SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
นางศศิกญญา ดอนดีไพร
                   ั

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
การตกผลึก (Crystallization) คือ การแยกของแข็งออกจากสารละลายอิ่มตัว
ที่อุณหภูมิสูง เมื่ออุณหภูมิลดลงความสามารถในการละลายก็ลดลง ส่วนของตัวละลายที่มีมาก
เกินพอ จะแยกตัวออกจากสารละลายเป็นของแข็งที่มีรูปทรงเลขาคณิต เรียกว่า ผลึก
(Crystal) เมื่อเกิดการตกผลึก ในภาชนะจะประกอบด้วยสารละลายอิ่มตัวและผลึก
             ผลึก หมายถึง ของแข็งที่เป็นเนื้อเดียว ผิวมัน มีรูปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม
ชัดเจน ผลึกเกิดจากสารละลายอิ่มตัวยวดยิ่งที่อุณหภูมิลดลง
สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูก
ละลายอยู่มากที่สุดที่อุณหภูมิห้อง
สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่
ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน
สารละลายมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย และตัวถูกละลาย
วิธีพิจารณาตัวทะละลายและตัวถูกละลายในสารละลาย
 1. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะต่างกัน
             - สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจะเป็นตัวทาละลาย
             - สารที่มีสถานะต่างจากสารละลายจะเป็นตัวถูกละลาย
        สารละลาย          สถานะ          องค์ประกอบ     ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย
         น้าเชื่อม       ของเหลว         น้า + น้าตาล       น้า       น้าตาล
         น้าเกลือ        ของเหลว          น้า + เกลือ       น้า        เกลือ
         น้าโซดา         ของเหลว         น้า + CO2          น้า       CO2
       ยาทิงเจอร์ฯ       ของเหลว      ไอโอดีน + เอทานอล เอทานอล      ไอโอดีน
      ไอน้าในอากาศ         ก๊าซ         ไอน้า + อากาศ      อากาศ      ไอน้า
2. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะเดียวกัน
                         - สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็นตัวทาละลาย
                         - สารที่มีปริมาณน้อยกว่าจะเป็นตัวถูกละลาย
    สารละลาย           สถานะ               องค์ประกอบ                  ตัวทาละลาย           ตัวถูกละลาย
นาก                  ของแข็ง      ทองแดง 90% + ทองคา 10%             ทองแดง 90%         ทองคา 10%
เหรียญห้าบาท         ของแข็ง      ทองแดง 75% + นิกเกิล25%            ทองแดง 75%         นิกเกิล25%
ทองสัมฤทธิ์          ของแข็ง      ทองแดง 80% + ดีบุก 20%             ทองแดง 80%         ดีบุก 20%

                  ในชีวิตประจาวันการพูดถึงความเข้มข้นของสารละลายมักจะไม่ระบุเป็นค่าตัวเลขแต่จะระบุเป็น
      สารละลายเข้มข้นหรือสารละลายเจือจาง
       สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายมาก
       สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายน้อย
      ความสามารถในการละลายของสารขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ซึ่งสารส่วนใหญ่ที่อุณหภูมิสูงจะละลายได้มากกว่าที่
      อุณหภูมิต่า
ตัวอย่างผลึก


        ผลึกกามะถัน
รูปร่างแปดเหลี่ยมหรือปิรามิด                          ผลึกกามะถัน
ฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน                   รูปร่างสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน




                                                  ผลึกโซเดียมคลอไรด์
              ผลึกจุนสี                         รูปร่างสี่เหลี่ยมลูกบาศก์
           รูปร่างสี่เหลี่ยม
ใบงานเรือง การตกผลึก
                                                                 ่

1. ผลึก คือ................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
2. สารต่างชนิดกัน จะมีรูปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่.....................................................................
....................................................................................................................................................................
3. การตกผลึก หมายถึง ..........................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
 4. ผลึกของสารต่อไปนี้มีรูปร่างอย่างไร
โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ...........................................................................................................................
สารส้ม                    รูปร่าง .............................................................................................................................
จุนสี                   รูปร่าง ...............................................................................................................................
5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง...................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง.......................................................................................................
....................................................................................................................................................................
เฉลยใบงาน
                                                                                                  เรื่อง การตกผลึก




1. ผลึก คือ ของแข็งที่มีรปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม มีรปร่างเฉพาะ ผิวเรียบ แยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว
                                            ู                                                              ู
2. สารต่างชนิดกัน จะมีรปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่...........ไม่เหมือนกัน........................................................................
                                       ู
3. การตกผลึก หมายถึง .....ปรากฎการณ์ที่ของแข็งที่เป็ นตัวถูกละลายแยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว
4. ผลึกของสารต่อไปนีมีรปร่างอย่างไร  ้ ู
โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ........สี่เปลี่ยมลูกบาศก์.......................................................................................................................................
สารส้ม รูปร่าง .........แปดเหลี่ยมหรือปิรามิดฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน....................................................................................
จุนสี     รูปร่าง .....รูปร่างสี่เหลี่ยม..........................................................................................................................................................
5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง..สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูกละลายอยู่มากที่สุดที่
อุณหภูมิห้อง.........................................................................................................................................................................................................
6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง......สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
แบบฝึกหัด
                              เรื่อง การตกผลึก

   คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวทาละลายและตัวถูกละลายของสารละลายต่อไปนี้

 สารละลาย         สถานะ               องค์ประกอบ               ตัวทาละลาย   ตัวถูกละลาย
  น้าเชื่อม      ของเหลว              น้า + น้าตาล
    นาก           ของแข็ง    ทองแดง 90% + ทองคา 10%
  น้าเกลือ       ของเหลว               น้า + เกลือ
เหรียญห้าบาท      ของแข็ง    ทองแดง 75% + นิกเกิล25%
  น้าโซดา        ของเหลว              น้า + CO2
ทองสัมฤทธิ์       ของแข็ง     ทองแดง 80% + ดีบุก 20%
 ยาทิงเจอร์ฯ     ของเหลว           ไอโอดีน + เอทานอล
ไอน้าในอากาศ        ก๊าซ             ไอน้า + อากาศ
เฉลยแบบฝึกหัด


 สารละลาย       สถานะ          องค์ประกอบ          ตัวทาละลาย   ตัวถูกละลาย
  น้าเชื่อม    ของเหลว         น้า + น้าตาล            น้า         น้าตาล
    นาก        ของแข็ง   ทองแดง 90% + ทองคา 10%    ทองแดง 90%   ทองคา 10%
  น้าเกลือ     ของเหลว          น้า + เกลือ            น้า         เกลือ
เหรียญห้าบาท   ของแข็ง   ทองแดง 75% + นิกเกิล25%   ทองแดง 75%   นิกเกิล25%
  น้าโซดา      ของเหลว          น้า + CO2              น้า         CO2
 ทองสัมฤทธิ์   ของแข็ง   ทองแดง 80% + ดีบุก 20%    ทองแดง 80%   ดีบุก 20%
 ยาทิงเจอร์ฯ   ของเหลว      ไอโอดีน + เอทานอล       เอทานอล      ไอโอดีน
ไอน้าในอากาศ    ก๊าซ          ไอน้า + อากาศ          อากาศ         ไอน้า
การตกผลึก

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 

การตกผลึก

  • 1. นางศศิกญญา ดอนดีไพร ั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
  • 2. การตกผลึก (Crystallization) คือ การแยกของแข็งออกจากสารละลายอิ่มตัว ที่อุณหภูมิสูง เมื่ออุณหภูมิลดลงความสามารถในการละลายก็ลดลง ส่วนของตัวละลายที่มีมาก เกินพอ จะแยกตัวออกจากสารละลายเป็นของแข็งที่มีรูปทรงเลขาคณิต เรียกว่า ผลึก (Crystal) เมื่อเกิดการตกผลึก ในภาชนะจะประกอบด้วยสารละลายอิ่มตัวและผลึก ผลึก หมายถึง ของแข็งที่เป็นเนื้อเดียว ผิวมัน มีรูปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม ชัดเจน ผลึกเกิดจากสารละลายอิ่มตัวยวดยิ่งที่อุณหภูมิลดลง สารละลายอิ่มตัว หมายถึง สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูก ละลายอยู่มากที่สุดที่อุณหภูมิห้อง สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
  • 3. สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารบริสุทธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกัน สารละลายมีองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวทาละลาย และตัวถูกละลาย วิธีพิจารณาตัวทะละลายและตัวถูกละลายในสารละลาย 1. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะต่างกัน - สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจะเป็นตัวทาละลาย - สารที่มีสถานะต่างจากสารละลายจะเป็นตัวถูกละลาย สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย น้าเชื่อม ของเหลว น้า + น้าตาล น้า น้าตาล น้าเกลือ ของเหลว น้า + เกลือ น้า เกลือ น้าโซดา ของเหลว น้า + CO2 น้า CO2 ยาทิงเจอร์ฯ ของเหลว ไอโอดีน + เอทานอล เอทานอล ไอโอดีน ไอน้าในอากาศ ก๊าซ ไอน้า + อากาศ อากาศ ไอน้า
  • 4. 2. ถ้าตัวทาละลายและตัวถูกละลายมีสถานะเดียวกัน - สารที่มีปริมาณมากกว่าจะเป็นตัวทาละลาย - สารที่มีปริมาณน้อยกว่าจะเป็นตัวถูกละลาย สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย นาก ของแข็ง ทองแดง 90% + ทองคา 10% ทองแดง 90% ทองคา 10% เหรียญห้าบาท ของแข็ง ทองแดง 75% + นิกเกิล25% ทองแดง 75% นิกเกิล25% ทองสัมฤทธิ์ ของแข็ง ทองแดง 80% + ดีบุก 20% ทองแดง 80% ดีบุก 20% ในชีวิตประจาวันการพูดถึงความเข้มข้นของสารละลายมักจะไม่ระบุเป็นค่าตัวเลขแต่จะระบุเป็น สารละลายเข้มข้นหรือสารละลายเจือจาง สารละลายเข้มข้น หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายมาก สารละลายเจือจาง หมายถึง สารละลายที่มีปริมาณตัวถูกละลายน้อย ความสามารถในการละลายของสารขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ซึ่งสารส่วนใหญ่ที่อุณหภูมิสูงจะละลายได้มากกว่าที่ อุณหภูมิต่า
  • 5. ตัวอย่างผลึก ผลึกกามะถัน รูปร่างแปดเหลี่ยมหรือปิรามิด ผลึกกามะถัน ฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน รูปร่างสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ผลึกโซเดียมคลอไรด์ ผลึกจุนสี รูปร่างสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ รูปร่างสี่เหลี่ยม
  • 6. ใบงานเรือง การตกผลึก ่ 1. ผลึก คือ................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 2. สารต่างชนิดกัน จะมีรูปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่..................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. การตกผลึก หมายถึง .......................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 4. ผลึกของสารต่อไปนี้มีรูปร่างอย่างไร โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ........................................................................................................................... สารส้ม รูปร่าง ............................................................................................................................. จุนสี รูปร่าง ............................................................................................................................... 5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง....................................................................................................... ....................................................................................................................................................................
  • 7. เฉลยใบงาน เรื่อง การตกผลึก 1. ผลึก คือ ของแข็งที่มีรปทรงเรขาคณิต มีเหลี่ยมมุม มีรปร่างเฉพาะ ผิวเรียบ แยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว ู ู 2. สารต่างชนิดกัน จะมีรปร่างของผลึกเหมือนกันหรือไม่...........ไม่เหมือนกัน........................................................................ ู 3. การตกผลึก หมายถึง .....ปรากฎการณ์ที่ของแข็งที่เป็ นตัวถูกละลายแยกตัวออกจากสารละลายอิ่มตัว 4. ผลึกของสารต่อไปนีมีรปร่างอย่างไร ้ ู โซเดียมคลอไรด์ รูปร่าง ........สี่เปลี่ยมลูกบาศก์....................................................................................................................................... สารส้ม รูปร่าง .........แปดเหลี่ยมหรือปิรามิดฐานสี่เหลี่ยม 2 อันประกบกัน.................................................................................... จุนสี รูปร่าง .....รูปร่างสี่เหลี่ยม.......................................................................................................................................................... 5. สารละลายอิ่มตัว หมายถึง..สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวถูกละลายได้อีกเนื่องจากมีตัวถูกละลายอยู่มากที่สุดที่ อุณหภูมิห้อง......................................................................................................................................................................................................... 6. สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง หมายถึง......สารละลายที่มีตัวถูกละลายอยู่ในปริมาณที่เกินกว่าอัตราที่ละลายได้ที่อุณหภูมิห้อง
  • 8. แบบฝึกหัด เรื่อง การตกผลึก คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนตัวทาละลายและตัวถูกละลายของสารละลายต่อไปนี้ สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย น้าเชื่อม ของเหลว น้า + น้าตาล นาก ของแข็ง ทองแดง 90% + ทองคา 10% น้าเกลือ ของเหลว น้า + เกลือ เหรียญห้าบาท ของแข็ง ทองแดง 75% + นิกเกิล25% น้าโซดา ของเหลว น้า + CO2 ทองสัมฤทธิ์ ของแข็ง ทองแดง 80% + ดีบุก 20% ยาทิงเจอร์ฯ ของเหลว ไอโอดีน + เอทานอล ไอน้าในอากาศ ก๊าซ ไอน้า + อากาศ
  • 9. เฉลยแบบฝึกหัด สารละลาย สถานะ องค์ประกอบ ตัวทาละลาย ตัวถูกละลาย น้าเชื่อม ของเหลว น้า + น้าตาล น้า น้าตาล นาก ของแข็ง ทองแดง 90% + ทองคา 10% ทองแดง 90% ทองคา 10% น้าเกลือ ของเหลว น้า + เกลือ น้า เกลือ เหรียญห้าบาท ของแข็ง ทองแดง 75% + นิกเกิล25% ทองแดง 75% นิกเกิล25% น้าโซดา ของเหลว น้า + CO2 น้า CO2 ทองสัมฤทธิ์ ของแข็ง ทองแดง 80% + ดีบุก 20% ทองแดง 80% ดีบุก 20% ยาทิงเจอร์ฯ ของเหลว ไอโอดีน + เอทานอล เอทานอล ไอโอดีน ไอน้าในอากาศ ก๊าซ ไอน้า + อากาศ อากาศ ไอน้า