถึงแม้จะเพิ่มความต่าง ศักย์ไฟฟ้าให้มากขึ้น จะไม่ทาให้กระแสที่วัดได้เพิ่มขึ้น  การวัดสัญญาณจากหัววัดไอออนไนเซชันทาได้โดยการวัดกระแสตรงหรือโดย การแปลงประจุให้เป็นพัลส์
  • 11. Ionization Chamber Electrometer + 1234 HV - The response is proportional to Negative ion ionization rate (activity, exposure rate) Positive ion
  • 12. Ionization Chamber ไอออนไนเซชัน แชมเบอร์ เป็นเครื่องมือที่เหมาะสมในการวัด ปริมาณรังสี (Radiation dosimetry) เพราะหัววัดชนิดนี้มีค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ จ่ายให้แก่หัววัดต่าและเพียงพอที่จะทาให้หัววัดจับ/นับวัด จานวนคู่ของ ไอออนที่เกิดขึ้นได้ทั้งหมด โดยไม่มีการคูณขยาย (Multiplication) จานวนคู่ของไอออนเพิ่มขึ้นจากเดิม ดังนั้นขนาดของกระแสที่เกิดขึ้นที่หัววัดจึงสามารถเทียบเป็นหน่วยเรินต์ เกนหรือหน่วยซีเวิร์ตได้โดยตรง
  • 13. Ionization Chamber In the ionization chamber region  The number of ion pairs collected by the electrodes is equal to the number of ion pair produced by the radiation in the detector.  There is no change in the number of ion pairs collected as the voltage increase.  จานวนคู่ของไอออน (Ion Pair) ที่ถูกเก็บสะสมโดย Electrode จะมีค่า เท่ากับจานวน Ion pair ที่เกิดขึ้นจริงเมื่อรังสีตกกระทบหัววัด  ถึงแม้จะเพิ่มความต่างศักย์ไฟฟ้าให้มากขึ้น จะไม่ทาให้กระแสที่วัดได้เพิ่มขึ้น
  • 14. Ionization Chamber Main properties  High accuracy  Stable  Relatively low sensitivity  Slow response (used as integrator)  Wide range (uGy/hr – several thousand)  Portable Used for  Monitoring instrument : Survey for radiation level >1 mR/hr  Main x-ray QC. Instrument
  • 16. OUTLINE Dose-rate monitors and Survey meters.  Gas-Filled Detectors  Ionization chambers  Proportional counter  Geiger-Muller (GM) tubes Integrated dose indicators  Thermoluminescence Dosimeter (TLD)  Optically Stimulated Luminescence (OSL)
  • 17. Proportional region ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่จ่ายให้ electrodes สูงขึ้นในช่วงนี้ ทาให้ขนาดของกระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้น เนื่ อ งจากความต่ า งศั ก ย์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นอกจากจะท าให้ มี พลังงานเพียงพอที่จะไปถึง electrodes และยังให้คู่ ไอออนซึ่งมีความเร็วเพิ่มขึ้น จากการที่เพิ่มความเร็วนี้ ท าให้ เ กิ ด ก ารแตกตั ว อี กครั้ ง เป็ น secondary ionization ทาให้ได้คูไอออนเพิ่มขึ้น ปรากฏการณ์นี้ เรียกว่า gas multiplication มีผลให้ได้กระแสไฟฟ้า ขนาดใหญ่ขึ้น จะเห็นได้ว่าจานวนคู่ไออนเพิ่มขึ้นเมื่อความต่างศักย์ เพิ่มขึ้น
  • 18. Proportional region  การเกิด gas multiplication สามารถทาให้เกิดคู่ไอออนประมาณล้านคู่ต่อ 1 ปฏิกิริยา ซึ่งต่างจาก ionization chamber ที่ 1 ปฏิกิริยาทาให้เกิดเพียง 1 คู่ ไอออน ถึงแม้จะเกิดการขยายตัวได้คู่ไอออนมากมายแต่อัตราการขยายยัง เป็นสัดส่วนกับพลังงานของรังสีหรืออนุภาคที่เข้ามาทาปฏิกิริยา Diagram of a proportional counter: (a) region of electron drift and (b) region of gas amplification
  • 19. Proportional region  นิ ย มใช้ วั ด นิ ว ตรอนในเตาปฏิ ก รณ์ ป รมาณู เนื่ อ งจาก proportional counter ให้สัญญาณที่มีขนาดใหญ่ทาให้ประสิทธิภาพการวัดสูงจึงเป็น เหตุให้แยกชนิดของรังสีหรืออนุภาคได้  ข้อเสียคือหัววัดชนิดนี้ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ จ่ า ยให้ ท าให้อั ต ราขยายสั ญญาณเปลี่ ยนแปลงด้ ว ยจึ ง จ าเป็ นต้ อ ง ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของความต่างศักย์ไฟฟ้าในการใช้งาน
  • 20. Proportional counter In the proportional region  The number of ion pairs collected is greater than the number of ion pairs produced in the detector by the radiation.  There is gas amplification. ion pairs collected The amplificat ion factor  ion pairs produced  The amplification factor at specific voltage is the same for any type of radiation or energy of radiation.  The number of ion pairs collected is proportional to the number of ion pairs originally produced.
  • 21. Proportional counter  Operates in pulse mode  Most common general-purpose : 90% argon + 10% methane
  • 22. Proportional counter Main properties  Laboratory instrument.  Accuracy.  A little higher sensitivity than the ion chamber.  Used for particles and low energy photon. Used for  Monitoring instrument ; Assay of small quantities of radionuclides  spectrometer
  • 23. OUTLINE Dose-rate monitors and Survey meters.  Gas-Filled Detectors  Ionization chambers  Proportional counter  Geiger-Muller (GM) tubes Integrated dose indicators  Thermoluminescence Dosimeter (TLD)  Optically Stimulated Luminescence (OSL)
  • 24. Geiger-Müller Counter In the Geiger-Muller region  Any single ionizing event will produce so many secondary ions that very large pulse is produce.  These ion pairs produce more ion pairs, until literally millions of ion pairs are produced. This effect called “Avalanching”  Because of the avalanche, It’s possible to tell that the radiation is present, but it isn’t possible to determine the type of radiation.  To stop the continual avalanche, another gas, called “Quenching gas” is mixed with argon
  • 25. Geiger-Müller Counter ไกเกอร์ มูลเลอร์ เคาท์เตอร์ หรือ ไกเกอร์ เคาท์เตอร์ เป็นเครื่องสารวจรังสี แบบเคลื่อนที่ ที่นิยมใช้กันมาก ภายในหัววัดรูปทรงกระบอกจะบรรจุแก๊ส ซึ่ง ประกอบด้วย ฮีเลียม 98% และ บิวเทน 1.3% และหัววัดจะสามารถถอด แยกออกจากตัวเครื่องได้เพื่อสะดวกในการใช้งาน Hand Monitor for Beta and Pancake Typed GM counter Gamma Detection
  • 26. Geiger-Müller Counter หลักการทางานคล้ายกับ Ionization Chamber แต่ขนาดของความต่าง ศักย์ไฟฟ้าที่จ่ายให้มีค่าสูงกว่ามาก ค่ า ความต่ า งศั ก ย์ ที่ สู ง มากนี้ จ ะท าให้ คู่ ข องไอออน โดยเฉพาะอิ เ ล็ ก ตรอน เคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากขึ้น ทาให้เมื่อ รังสีตกกระทบ แก๊สทุกโมเลกุลที่อยู่ในหัววัดแตกตัวเป็นคู่ของ ไอออนทั้งหมด เนื่องจากเกิดการชนกันแบบต่อเนื่อง จนทาให้สัญญาณพัลส์ที่ ได้มีค่าเกือบคงที่หรือเท่ากัน
  • 27. Geiger Müller-tube principle - + - Knoll A single incident particle cause full ionization
  • 28. Geiger-Müller Counter หัววัดชนิดนี้จะวัดออกมาในรูป พัลส์ หรือค่านับวัด (Count) และด้วยสัญญาณพัลส์ที่ออกมาจะมีขนาดเท่ากัน ไม่ว่าคู่ไอออนเริ่มต้นเป็น เท่าใด ดังนั้นเครื่องมือนี้จึงไม่สามารถแยกชนิดของรังสี หรือระดับ พลังงานต่าง ๆ ได้ จึงมักใช้บ่งบอกว่ามีสารรังสีอยู่เท่านั้น
  • 29. Geiger Müller counter Main properties  High sensitivity.  Lower accuracy  Limited to <100 mR/hr  Portable Used for  Contamination monitor  Survey for low radiation level  Dosimeter (if calibrated)
  • 30. OUTLINE Dose-rate monitors and Survey meters.  Gas-Filled Detectors  Ionization chambers  Proportional counter  Geiger-Muller (GM) tubes Integrated dose indicators  Thermoluminescence Dosimeter (TLD)  Optically Stimulated Luminescence (OSL)
  • 31. Personal Dosimetry งานตรวจวัดรังสีประจาบุคคลคือ การตรวจวัดปริมาณรังสีที่ได้รับขณะ ปฏิบัติงาน โดยใช้เครื่องวัดรังสีประจาบุคคลสาหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้าน รังสี เป็นโครงสร้างพื้นฐานของระบบป้องกันอันตรายจากรังสี เป็นการเฝ้า ระวังและประเมินความเสี่ยงไม่ให้บุคลากรด้านรังสีได้รับปริมาณรังสีเกินกว่า ค่ามาตรฐาน
  • 32. Thermo-luminescence Dosimeter (TLD)
  • 33. Thermo-luminescence Dosimeter (TLD)  ที แอล ดี (Thermoluminescence Dosimetry : TLD) เป็นของผลึกใช้ ผลึกลิเทียมฟลูออไรด์(LiF) หรือ แคลเซียมฟลูออไรด์ (CaF2)  ซึ่งมีสมบัติที่เมื่อได้รับพลังงานจากรังสีแล้วจะสะสมพลังงานเอาไว้โดยการ เปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็คตรอน เมื่อได้รับความร้อนที่เหมาะสม ผลึ ก จะคายพลั ง งานที่ เ ก็ บ ไว้ อ อกมาในรู ป ของแสง ปรากฏการณ์ นี้ จึ ง เรีย กว่ า Thermoluminescence ปริมาณของแสงนี้จ ะถูก เปลี่ยนให้ เป็น สัญญาณไฟฟ้าซึ่งจะแปรผันตามปริมาณรังสีที่ผลึกได้รับ  อ่านค่าออกมาเป็นตัวเลขได้ ผลึกนี้จะบรรจุอยู่ในตลับซึ่งจะมีตัวกรองเพื่อ แยกความแตกต่างของชนิดและพลังงานของรังสี
  • 34. Thermoluminescence (TL)  (TL) is the ability to convert energy from radiation to a radiation of a different wavelength, normally in the visible light range.  Two categories  Fluorescence - emission of light during or immediately after irradiation  Not a particularly useful reaction for TLD use  Phosphorescence - emission of light after the irradiation period. Delay can be seconds to months.  TLDs use phosphorescence to detect radiation.
  • 35.
  • 36. Thermoluminescence  Radiation moves electrons into “traps”  Heating moves them out  Energy released is proportional to radiation  Response is ~ linear  High energy trap data is stored in TLD for a long time
  • 37. TL Process Conduction Band (unfilled shell) Electron trap (metastable state) - Phosphor atom Valence Band (outermost electron shell) Incident radiation
  • 38. TL Process, continued Conduction Band Thermoluminescent photon - Heat Applied Phosphor atom Valence Band (outermost electron shell)
  • 39. TLD Reader Construction To High DC Amp Voltage To ground PMT Recorder or meter Filter TL material Heated Cup Power Supply •Output as “glow curve” •Area under represents the radiation energy deposited in the TLD
  • 40. Thermoluminescence Main properties  High sensitivity.  Accuracy  Wild range (uGy-Gy)  Size-so small, can be taped to finger.  Versatility ; can use for long period.  Reusable - economical  Readout convenience - rapid (<30 sec)  No wet chemical ; data won’t be lost if it wet. Used for  personnel monitoring  stationary area monitoring
  • 41. Thermoluminescence dosimeter : area monitoring , Personnel radiation monitoring (Courtesy Bicron.)
  • 42. OUTLINE Dose-rate monitors and Survey meters.  Gas-Filled Detectors  Ionization chambers  Proportional counter  Geiger-Muller (GM) tubes Integrated dose indicators  Thermoluminescence Dosimeter (TLD)  Optically Stimulated Luminescence (OSL)
  • 44. Optically stimulated luminescence (OSL)  Minimum detectable dose  1 mRem for gamma and x-ray radiation,  10 mRem for beta radiation.  Uses thin layer of aluminum oxide  Al2O3 : C   Has a TL sensitivity 50 times greater than TLD-100 (LiF:Mg,Ti)  Almost tissue equivalent.  Strong sensitivity to light  Readout stimulated using laser  Intensity luminescence in proportion to radiation dose.
  • 45. Optically stimulated luminescence (OSL) แผ่นวัดรังสีชนิด OSL เป็นของผลึกสารประกอบ Al2O3 : C ผลึกมีคุณสมบัติที่เมื่อได้รับพลังงานจากรังสีแล้วจะสะสมพลังงานเอาไว้ โดยการเปลี่ยนระดับพลังงานของอิเล็คตรอน เมื่อมีการกระตุนด้วยแสงสี ้ น้าเงินความเข้มที่เหมาะสม ผลึกจะคายพลังงานที่ได้รับมาส่วนหนึ่งในรูป ของแสงสีน้าเงินเช่นกัน ปริมาณของแสงที่ปล่อยออกมาจะแปรตามปริมาณ รังสีที่ได้รับ เนื่องจากการคายอิเล็กตรอนในขบวนการกระตุนแต่ละครั้ง จะมีอิเล็กตรอน ้ หลุดออกมาเพียงบางส่วนเท่านั้น ทาให้สามารถทาการกระตุ้นได้หลายครั้ง จึงทาให้มีคุณสมบัติในการอ่านซ้าได้
  • 46. ปรากฏการณ์ของ OSL คล้ายกับขบวนการของ TLD ต่างกันด้วย วิธีการกระตุ้น “TLD ใช้ ความร้อน” ในขณะที่ “OSL ใช้ แสง” ผลึกของ Al2O3 : C เมื่อนามาบรรจุเป็นแผ่นวัดรังสีแล้วต้องใช้คู่กับ ตลับใส่แผ่นวัดรังสีซึ่งตัวตลับจะบรรจุแผ่นกรองรังสีชนิดและความหนา แตกต่างกัน เพื่อใช้วิเคราะห์ปริมาณรังสีแยกความแตกต่างของชนิดและ พลังงาน
  • 47.
  • 48. Optically Stimulated Luminescence dosimeters (Courtesy Laudauer.)
  • 49. Film Badge  Film Badge (ฟิล์มแบดจ์) ประกอบด้วย ฟิล์มวัดรังสีและตลับบรรจุ  ตัวฟิล์มวัดรังสี เป็น สารโพลีเอสเตอร์ เคลือบด้วย emulsion ที่เป็น ส่วนประกอบของ AgBr ซึ่งเมื่อได้รับรังสีจะถูก ionized เป็น Ag+ และ Br- โดย Ag+ เป็นตาแหน่งของภาพแฝง เมื่อนาไปผ่านกระบวนการล้าง ฟิล์มจะปรากฏความดาตรงตาแหน่งของภาพแฝงนั้น  ฟิล์มวัดรังสีต้องใช้คู่กับตลับใส่ฟิล์มที่มีแผ่นกรองรังสี ชนิดและความหนา ต่างกัน ทาให้เกิดรูปแบบ (pattern) ของการได้รับรังสีที่แตกต่างกันซึ่ง สามารถน ามาวิเคราะห์ ชนิด และปริม าณของรัง สีชนิ ด นั้น ได้แ ก่ Conventional Film ซึ่งตอบสนองต่อรังสี โฟตอนและ บีตา
  • 51. Film Badge  อย่างไรก็ตามหากเลือกใช้ตลับบรรจุชนิดมี Cadmium เป็นแผ่นกรองรังสี จะสามารถตอบสนองต่อ Thermal neutron ได้ เนื่องจาก Thermal neutron ทาอันตรกิริยากับ Cadmium จะให้รังสีแกมมา ทาให้เกิดความ ดาที่บริเวณแผ่นกรองรังสี Cadmium