SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
สารบัญ<br />เรื่อง                                                                                                                                                   หน้า<br />การปฏิวัติทางภูมิปัญญา ใน คริสต์ศตวรรษที่ 18                                                                              1-2<br />นักปรัชญาการเมืองแนวประชาธิปไตย                                                                                                     <br />- โทมัส  ฮอปส์                                                                                                                                    3<br />- จอห์น  ล็อค                                                                                                                                     4<br />- มองเตสกิเออ                                                                                                                                    5                                                                                                                        <br />- รุสโซ                                                                                                                                                6<br />บรรณณานุกรม                                                                                                                                  7<br />การปฏิวัติทางภูมิปัญญา ใน คริสต์ศตวรรษที่ 18<br />          นับตั้งแต่สังคมยุโรปก้าวเข้าสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นต้นมา ได้ปรากฏให้เห็นความเปลี่ยนแปลงอันหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการก่อตัวของรัฐสมัยใหม่ การขยายตัวทางการค้าและชนชั้นกลางที่สัมพันธ์กับการค้า รวมถึงความก้าวหน้าทางความคิดแบบเหตุผลนิยม มนุษย์นิยม        ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้นมิได้หยุดนิ่ง หากแต่มีพัฒนาการหรือทวีความเข้มข้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะความเจริญก้าวหน้าทางความคิดและวิทยาศาสตร์ อันนำมาสู่การขยายตัวของการแสวงหาความจริงด้วยเหตุผลและการแสวงหาความรู้จากการสังเกตและประสบการณ์ ตัวอย่างของความเจริญทางปัญญาสะท้อนเด่นชัดผ่านคำกล่าวของนิวตันที่ว่า “ความจริงเป็นสิ่งที่มนุษย์สามารถค้นหาได้ โดยอาศัยที่รู้จักคิด” ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจแต่ประการใดที่จะมีการเรียกขานศตวรรษที่ 18 – 19 ว่าเป็น “ยุคภูมิธรรม” หรือ “ยุครู้แจ้ง” (Enlightenment)        พร้อมกับความก้าวหน้าทางความคิด ระบบเศรษฐกิจยังเจริญรุดหน้าไม่หยุดยั้งหลังจากมีการค้นพบโลกใหม่ ศูนย์กลางการค้าในยุโรปช่วงเวลานี้มิได้จำกัดตัวอยู่เฉพาะบริเวณแหลมอิตาลีเท่านั้น แต่เริ่มขยายตัวเข้าสู่ยุโรปตะวันตก เช่น ประเทศฮอลันดา อังกฤษและฝรั่งเศส สินค้าต่าง ๆ จากตะวันออกและโลกใหม่ ซึ่งเป็นที่ปรารถนาของชาวตะวันตกพากันหลั่งไหลเข้าสู่ตลาดในยุโรป การค้าที่เติบโตขึ้น ด้านหนึ่งส่งผลให้เริ่มมีการคิดทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจแบบใหม่ที่ก้าวหน้าและได้ผลประโยชน์สูง เช่น การเริ่มสร้างระบบธนาคารเงินกู้และสินเชื่อ อีกด้านหนึ่งการขยายตัวทางการค้าก็มีส่วนให้ชนชั้นกลางในยุโรปทวีจำนวนมากขึ้นเป็นเงาตามตัว<br />    ความก้าวหน้าทางความคิด ความจำเริญเติบโตของการค้าและชนชั้นกลางดังกล่าว ถือเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่ทำให้เกิดผลกระทบอื่น ๆ ตามมาอย่างเป็นพลวัต ผลกระทบที่สืบเนื่องซึ่งมีความโดดเด่นและกลายเป็นแรงขับดันที่พลิกโฉมประเทศต่าง ๆ ในโลกตะวันตกให้กลายเป็นมหาอำนาจครอบงำโลกจวบจนปัจจุบัน คือ การปฏิวัติทางการเมืองและการปฏิวัติอุตสาหกรรม ดังนั้นในส่วนนี้จะพิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวในแต่ละมิติ   <br />                      <br />การปฏิวัติทางการเมืองการปกครอง <br />         มิติการเมืองการปกครอง อิทธิพลของแนวคิดแบบเหตุผลนิยมที่ยกย่องความสามารถของมนุษย์ว่าเป็นผู้มีเหตุผล ทำให้ชาวตะวันตกเห็นคุณค่าและความสำคัญของมนุษย์ ไม่งมงายต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างปราศจากเหตุผล ปรารถนาที่จะเรียนรู้ คิด ก้าวหน้าและเริ่มเรียนรู้ที่จะประนีประนอมกับแนวคิดที่แตกต่างจากตน ประกอบกับการเติบโตของชนชั้นกลางจากการค้าและอุตสาหกรรม (จะกล่าวถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรมข้างหน้า) ที่ต้องการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง ได้ผลักดันให้เกิดความพยายามที่จะต่อสู้ เรียกร้องเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองในราวศตวรรษที่ 18 โดยเริ่มจากการนำเสนอทฤษฎีการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นในโลกตะวันตก            <br />นักปรัชญาการเมืองแนวประชาธิปไตย<br />โทมัส  ฮอปส์<br />          ทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) (5 เมษายน พ.ศ. 2131 (ค.ศ. 1588) - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2222 (ค.ศ. 1679)) เป็นนักปรัชญาการเมือง ชาวอังกฤษ ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังจากผลงานที่สำคัญคือหนังสือชื่อ Leviathan ที่เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2194 หนังสือเล่มนี้กลายเป็นฐานประเด็นในแนวปรัชญาการเมืองตะวันตกในสมัยต่อมาในเกือบทุกแนว<br />          ถึงแม้ว่าทุกคนได้รู้จักโทมัส ฮอบส์จากงานเขียนกี่ยวกับปรัชญาการเมืองตะวันตกก็จริง แต่ที่จริงแล้วฮอบส์ได้สร้างผลงานที่เป็นประโยชน์ไว้อีกหลายด้าน เช่น ประวัติศาสตร์ เรขาคณิต เทววิทยา จริยธรรม รวมทั้งด้านปรัชญาทั่วๆ ไปอีกหลายเรื่อง และที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันว่า รัฐศาสตร์ (political science) นอกจากนี้สิ่งที่ฮอบบส์เชื่อที่ว่า quot;
มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติมีการร่วมมือกันก็โดยมุ่งผลประโยชน์ส่วนตัวquot;
 ซึ่งข้อคิดนี้ได้รับการพิสูจน์ในทฤษฎีของ ปรัชญามานุษยวิทยาต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน<br />แนวคิด  : 1. เสนอว่าอำนาจการปกครองต้องรวมอยู่ที่บุคคลคนเดียวเพื่อมิให้มนุษย์กลับไปสู่สภาพธรรมชาติของตนที่เลวร้าย กษัตริย์มีอำนาจการปกครองสูงสุด มนุษย์ต้องเชื่อฟังกฎหมายที่กษัตริย์บัญญัติขึ้น2. เน้นว่าอำนาจของกษัตริย์มาจากความยินยอมของประขาชนมิได้มาจาสกลัทธิเทวสิทธิ์3. เสนอว่ามนุษย์ควรเชื่อด้วยเหตุผลและวิธีทางวิทยาศาสตร์ เขายอมรับพระเจ้าแต่ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นำทางศาสนา<br />ผลงาน  :  Leviathan <br />จอห์น  ล็อค<br />           จอห์น ล็อก (อังกฤษ: John Locke; 29 สิงหาคม พ.ศ. 2175-28 ตุลาคม พ.ศ. 2247) เป็นนักปรัชญา ชาวอังกฤษ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 ความสนใจหลักของเขาคือสังคมและทฤษฎีของความรู้<br />          แนวคิด :  ของล็อกที่เกี่ยวกับ quot;
ผู้ปกครองที่ได้รับการยอมรับจากผู้ใต้ปกครองquot;
 และสิทธิธรรมชาติของมนุษย์ ที่เขาอธิบายว่าประกอบไปด้วย ชีวิต, เสรีภาพ, และทรัพย์สิน นั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อพัฒนาการทางปรัชญาการเมือง แนวคิดของเขาเป็นพื้นฐานของกฎหมายและรัฐบาลอเมริกัน ซึ่งผู้บุกเบิกได้ใช้มันเป็นเหตุผลของการปฏิวัติ<br />แนวคิด : 1. ประชาชนทุกคนมีสิทธิตามธรรมชาติ คือ สิทธิในชีวิตเสรีภาพ และทรัพย์สิน2. ไม่เห็นด้วยกับโทมัส ฮอบส์ที่ว่าให้รวมอำนาจปกครองไว้ที่บุคคลเพียงคนเดียวเท่านั้น3. มนุษย์เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาลถ้ารัฐบาลทำผิดสัญญาประชาคม ประชาชนมีสิทธิ์ล้มรัฐบาลได้4. เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดแบ่งแยกอำนาจ5. เห็นว่ารัฐเป็นเพียงกลไกที่มนุษย์พร้อมใจกันสร้างขึ้นเพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ของตนอำนาจอธิปไตยยังเป็นของประชาชนส่วนใหญ่อำนาจทางการเมืองที่แท้จริงมาจากประชาชน ทุกคนมีความเสมอภาคทางงกฎหมายรัฐมีหน้าที่หลักคือรักษาสิทธิขั้นมูลฐานของมนุษย์6. แนวคิดของเขาเป็นทั้งทฤษฎีประชาธิปไตยและทฤษฎีการปฏิวัติและมีอิทธิพลอย่างมากต่อนักปฏิวัติชาวอเมริกันและชาวฝรั่งเศส<br />ผลงาน  : Two Treaties of Government, A Letter Concerning Toreration   <br />มองเตสกิเออ<br />1981200263525<br />          มองเตสกิเออหรือ ชารล์ หลุยส์ เดอ เซก้องม บารอน เดอ ลา เบร์ด เอ็ท เดอ มองเตสกิเออร์ (Charles Louis de Secondat, baron de la Brede et de Montesquieu)เกิด: ใกล้ บอกด์โดซ์ ในปี ค.ศ. 1689<br />          ความสนใจในแนวคิดเสรีนิยมโดยเฉพาะเป็นเครื่องเน้นย้ำให้เห็นถึงเสรีภาพทางการเมือง หลายคนมองว่าผลงานเรื่อง“Spirit of the Laws” ของเขานั้นเป็นการเริ่มต้นอย่างชาญฉลาดของแนวคิดการเมืองเสรีนิยมและให้ความสำคัญกับอิทธิพลของมองเตสกิเออร์ที่มีต่อหลักการของการตรวจสอบและคานอำนาจในรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา<br />แนวคิด : 1. ทฤษฎีแบ่งอำนาจการเมือง 3 ฝ่ายคือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ2. ระบบการปกครองต้องสอดคล้องกับลักษณะภูมิประเทศและประวัติศาสต์ของแต่ละสังคม3. การปกครองที่ดีที่สุดคือให้กษัตริย์ยู่ใต้รัฐธรรมนูญ<br />ผลงาน  : The Spirit of Laws   <br />รุสโซ<br />          ฌ็อง-ฌัก รูโซ (ฝรั่งเศส: Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคแสงสว่าง<br />         ปรัชญาของรูโซ : คำสอนของเขาสอนให้คนหันกลับไปหาธรรมชาติ (back to nature) เป็นการยกย่องคุณค่าของคนว่า quot;
ธรรมชาติของคนดีอยู่แล้วแต่สังคมทำให้คนไม่เสมอภาคกันquot;
 เขาบอกว่า quot;
เหตุผลมีประโยชน์ แต่มิใช่คำตอบของชีวิต ดังนั้นเราจึงต้องพึ่งความรู้สึก สัญชาตญาณและอารมณ์ของเราเอง ให้มากกว่าเหตุผล<br />แนวคิด : 1. เจ้าทฤษฎี”อำนาจอธิปไตยของประชาชน” 2. เน้นเรื่อง”เจตจำนงร่วมของประชาชน” (General Will) คืออำนาจสูงสุดในการปกครอง3. เสนอว่ามนุษย์มาอยู่รวมกันเป็น”องค์อธิปัตย์”คือองกรที่มีอำนาจสูงสุดดังนั้นรัฐบาลต้องยอมรับเจตจำนงทั่วไปของประขาขนรัฐบาลต้องสร้างความเสมอภาคให้การศึกษาจัดระบบกิจการคลังที่ดี มีระบบการเก็บภาษีมรดกและสิ่งฟุ่มเฟือย4. มนุษย์เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาสลถ้ารัฐบาลทำผิดสัญญาประชาคมประชาชนมีสิทธิ์ล้มรัฐบาลได้5. มีผลต่อการปฏิวัติฝรั่งเศส”เสรีภาพ เสมอภาพ ภารดรภาพ” 6.“มนุษย์เกิดมาอิสระแต่ทุกหนทุกแห่งเขาตกอยู่ในพันธนาการ”<br />ผลงาน  :  Social Contract (สัญญาประชาคม) <br />บรรณณานุกรม<br />http://www.thaigoodview.com/node/20031<br />
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ
ประวัติ

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ประวัติ

  • 1. สารบัญ<br />เรื่อง หน้า<br />การปฏิวัติทางภูมิปัญญา ใน คริสต์ศตวรรษที่ 18 1-2<br />นักปรัชญาการเมืองแนวประชาธิปไตย <br />- โทมัส  ฮอปส์ 3<br />- จอห์น  ล็อค 4<br />- มองเตสกิเออ 5 <br />- รุสโซ 6<br />บรรณณานุกรม 7<br />การปฏิวัติทางภูมิปัญญา ใน คริสต์ศตวรรษที่ 18<br />          นับตั้งแต่สังคมยุโรปก้าวเข้าสู่ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการเป็นต้นมา ได้ปรากฏให้เห็นความเปลี่ยนแปลงอันหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการก่อตัวของรัฐสมัยใหม่ การขยายตัวทางการค้าและชนชั้นกลางที่สัมพันธ์กับการค้า รวมถึงความก้าวหน้าทางความคิดแบบเหตุผลนิยม มนุษย์นิยม        ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวข้างต้นมิได้หยุดนิ่ง หากแต่มีพัฒนาการหรือทวีความเข้มข้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะความเจริญก้าวหน้าทางความคิดและวิทยาศาสตร์ อันนำมาสู่การขยายตัวของการแสวงหาความจริงด้วยเหตุผลและการแสวงหาความรู้จากการสังเกตและประสบการณ์ ตัวอย่างของความเจริญทางปัญญาสะท้อนเด่นชัดผ่านคำกล่าวของนิวตันที่ว่า “ความจริงเป็นสิ่งที่มนุษย์สามารถค้นหาได้ โดยอาศัยที่รู้จักคิด” ดังนั้นจึงไม่น่าแปลกใจแต่ประการใดที่จะมีการเรียกขานศตวรรษที่ 18 – 19 ว่าเป็น “ยุคภูมิธรรม” หรือ “ยุครู้แจ้ง” (Enlightenment)        พร้อมกับความก้าวหน้าทางความคิด ระบบเศรษฐกิจยังเจริญรุดหน้าไม่หยุดยั้งหลังจากมีการค้นพบโลกใหม่ ศูนย์กลางการค้าในยุโรปช่วงเวลานี้มิได้จำกัดตัวอยู่เฉพาะบริเวณแหลมอิตาลีเท่านั้น แต่เริ่มขยายตัวเข้าสู่ยุโรปตะวันตก เช่น ประเทศฮอลันดา อังกฤษและฝรั่งเศส สินค้าต่าง ๆ จากตะวันออกและโลกใหม่ ซึ่งเป็นที่ปรารถนาของชาวตะวันตกพากันหลั่งไหลเข้าสู่ตลาดในยุโรป การค้าที่เติบโตขึ้น ด้านหนึ่งส่งผลให้เริ่มมีการคิดทำธุรกรรมทางเศรษฐกิจแบบใหม่ที่ก้าวหน้าและได้ผลประโยชน์สูง เช่น การเริ่มสร้างระบบธนาคารเงินกู้และสินเชื่อ อีกด้านหนึ่งการขยายตัวทางการค้าก็มีส่วนให้ชนชั้นกลางในยุโรปทวีจำนวนมากขึ้นเป็นเงาตามตัว<br />    ความก้าวหน้าทางความคิด ความจำเริญเติบโตของการค้าและชนชั้นกลางดังกล่าว ถือเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่ทำให้เกิดผลกระทบอื่น ๆ ตามมาอย่างเป็นพลวัต ผลกระทบที่สืบเนื่องซึ่งมีความโดดเด่นและกลายเป็นแรงขับดันที่พลิกโฉมประเทศต่าง ๆ ในโลกตะวันตกให้กลายเป็นมหาอำนาจครอบงำโลกจวบจนปัจจุบัน คือ การปฏิวัติทางการเมืองและการปฏิวัติอุตสาหกรรม ดังนั้นในส่วนนี้จะพิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวในแต่ละมิติ   <br />                      <br />การปฏิวัติทางการเมืองการปกครอง <br />         มิติการเมืองการปกครอง อิทธิพลของแนวคิดแบบเหตุผลนิยมที่ยกย่องความสามารถของมนุษย์ว่าเป็นผู้มีเหตุผล ทำให้ชาวตะวันตกเห็นคุณค่าและความสำคัญของมนุษย์ ไม่งมงายต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างปราศจากเหตุผล ปรารถนาที่จะเรียนรู้ คิด ก้าวหน้าและเริ่มเรียนรู้ที่จะประนีประนอมกับแนวคิดที่แตกต่างจากตน ประกอบกับการเติบโตของชนชั้นกลางจากการค้าและอุตสาหกรรม (จะกล่าวถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรมข้างหน้า) ที่ต้องการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง ได้ผลักดันให้เกิดความพยายามที่จะต่อสู้ เรียกร้องเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองในราวศตวรรษที่ 18 โดยเริ่มจากการนำเสนอทฤษฎีการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นในโลกตะวันตก            <br />นักปรัชญาการเมืองแนวประชาธิปไตย<br />โทมัส  ฮอปส์<br /> ทมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) (5 เมษายน พ.ศ. 2131 (ค.ศ. 1588) - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2222 (ค.ศ. 1679)) เป็นนักปรัชญาการเมือง ชาวอังกฤษ ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังจากผลงานที่สำคัญคือหนังสือชื่อ Leviathan ที่เขียนขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2194 หนังสือเล่มนี้กลายเป็นฐานประเด็นในแนวปรัชญาการเมืองตะวันตกในสมัยต่อมาในเกือบทุกแนว<br /> ถึงแม้ว่าทุกคนได้รู้จักโทมัส ฮอบส์จากงานเขียนกี่ยวกับปรัชญาการเมืองตะวันตกก็จริง แต่ที่จริงแล้วฮอบส์ได้สร้างผลงานที่เป็นประโยชน์ไว้อีกหลายด้าน เช่น ประวัติศาสตร์ เรขาคณิต เทววิทยา จริยธรรม รวมทั้งด้านปรัชญาทั่วๆ ไปอีกหลายเรื่อง และที่เป็นที่รู้จักในปัจจุบันว่า รัฐศาสตร์ (political science) นอกจากนี้สิ่งที่ฮอบบส์เชื่อที่ว่า quot; มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติมีการร่วมมือกันก็โดยมุ่งผลประโยชน์ส่วนตัวquot; ซึ่งข้อคิดนี้ได้รับการพิสูจน์ในทฤษฎีของ ปรัชญามานุษยวิทยาต่อเนื่องมาอย่างยาวนาน<br />แนวคิด : 1. เสนอว่าอำนาจการปกครองต้องรวมอยู่ที่บุคคลคนเดียวเพื่อมิให้มนุษย์กลับไปสู่สภาพธรรมชาติของตนที่เลวร้าย กษัตริย์มีอำนาจการปกครองสูงสุด มนุษย์ต้องเชื่อฟังกฎหมายที่กษัตริย์บัญญัติขึ้น2. เน้นว่าอำนาจของกษัตริย์มาจากความยินยอมของประขาชนมิได้มาจาสกลัทธิเทวสิทธิ์3. เสนอว่ามนุษย์ควรเชื่อด้วยเหตุผลและวิธีทางวิทยาศาสตร์ เขายอมรับพระเจ้าแต่ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นำทางศาสนา<br />ผลงาน : Leviathan <br />จอห์น  ล็อค<br /> จอห์น ล็อก (อังกฤษ: John Locke; 29 สิงหาคม พ.ศ. 2175-28 ตุลาคม พ.ศ. 2247) เป็นนักปรัชญา ชาวอังกฤษ ในยุคคริสต์ศตวรรษที่ 17 ความสนใจหลักของเขาคือสังคมและทฤษฎีของความรู้<br /> แนวคิด : ของล็อกที่เกี่ยวกับ quot; ผู้ปกครองที่ได้รับการยอมรับจากผู้ใต้ปกครองquot; และสิทธิธรรมชาติของมนุษย์ ที่เขาอธิบายว่าประกอบไปด้วย ชีวิต, เสรีภาพ, และทรัพย์สิน นั้นมีอิทธิพลอย่างมากต่อพัฒนาการทางปรัชญาการเมือง แนวคิดของเขาเป็นพื้นฐานของกฎหมายและรัฐบาลอเมริกัน ซึ่งผู้บุกเบิกได้ใช้มันเป็นเหตุผลของการปฏิวัติ<br />แนวคิด : 1. ประชาชนทุกคนมีสิทธิตามธรรมชาติ คือ สิทธิในชีวิตเสรีภาพ และทรัพย์สิน2. ไม่เห็นด้วยกับโทมัส ฮอบส์ที่ว่าให้รวมอำนาจปกครองไว้ที่บุคคลเพียงคนเดียวเท่านั้น3. มนุษย์เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาลถ้ารัฐบาลทำผิดสัญญาประชาคม ประชาชนมีสิทธิ์ล้มรัฐบาลได้4. เป็นผู้ริเริ่มแนวคิดแบ่งแยกอำนาจ5. เห็นว่ารัฐเป็นเพียงกลไกที่มนุษย์พร้อมใจกันสร้างขึ้นเพื่อพิทักษ์ผลประโยชน์ของตนอำนาจอธิปไตยยังเป็นของประชาชนส่วนใหญ่อำนาจทางการเมืองที่แท้จริงมาจากประชาชน ทุกคนมีความเสมอภาคทางงกฎหมายรัฐมีหน้าที่หลักคือรักษาสิทธิขั้นมูลฐานของมนุษย์6. แนวคิดของเขาเป็นทั้งทฤษฎีประชาธิปไตยและทฤษฎีการปฏิวัติและมีอิทธิพลอย่างมากต่อนักปฏิวัติชาวอเมริกันและชาวฝรั่งเศส<br />ผลงาน : Two Treaties of Government, A Letter Concerning Toreration   <br />มองเตสกิเออ<br />1981200263525<br /> มองเตสกิเออหรือ ชารล์ หลุยส์ เดอ เซก้องม บารอน เดอ ลา เบร์ด เอ็ท เดอ มองเตสกิเออร์ (Charles Louis de Secondat, baron de la Brede et de Montesquieu)เกิด: ใกล้ บอกด์โดซ์ ในปี ค.ศ. 1689<br /> ความสนใจในแนวคิดเสรีนิยมโดยเฉพาะเป็นเครื่องเน้นย้ำให้เห็นถึงเสรีภาพทางการเมือง หลายคนมองว่าผลงานเรื่อง“Spirit of the Laws” ของเขานั้นเป็นการเริ่มต้นอย่างชาญฉลาดของแนวคิดการเมืองเสรีนิยมและให้ความสำคัญกับอิทธิพลของมองเตสกิเออร์ที่มีต่อหลักการของการตรวจสอบและคานอำนาจในรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา<br />แนวคิด : 1. ทฤษฎีแบ่งอำนาจการเมือง 3 ฝ่ายคือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ2. ระบบการปกครองต้องสอดคล้องกับลักษณะภูมิประเทศและประวัติศาสต์ของแต่ละสังคม3. การปกครองที่ดีที่สุดคือให้กษัตริย์ยู่ใต้รัฐธรรมนูญ<br />ผลงาน : The Spirit of Laws   <br />รุสโซ<br /> ฌ็อง-ฌัก รูโซ (ฝรั่งเศส: Jean-Jacques Rousseau; 28 มิถุนายน พ.ศ. 2255 - 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2321) เป็นนักปรัชญา นักเขียน นักทฤษฎีการเมือง และนักประพันธ์เพลงที่ฝึกหัดด้วยตนเองแห่งยุคแสงสว่าง<br /> ปรัชญาของรูโซ : คำสอนของเขาสอนให้คนหันกลับไปหาธรรมชาติ (back to nature) เป็นการยกย่องคุณค่าของคนว่า quot; ธรรมชาติของคนดีอยู่แล้วแต่สังคมทำให้คนไม่เสมอภาคกันquot; เขาบอกว่า quot; เหตุผลมีประโยชน์ แต่มิใช่คำตอบของชีวิต ดังนั้นเราจึงต้องพึ่งความรู้สึก สัญชาตญาณและอารมณ์ของเราเอง ให้มากกว่าเหตุผล<br />แนวคิด : 1. เจ้าทฤษฎี”อำนาจอธิปไตยของประชาชน” 2. เน้นเรื่อง”เจตจำนงร่วมของประชาชน” (General Will) คืออำนาจสูงสุดในการปกครอง3. เสนอว่ามนุษย์มาอยู่รวมกันเป็น”องค์อธิปัตย์”คือองกรที่มีอำนาจสูงสุดดังนั้นรัฐบาลต้องยอมรับเจตจำนงทั่วไปของประขาขนรัฐบาลต้องสร้างความเสมอภาคให้การศึกษาจัดระบบกิจการคลังที่ดี มีระบบการเก็บภาษีมรดกและสิ่งฟุ่มเฟือย4. มนุษย์เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาสลถ้ารัฐบาลทำผิดสัญญาประชาคมประชาชนมีสิทธิ์ล้มรัฐบาลได้5. มีผลต่อการปฏิวัติฝรั่งเศส”เสรีภาพ เสมอภาพ ภารดรภาพ” 6.“มนุษย์เกิดมาอิสระแต่ทุกหนทุกแห่งเขาตกอยู่ในพันธนาการ”<br />ผลงาน : Social Contract (สัญญาประชาคม) <br />บรรณณานุกรม<br />http://www.thaigoodview.com/node/20031<br />