SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
บทสรุปย่อ
“แผนการจัดการน้าแบบบูรณาการ”
แนวทางป้ องกันน้าท่วม การปรับตัวของพื้นที่การเกษตร การคาดการณ์อุทกภัย การเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ และแบบจาลองการไหลของแม่น้า
ภายใต้ แผนการสนับสนุนของ JICA ในลุ่มน้าเจ้าพระยา
ภูมิหลัง
เนื่องด้วยมีความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แน่นแฟ้ น รัฐบาลญี่ปุ่ น
จึงให้การสนับสนุนประเทศไทยในหลายด้านเพื่อการรับมือกับอุทกภัยในลุ่มน้าเจ้าพระยาได้อย่างทันท่วงทีและ
ในระดับวงกว้าง โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2554 โครงการสนับสนุนเหล่านี้ รวมถึง โครงการจัดทาแผน
จัดการอุทกภัยแบบองค์รวมในลุ่มน้าเจ้าพระยา ซึ่งได้รับการร้องขอจากรัฐบาลไทยเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน
2554 ในโอกาสที่ พณฯ ท่าน นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมโรงงานบาบัดน้าเสีย
บางเขนเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2554 ท่านนายกไม่เพียงแสดงความขอบคุณต่อความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน
ของญี่ปุ่น แต่ยังได้ร้องขอโดยตรงต่ออดีตเอกอัครราชฑูตของญี่ปุ่น Seiji Kojima และ JICA ให้สนับสนุนการ
เตรียมจัดทาแผนแม่บท (Master Plan) ของลุ่มน้าเจ้าพระยา ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสาหรับการจัดการอุทกภัยของ
ประเทศไทยในระยะกลางและระยะยาว จากภูมิหลังนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นจึงตัดสินใจเริ่มต้นดาเนินการจัดทาแผน
แม่บทเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน และตั้งแต่นั้นมา JICA ก็พยายามอย่างต่อเนื่องที่จะศึกษาหาแนวทางที่ดีที่สุด
สาหรับประเทศไทยในการรับมือกับมหาอุทกภัยในระดับที่เคยเกิดขึ้น ผู้เชี่ยวชาญของ JICA ร่วมมือกับ
คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรมชลประทาน และกรมทรัพยากรน้า (ในทีนี้ จะใช้คาว่า
“ทีม JICA”) หลังจากการทางานร่วมกันระหว่างผู้เชี่ยวชาญของญี่ปุ่นและไทยเป็นเวลาหนึ่งปี แผนแม่บทจึงได้
ถูกพัฒนาขึ้น
เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ทีม JICA ได้จัดสัมมนาเพื่อเผยแพร่ร่างแผนแม่บทนี้ โดยใช้ชื่องานว่า
การสนับสนุนของ JICA ในลุ่มน้าเจ้าพระยา “ผ่านมุมมองการบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ”
แนวทางปฏิบัติเพื่อการควบคุมอุทกภัย การปรับตัวของพื้นที่เกษตร การคาดการณ์อุทกภัย การเปลี่ยนแปลง
ข้อค้นพบของ JICA ที่สำคัญสำหรับแผนกำรจัดกำรอุทกภัยมีดังนี้:
 ชุดโครงการต่างๆ ที่เสนอโดย JICA นี้ให้ประสิทธิผลคล้ายคลึงกับโครงการต่างๆ ของรัฐบาล
 ลดค่าใช้จ่ายลงได้ 70%
 การดาเนินโครงการทาได้รวดเร็วกว่ามาก และ
 เนื่องจากไม่สามารถหลีกเลี่ยงน้าท่วมในบางพื้นที่ในลุ่มน้าเจ้าพระยาได้ ชุดโครงการนี้จึงเสนอมาตรการลดพื้นที่
น้าท่วม รวมถึงมาตรการปรับตัวสาหรับพื้นที่เหล่านี้ด้วย
สภาพภูมิอากาศ และแบบจาลองการไหลของแม่น้า โดยมี พณฯ ท่านปลอดประสพ สุรัสวดี Mr. Shigeyuki
Sato เอกอัครราชฑูตญี่ปุ่น และMr. Hiroto Arakawa รองประธานของ JICA เข้าร่วมงานด้วย
ผลการศึกษาที่สาคัญ
1. แผนที่โดยละเอียด
หนึ่งในความยากลาบากอันเกิดจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของลุ่มน้าเจ้าพระยาคือพื้ นที่ระหว่าง
อยุธยากับกรุงเทพ ซึ่งมีระยะทาง 75 กม.นั้น มีความลาดเพียง 2 เมตร ทาให้ลุ่มน้าช่วงนี้ เป็นพื้นที่
ราบ ทีม JICA ศึกษาสภาพความต่าสูงของพื้นที่นี้ อย่างละเอียด เพื่อให้การคานวณการไหลของน้าและ
พื้นที่ซึ่งจะถูกน้าท่วมเป็นไปอย่างแม่นยา ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีลักษณะเฉพาะนี้ ทีมจึงต้องใช้
เทคโนโลยีที่เรียกว่า “การวัดระดับด้วยเลเซอร์ หรือ Laser Profiler” เพื่อให้ทันกับเวลาที่จากัดและ
เพื่อความแม่นยาของข้อมูลที่จะนามาให้จัดทาแผนแม่บท (Master Plan) และได้จัดทาแผนที่ต่าสูง
ของพื้นที่ 24,700 ตารางกิโลเมตรอย่างละเอียด การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้มาซึ่งแผนที่
อย่างละเอียดนี้ จะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อรัฐบาลไทยในการจัดการอุทกภัย การ
ลงทุนในโครงการป้ องกันอุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิผลและคุ้มค่า
2. มาตรการรับมือที่ให้ผลดีที่สุด
ชุดมาตรการรับมือที่นาเสนอนี้ ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ผสมผสานกันทั้งการสร้างเขื่อน การ
บริหารจัดการน้าในเขื่อน การสร้างช่องทางน้าผ่าน และการใช้พื้ นที่เก็บกักน้า มาตรการเหล่านี้
คัดเลือกจากแผนต่างๆ ที่เสนอโดยคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการ
ทรัพยากรน้า (กยน.) และหนึ่งในมาตรการที่สาคัญของแผนแม่บทคือการจัดช่องทางไหลของน้า ทีม
JICA พบว่าช่องทางบายพาสจากอยุธยาเป็นระยะทาง 20 กม. และช่องทางผันน้าโดยวงแหวนรอบ
นอก (Outer Ring Road Diversion Channel) จะให้ผลลัพธ์เท่ากันกับการทาเส้นทางผันน้าตะวันตก/
ตะวันออกระยะทาง 250 กม. และถนนวงแหวนรอบนอกรวมกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วในแง่
ของค่าใช้จ่าย ระยะเวลาในการสร้าง และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ช่อทางบายพาสอยุธยา
20 กม. นั้นถือเป็นแนวทางที่ให้ผลได้ดีกว่าเป็นอย่างมาก
3. การพิจารณาผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรและชุมชน
แผนแม่บทฉบับ JICA นี้ ไม่เพียงศึกษาการป้ องกันอุทกภัยเท่านั้น แต่ยังคานึงถึงการใช้พื้นที่เก็บกักน้า
ด้วย เมื่อพิจารณาผลกระทบจากแผนแม่บทและการจัดแยกประเภทของพื้นที่โดยใช้ระดับน้าท่วมแล้ว
JICA ได้เสนอโครงการแยกอีกโครงการหนึ่ง คือ โครงการรับมืออุทกภัยสาหรับภาคเกษตรของ
ประเทศไทย ซึ่งนาเสนอรูปแบบการทาเกษตรที่ดีที่สุดในพื้นที่เหล่านี้ โครงการจะให้แนวทางเบื้องต้น
และนาเสนอรายงานเชิงเทคนิคสาหรับใช้กับพื้ นที่เสี่ยงถูกน้าท่วม โยอิงจากโครงการนาร่องที่
ดาเนินการจริงในระดับชุมชน

More Related Content

Featured

How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationErica Santiago
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellSaba Software
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageSimplilearn
 

Featured (20)

How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them wellGood Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
Good Stuff Happens in 1:1 Meetings: Why you need them and how to do them well
 
Introduction to C Programming Language
Introduction to C Programming LanguageIntroduction to C Programming Language
Introduction to C Programming Language
 

Jica

  • 1. บทสรุปย่อ “แผนการจัดการน้าแบบบูรณาการ” แนวทางป้ องกันน้าท่วม การปรับตัวของพื้นที่การเกษตร การคาดการณ์อุทกภัย การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และแบบจาลองการไหลของแม่น้า ภายใต้ แผนการสนับสนุนของ JICA ในลุ่มน้าเจ้าพระยา ภูมิหลัง เนื่องด้วยมีความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์และความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจที่แน่นแฟ้ น รัฐบาลญี่ปุ่ น จึงให้การสนับสนุนประเทศไทยในหลายด้านเพื่อการรับมือกับอุทกภัยในลุ่มน้าเจ้าพระยาได้อย่างทันท่วงทีและ ในระดับวงกว้าง โดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2554 โครงการสนับสนุนเหล่านี้ รวมถึง โครงการจัดทาแผน จัดการอุทกภัยแบบองค์รวมในลุ่มน้าเจ้าพระยา ซึ่งได้รับการร้องขอจากรัฐบาลไทยเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2554 ในโอกาสที่ พณฯ ท่าน นายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้เดินทางไปตรวจเยี่ยมโรงงานบาบัดน้าเสีย บางเขนเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2554 ท่านนายกไม่เพียงแสดงความขอบคุณต่อความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ของญี่ปุ่น แต่ยังได้ร้องขอโดยตรงต่ออดีตเอกอัครราชฑูตของญี่ปุ่น Seiji Kojima และ JICA ให้สนับสนุนการ เตรียมจัดทาแผนแม่บท (Master Plan) ของลุ่มน้าเจ้าพระยา ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสาหรับการจัดการอุทกภัยของ ประเทศไทยในระยะกลางและระยะยาว จากภูมิหลังนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นจึงตัดสินใจเริ่มต้นดาเนินการจัดทาแผน แม่บทเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน และตั้งแต่นั้นมา JICA ก็พยายามอย่างต่อเนื่องที่จะศึกษาหาแนวทางที่ดีที่สุด สาหรับประเทศไทยในการรับมือกับมหาอุทกภัยในระดับที่เคยเกิดขึ้น ผู้เชี่ยวชาญของ JICA ร่วมมือกับ คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรมชลประทาน และกรมทรัพยากรน้า (ในทีนี้ จะใช้คาว่า “ทีม JICA”) หลังจากการทางานร่วมกันระหว่างผู้เชี่ยวชาญของญี่ปุ่นและไทยเป็นเวลาหนึ่งปี แผนแม่บทจึงได้ ถูกพัฒนาขึ้น เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2556 ทีม JICA ได้จัดสัมมนาเพื่อเผยแพร่ร่างแผนแม่บทนี้ โดยใช้ชื่องานว่า การสนับสนุนของ JICA ในลุ่มน้าเจ้าพระยา “ผ่านมุมมองการบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ” แนวทางปฏิบัติเพื่อการควบคุมอุทกภัย การปรับตัวของพื้นที่เกษตร การคาดการณ์อุทกภัย การเปลี่ยนแปลง ข้อค้นพบของ JICA ที่สำคัญสำหรับแผนกำรจัดกำรอุทกภัยมีดังนี้:  ชุดโครงการต่างๆ ที่เสนอโดย JICA นี้ให้ประสิทธิผลคล้ายคลึงกับโครงการต่างๆ ของรัฐบาล  ลดค่าใช้จ่ายลงได้ 70%  การดาเนินโครงการทาได้รวดเร็วกว่ามาก และ  เนื่องจากไม่สามารถหลีกเลี่ยงน้าท่วมในบางพื้นที่ในลุ่มน้าเจ้าพระยาได้ ชุดโครงการนี้จึงเสนอมาตรการลดพื้นที่ น้าท่วม รวมถึงมาตรการปรับตัวสาหรับพื้นที่เหล่านี้ด้วย
  • 2. สภาพภูมิอากาศ และแบบจาลองการไหลของแม่น้า โดยมี พณฯ ท่านปลอดประสพ สุรัสวดี Mr. Shigeyuki Sato เอกอัครราชฑูตญี่ปุ่น และMr. Hiroto Arakawa รองประธานของ JICA เข้าร่วมงานด้วย ผลการศึกษาที่สาคัญ 1. แผนที่โดยละเอียด หนึ่งในความยากลาบากอันเกิดจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ของลุ่มน้าเจ้าพระยาคือพื้ นที่ระหว่าง อยุธยากับกรุงเทพ ซึ่งมีระยะทาง 75 กม.นั้น มีความลาดเพียง 2 เมตร ทาให้ลุ่มน้าช่วงนี้ เป็นพื้นที่ ราบ ทีม JICA ศึกษาสภาพความต่าสูงของพื้นที่นี้ อย่างละเอียด เพื่อให้การคานวณการไหลของน้าและ พื้นที่ซึ่งจะถูกน้าท่วมเป็นไปอย่างแม่นยา ด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์ที่มีลักษณะเฉพาะนี้ ทีมจึงต้องใช้ เทคโนโลยีที่เรียกว่า “การวัดระดับด้วยเลเซอร์ หรือ Laser Profiler” เพื่อให้ทันกับเวลาที่จากัดและ เพื่อความแม่นยาของข้อมูลที่จะนามาให้จัดทาแผนแม่บท (Master Plan) และได้จัดทาแผนที่ต่าสูง ของพื้นที่ 24,700 ตารางกิโลเมตรอย่างละเอียด การวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ได้มาซึ่งแผนที่ อย่างละเอียดนี้ จะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อรัฐบาลไทยในการจัดการอุทกภัย การ ลงทุนในโครงการป้ องกันอุทกภัยได้อย่างมีประสิทธิผลและคุ้มค่า 2. มาตรการรับมือที่ให้ผลดีที่สุด ชุดมาตรการรับมือที่นาเสนอนี้ ประกอบด้วยโครงการต่างๆ ผสมผสานกันทั้งการสร้างเขื่อน การ บริหารจัดการน้าในเขื่อน การสร้างช่องทางน้าผ่าน และการใช้พื้ นที่เก็บกักน้า มาตรการเหล่านี้ คัดเลือกจากแผนต่างๆ ที่เสนอโดยคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้า (กยน.) และหนึ่งในมาตรการที่สาคัญของแผนแม่บทคือการจัดช่องทางไหลของน้า ทีม JICA พบว่าช่องทางบายพาสจากอยุธยาเป็นระยะทาง 20 กม. และช่องทางผันน้าโดยวงแหวนรอบ นอก (Outer Ring Road Diversion Channel) จะให้ผลลัพธ์เท่ากันกับการทาเส้นทางผันน้าตะวันตก/ ตะวันออกระยะทาง 250 กม. และถนนวงแหวนรอบนอกรวมกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบกันแล้วในแง่ ของค่าใช้จ่าย ระยะเวลาในการสร้าง และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม ช่อทางบายพาสอยุธยา 20 กม. นั้นถือเป็นแนวทางที่ให้ผลได้ดีกว่าเป็นอย่างมาก 3. การพิจารณาผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรและชุมชน แผนแม่บทฉบับ JICA นี้ ไม่เพียงศึกษาการป้ องกันอุทกภัยเท่านั้น แต่ยังคานึงถึงการใช้พื้นที่เก็บกักน้า ด้วย เมื่อพิจารณาผลกระทบจากแผนแม่บทและการจัดแยกประเภทของพื้นที่โดยใช้ระดับน้าท่วมแล้ว JICA ได้เสนอโครงการแยกอีกโครงการหนึ่ง คือ โครงการรับมืออุทกภัยสาหรับภาคเกษตรของ ประเทศไทย ซึ่งนาเสนอรูปแบบการทาเกษตรที่ดีที่สุดในพื้นที่เหล่านี้ โครงการจะให้แนวทางเบื้องต้น และนาเสนอรายงานเชิงเทคนิคสาหรับใช้กับพื้ นที่เสี่ยงถูกน้าท่วม โยอิงจากโครงการนาร่องที่ ดาเนินการจริงในระดับชุมชน