SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1 
รวมบทความสารคดี 
By 
อรวรรณ จิตรรัมย์
2 
สารบัญ 
เรื่อง หน้า 
“ความเชื่อ ศรัทธา” แรงผลักดันที่กาหนดคุณค่าและความหมาย “ความชั่ว - ความดี” 3 
“รับน้อง” พิธีกรรมศักสิทธิ์ หรือเศษซากจักรวรรดินิยม 6 
พิธีกรรมศิลปะ : นิทรรศการ มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนร่วมใน 10 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
บันทึกการอ่านบทความ “ข้างหลังภาพ” 13
3 
“ความเชื่อ ศรัทธา” แรงผลักดันที่กาหนดคุณค่าและความหมาย “ความชั่ว - ความดี” 
อรวรรณ จิตรรัมย์ 
ความเชื่อ ความศรัทธา พิธีกรรม เป็นสิ่งที่อยู่คู่มนุษย์มายาวนาน มนุษย์เลือกที่จะหาเหตุผลต่างๆ มา เพื่ออธิบายให้กับสิ่งที่อธิบายไม่ได้อยู่เสมอ ดั่งเช่นในอดีตที่มนุษย์เลือกใช้ความเชื่อของเทพเจ้าต่างๆ มาใช้ อธิบายในสิ่งที่เหนือธรรมชาติ ปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ ที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมมันได้ เหตุผลเหล่านั้น ถูกทาให้กลายเป็นสิ่งศักสิทธิ์ เป็นสิ่งที่ต้องเชื่ออย่างไม่มีเงื่อนไข สร้างพิธีกรรมขึ้นมา โดยจะมีผู้ควบคุมหรือตัว แทนที่สามารถติดต่อกับเทพเจ้าเหล่านั้นเป็นสื่อกลางที่คอยชี้แจงถึงประสงค์ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องการจาก เหล่ามนุษย์ เพื่อแลกกับการยั้บยั้งภัยพิบัติต่างๆที่จะเกิดขึ้น 
พิธีกรรม ความเชื่อเหล่านี้ มีมาตั้งแต่สังคมยังเป็นแบบชนเผ่า พัฒนาการจนมาถึงนครรัฐ ผู้ที่เป็น สื่อกลางจะเป็นชนชั้นนาของสังคม และเป็นผู้ที่มีอานาจบทบาทในสังคมเรื่อยมา จากผู้เฒ่าประจาเผ่า แปรเปลี่ยนเปลี่ยนเป็นพ่อมด แปลเปลี่ยนเป็นนักบวช ความเชื่อและความศรัทธาจึงถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญใน การควบคุมสังคมใดสังคมหนึ่ง เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้มีอานาจในมือ สามารถกาหนดทิศทางหรือควบคุมให้ สังคมเป็นไปในทางที่เอื้อผลประโยชน์ต่อตนเอง และแน่นอนผลประโยชน์ก็เป็นสิ่งสาคัญในการที่ชนชั้นนาจะ เลือกกาหนดทิศทางความเชื่อให้สังคมเป็นไปในทางใด 
ผลประโยชน์ส่งผลให้เกิดการเหลื่อมล้าและไม่เท่ากันในสังคม เมื่อมีผู้ที่ได้ผลประโยชน์ ก็ย่อมมีผู้ที่เสีย ผลประโยชน์ เกิดการเอารัดเอาเปรียบ สิ่งที่จะช่วยให้ผลประโยชน์นี้ยังคงอยู่ในมือเรื่อยไปก็คือ “ความเชื่อ ศรัทธา” การสร้างสิ่งเหล่านี้ขึ้นมาเพื่อใช้ปกครองสังคม ชนชั้นนาใช้ความเชื่อเหล่านี้เพื่อกาจัดกลุ่มคนที่จะมา ทาให้ผลประโยชน์ที่ตนเคยได้รับหลุดลอยไป ดังที่จะเห็นได้จากประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตก ช่วงยุคกลางที่ มีการล่าแม่มดเกิดขึ้น กล่าวคือ ผู้ที่คิดแปลกแยกแตกต่าง ศาสนาจะบอกว่าเป็นผู้ที่มีบาปหรือซาตาน จะต้อง โดนประชาทัณฑ์ โดนลงโทษประหารชีวิต สิ่งเหล่านี้ยังเป็นโมเดลแห่งความเกลียดชัง ที่ใช้เพื่อกาจัดผู้ที่แปลก แยกจากตน ผู้ที่จะทาให้อานาจของชนชั้นนาเสื่อมถอยลงตลอดมา โดยถูกเรียกว่า “ความดี” 
นอกจาก โมเดล “ความดี” จะถูกใช้โดยใช้ความเชื่อทางศาสนาเข้ามาเกี่ยวแล้ว ยังปรากฏให้เห็นใน ความเชื่อรูปแบบอื่น แต่ก็ยังไม่พ้นนิยามคาว่าความดีไปได้ เช่น ปรากฏในรูปแบบของการรักชาติ อย่างใน ประเทศไทยที่ตอนนี้กาลังเกิดปรากฏการณ์ ทา”ความดี” กันถ้วนหน้า ทาความดีโดยการ “ล่าแม่มด” กาจัดเสีย ให้สิ้น สิ่งต่างๆ เหล่าเกิดจากความเชื่อ ความศรัทธาบางอย่างว่านั่นคือ”ความดี” นั่นคือ”ความชั่ว” ความดี
4 
จาเป็นต้องคงอยู่ไว้ ความชั่วจาเป็นต้องกาจัดให้สิ้นซากไป ความศรัทธาต่อสิ่งต่างๆ เหล่านี้ต่างเกิดจากชนชั้น อามาตย์(ชนชั้นนา)ของรัฐสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในการรักษาผลประโยชน์ตน เปรียบเสมือนการมีเทพเจ้าฝ่ายดีที่ คอยเชื่อเหลือเหล่ามนุษย์ กับภูตผีซาตานที่จาเป็นต้องกาจัดทิ้ง มีการกาหนดบทบาทว่าจะให้ใครหรือฝ่ายไหน เป็นความดีหรือความชั่ว ชนชั้นนาก็เปรียบเสมือนนักบวชที่คอยรับคาสั่งมาจากพระเจ้าเพื่อมาชี้แจงกับเหล่า มวลมนุษย์ ว่าทาอย่างไรพระเจ้าจึงจะพอใจและประทานสิ่งดีๆกลับมา การกาจัดสิ่งเลวร้ายจึงถือเป็นหน้าที่ อันศักสิทธิ์ การกาจัดซานตานจึงเป็นเรื่องที่จาเป็นอย่างยิ่งยวด 
แม้ว่าในโลกปัจจุบัน จะเป็นยุคที่เต็มไปด้วยการหาตรรกะ เหตุผลต่างๆ เพื่อมาตอบแทนความเชื่อที่ถูก มองว่าเป็นเรื่องงมงาย การเจริญก้าวหน้าของโลกวิทยาศาสตร์ที่ถูกใช้มาเพื่ออธิบายทดแทนความเชื่อ สิ่งที่มอง ไม่เห็นต่างๆ จนเหมือนว่าสังคมในยุคปัจจุบันจะเต็มไปด้วยความมีเหตุมีผล ตรรกะแล้วก็ตาม แต่ในเรื่อง “ความดีความชั่ว” ยังคงไม่หมดไป เรายังคงแยกอย่างชัดเจนว่าสิ่งไหนดี สิ่งไหนเลว สิ่งไหนดาสิ่งไหนขาว ดังที่ จะเห็นการมอบบทบาทที่ชนชั้นนาของสังคมไทยกาลังบอกเรา ที่เห็นได้ชัดเจนคือ ทักษิณคือตัวแทนของซาตาน คือความชั่วช้าทั้งปวง ต้องถอนรากถอนโคน 
“ประเทศไทยถอยหลังเข้าคลอง ยังดีกว่าติดอยู่ในระบอบทักษิณ” 
“ให้คนอื่นโกง ยังดีกว่าให้ตระกูลทักษิณโกง” 
คาว่า “ทักษิณ” กลายเป็นเสมือนผีร้ายหรือเจ้าแห่งปีศาจ ที่คนไทยต้องการกาจัดให้สิ้นซาก ทักษิณถูก ทาให้กลายเป็นฝ่ายซาตาน ที่มนุษย์ยอมทาทุกอย่างที่จะหลุดพ้นจากความกลัวนี้ สถาปนาฝ่ายเทพต่างๆ เพื่อ มากาจัดผีร้าย ยอมทาพิธีกรรมบูชาสิ่งต่างๆ มากมาย ไม่ต่างกับความเชื่อ ความศรัทธาของศาสนา ความเชื่อ ต่อพระเจ้า ระบอบประชาธิปไตยกลายเป็นเรื่องเลวร้าย เป็นระบอบของทักษิณซาตาน ระบอบเผด็จการกลับ กลายเป็นสิ่งที่ดีงาม บริสุทธิ์ ผู้ที่คิดต่างไปจากนี้กลายเป็นผีร้ายที่อยู่ฝ่ายแห่งความชั่ว ความเท่าเทียมกัน กลายเป็นเรื่องผิดปกติ กลุ่มอามาตย์กลายเป็นชนชั้นศักสิทธิ์ที่ได้สิทธิพิเศษมากกว่าบุคคลอื่นเนื่องจากเป็นผู้ที่ ใกล้ชิดกับพระเจ้า การกดขี่ข่มเหง เอารัดเอาเปรียบผู้ที่อ่อนแอกว่ากลายเป็นโองการจากสวรรค์ ความดีมีเพียง ทางเลือกเดียว สิทธิมนุษยชนกลายเป็นสิ่งที่ไร้ความหมาย จะมีความหมายก็ต่อเมื่อได้อ้างเพื่อรับใช้พระเจ้า เท่านั้น 
ประเทศไทยในปัจจุบันจึงเปรียบเสมือนโลกแห่งความถูกต้องที่กาลังถูกกัดกินจากโลกแห่งความผิด บาปจากซานตาน ดินแดนสวรรค์ของพระเจ้ากาลังถูกสั่นคลอนจากความชั่วร้าย เหล่ากลุ่มชนที่อยู่ใกล้ชิดกับ
5 
พระเจ้าจาเป็นต้องออกมาต่อสู้กับซาตานเพื่อปกป้องประชาชนจากภัยร้ายต่างๆ โดยที่มวลชนเหล่านั้นจะต้อง เชื่อมั่นต่อฮีโร่เหล่านี้ ต้องศรัทธาอย่างไม่มีเงื่อนไข และจาเป็นต้องสูญเสียหรือได้รับความเจ็บปวดบางอย่าง เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมอันศักสิทธ์ครั้งนี้ เพื่อให้ได้โลกที่สวยงามตามที่พระเจ้าได้วาดไว้ 
แต่หากว่าโลกที่สวยงามใบนั้นจาเป็นต้องแลกมากับการสูญเสีย การถูกริดรอนสิทธิ การลดคุณค่าของ ความเป็นคน การถูกเอาเปรียบจากกลุ่มคนที่ไม่ได้ใกล้ชิดกับพระเจ้าเพื่อให้ได้โลกที่สงบสุขดั่งพระประสงค์ของ พระองค์แล้วละก็ บางทีโลกแห่งซานตาน โลกที่สามารถแสดงความเชื่อได้หลายรูปแบบมากกว่าการมีความดี เพียงหนึ่งเดียว เหล่าภูตผีสามารถจะปล่าวประกาศความชั่วของตัวเองได้เต็มที่ การรักษาสิทธิ คุณค่า อิสรภาพ หรือสิ่งที่คนคนหนึ่งพึงมีและได้รับ แทนที่จะเสียสละเพื่อมอบให้แก่พระเจ้าเสียแล้วนั้น 
โลกแห่งความ “ชั่วร้าย” ก็อาจจะน่าถวิลหามากกว่า โลกแห่ง “คุณความดี” ดั่งที่สังคมไทย ต้องการจะไปให้ถึง ก็เป็นได้
6 
“รับน้อง” พิธีกรรมศักสิทธิ์ หรือเศษซากจักรวรรดินิยม 
อรวรรณ จิตรรัมย์ 
และแล้วก็เวียนมาถึงฤดูการแห่งการเปิดภาคเรียนใหม่ของนักศึกษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาของเหล่าบรรดา เฟรชชี่เด็กปีหนึ่งที่จะได้พบปะเพื่อนใหม่ สังคมใหม่ และคงหนีไม่พ้นประเพณีที่มีอยู่เกือบทุกสถาบันการศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งก็คือ “ระบบการรับน้อง” โดยให้เหตุผลว่า เพื่อฝึกนักศึกษาใหม่ให้รู้จักความเป็นพี่เป็น น้อง หรือที่รู้จักการในชื่อที่เรียกว่า “SOTUS” 
“SOTUS” มาจากอักษรย่อ 5 ตัว คือ S=Seniority เคารพผู้อาวุโส O=Order ต้องทาตามคาสั่งผู้อาวุโส T=Tradition ทาตามประเพณีที่ผู้อาวุโสคิดไว้ U=Unity ต้องคิดเหมือนๆ กันห้ามคิดแตกต่าง S=Spirit พร้อม พลีชีพเพื่อสถาบัน 
ประเพณีการรับรับน้องนั้น มีการสันนิษฐานว่าเริ่มต้นจากระบบอาวุโสของโรงเรียนกินนอนในประเทศ อังกฤษ (Fagging system) อย่าง oxford หรือ Cambridge และจากโรงเรียนนายร้อย Sand Hurst ที่ใช้เพื่อฝึก คนไปปกครองประเทศในอาณานิคมเมื่อประมาณปี ค.ศ.1850 ต่อมา โรงเรียนทหารของสหรัฐจาได้นาไป พัฒนาเป็นระบบ SOTUS ที่เข้มข้น เพื่อใช้ฝึกเหล่านายร้อยให้มีความเข้มเข็ง สามัคคี โดยมีประเพณีรับน้อง ใหม่ (Initiation ritual) เพื่อใช้ฝึกความอดทนของน้องใหม่มีการขู่ตะคอกหรือการว๊าก การดูหมิ่นต่างๆ เป็นต้น 
ต่อมาได้แพร่หลายไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆในสหรัฐ โดยมีการจัดตั้งกลุ่ม Fracternity ของนักศึกษาชาย และกลุ่ม Sorority ของนักศึกษาหญิง โดยมีการรับน้องของแต่ละกลุ่ม โดยระบบดังกล่าวเข้ามาในไทย เมื่อมี การก่อตั้งโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยตามแบบโรงเรียนกินนอนในอังกฤษ การก่องตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นจุฬาลงกรณ์วิทยาลัย การก่อตั้งโรงเรียนนายร้อยสาหรับฝึกทหารและตารวจ เพื่อส่งคนไป ปกครองตามหัวเมืองต่างๆ หรือดินแดนอดีตอาณานิคมของสยามอย่างเช่น ล้านนา มลายูปัตตานี ที่พึ่งถูก ผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่งของรัฐชาติสมัยใหม่ หลังรัชกาลที่ 5 เรื่อยมา 
ครั้นหลังสังครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีการส่งคณาจารย์รุ่น แรกๆ ไปเรียนที่ Cornell University สหรัฐอเมริกา กับ University of the Philippines ที่ฟิลิปปินส์ ระบบ SOTUS จึงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยเกษตร และแพร่ขยายไปทั่วประเทศ
7 
ปัจจุบัน การรับน้องได้กลายมาเป็นวัฒนธรรมของการเรียนในระดับอุดมศึกษาที่จาเป็นต้องมี โดย อาศัยหลักความเชื่อที่ว่า เป็นประเพณีที่ช่วยหลอมรวมนักศึกษาใหม่ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ให้สามัคคีกัน ให้รักในสถาบัน เคารพรุ่นพี่ หรือจะเรียกได้ว่า เป็นการตอกย้าในความเป็นระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย เป็น ประเพณีที่มีการใส่ความศักสิทธิ์ลงไปจนกลายเป็น “พิธีกรรม” บ้างก็ถึงขนาดสั่งให้นักศึกษาใหม่ทุกคนสาบาน ต่อสิ่งศักสิทธิ์ประจามหาวิทยาลัยว่าจะจงรักภักดีต่อสถาบัน 
ระหว่างพิธีกรรมนี้ รุ่นพี่มักกรอกหูรุ่นน้องถึงคุณประโยชน์ของพิธีกรรมดังกล่าว รวมถึงประโยคในทานองที่ว่า 
“อยู่ข้างนอกคุณจะเป็นใครผมไม่สน แต่อยู่ที่นี่คุณคือรุ่นน้องของสถาบันแห่งนี้ พวกคุณต้องเชื่อฟังรุ่นพี่” 
“ถ้าแค่นี้ยังทนไม่ได้ แล้วเวลาไปอยู่สังคมข้างนอก สังคมทางานโดนกดดันมากกว่านี้อีก คุณจะทนได้ยังไง” 
อย่างในกรณีรุ่นพี่ของคณะวิชาในมหาวิทยาลัยเก่าแก่แห่งหนึ่ง ซึ่งมีความคิดจะเปลี่ยนแปลงระบบการ รับน้องใหม่ให้ ”ไม่มีการว๊าก” (การว๊ากคือการใช้คาพูดที่กดดัน รุนแรงแกนักศึกษาปี 1) ดังเช่นที่เป็นมา แต่กลับ ถูกดดันโดนรุ่นพี่ที่จบการศึกษา(พี่เก่า)ที่ยังต้องการให้คงระบบเดิมไว้ จนกลายเป็นดราม่าทางโซเชี่ยวมีเดียวอ ย่างมากมาย และผลสุดท้ายอิทธิพลคงพี่เก่าก็อยู่เหนือกว่าพลังของเด็กรุ่นใหม่ มีระบบการว๊ากเกิดขึ้นเช่นเดิม พวกแต่แค่เปลี่ยนชื่อจาก “พี่ว๊าก” เป็น “พี่ระเบียบ” พี่เก่าก็ยังคงเป็นตัวการสาคัญในความเคลื่อนไหวของระบบ รับน้อง ยังมีอานาจในการควบคุมว่าจะให้พอธีกรรมนี้เป็นไปในทิศทางใด โดยที่น้องๆ ที่เป็นผู้ดาเนินกิจกรรม ไม่มีสิทธิ์ที่จะเปลี่ยนแปลง 
สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงอะไร? ทาไมบุคคลที่จบการศึกษาไปแล้วถึงยังมีอิธิพลและอานาจในมือที่ มากมายขนาดนี้ เสมือนมีคาประกาศิตที่รุ่นน้องที่ยังเรียนอยู่ในสถาบันไม่มีสิทธิ์บิดเบือน เปลี่ยนแปง แล้วทาไม พี่เก่าถึงยังคงวนเวียนอยู่กับกิจกรรมสถาบันศึกษา ไม่ยอมไปไหน? 
ซึ่งอาจจะสะท้อนถึงความพยายามที่จะยัง “มีตัวตน” ที่ชัดเจนอยู่ของตัวเอง ในสังคมข้างนอกรั้ว มหาวิทยาลัยที่เมื่อตนเองจบไป อาจจะกลายเป็นเพียงบุคคลธรรมดา เสียงที่มีไม่ได้มีพลังอะไร เป็นเพียงคนตัว เล็กๆ แต่เมื่อกลับเข้ามาสู้รั้วมหาวิทยาลัยกลับกลายเป็นอภิสิทธิ์ชนที่มีอานาจอยู่มือ มีคนเคารพยาเกรง ตัว ใหญ่ขึ้นมาทันที การกลายเป็นผู้ทรงอานาจจึงดูเป็นสิ่งที่เย้ายวนใจให้ไม่สามารถหลุดพ้นจากพิธีกรรมเหล่านี้ไป ได้ และยังส่งต่อวัฒนธรรมให้แก่รุ่นต่อๆ ไปยังไม่มีจบ ซึ่งในที่นี้ก็รวมถึงรุ่นพี่ที่ยังศึกษาอยู่ แต่มีอานาจและ บทบาทต่อรุ่นน้องด้วย
8 
สิ่งเหล่านี้ สะท้อนหรือชวนให้ตั้งคาถามต่อพิธีกรรมรับน้องที่มากกว่าประเด็นเรื่องความศักสิทธิ์หรือไม่? 
คากล่าวอ้างของรุ่นพี่ที่ระบุว่า การรับน้องช่วยจัดระบบระเบียบเด็กที่เข้ามาใหม่ให้เป็นเดียวกัน ให้รัก ใครกลมเกลียว ยึดความเป็นพี่น้องของสถาบันนั้น ไม่มีกิจกรรมอื่นที่จะช่วยให้เกิดความรักใคร่สามัคคีโดยไม่ใช่ ความรุนแรง การลิดรอนสิทธิ หรือการพยายามที่จะควบคุมอานาจให้น้องที่ต่ากว่าเลยหรือ? ส่วนในประเด็น การเชิดชูสถบันที่ตนศึกษาอยู่นั้น มันคือการหล่อหลอมทาให้เกิดความคิดในการ “ยกตน” ให้สูง แล้วดูหมิ่น สถาบันอื่นหรือคนที่มีการศึกษาต่ากว่าในระดับอุดมศึกษาหรือไม่? 
ยิ่งไปกว่านั้น หากมองย้อนไปตั้งแต่จุดกาเนิดของระบบโซตัสจะเห็นได้แล้วว่า เดิมก่อเกิดมาเพื่อ ปกครองคนในประเทศอาณานิคมของพวกจักรววรดินิยม ที่สะท้อนในเรื่องการมองคน ”ไม่เท่ากัน” และเอารัด เอาเปรียบผู้อื่น ซึ่งในปัจจุบัน ประเทศเหล่านี้ได้ยกเลิกระบบดังกล่าวไปตั้งนานแล้ว โดยหันมาให้ความสาคัญ ให้ในเรื่องสิทธิ เสรีภาพ ของเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ยังคงเหลือตกค้างแต่ประเทศที่ได้รับเอาแนวคิดนี่ไปเท่านั้น 
หากมองให้ลึกลงไป จะเห็นได้ว่าประเพณีการรับน้องนี้ได้แฝงปลูกความเชื่อในเรื่องของการยอมจานน ต่อคนที่อาวุโสกว่า การจากัดสิทธิและเสียงของผู้ที่ถูกทาให้เชื่อว่ามีอานาจน้อยกว่า เป็นระบบที่เอื้ออานวยต่อ คนชนชั้นนาของสังคมไทย ที่ช่วยให้อานาจยังคงอยู่ในมือ มีความรู้สึกและการกระทาที่กดขี่ดูถูกผู้อื่นที่มีอานาจ น้อยกว่าได้อย่างไม่รู้สึกผิด ในขณะเดียวกันผู้น้อยเองก็รู้สึกว่าเป็นเรื่องปกติที่ต้องโดนจากัดเสียงและสิทธิอย่าง สู้ไม่ได้ และเมื่อบุคลเหล่านี้เมื่อได้จบจากสถาบันการศึกษาเพื่อออกสู่สังคม ก็จะมีความเชื่อเหล่านี้ติดตัวไป แล้วนาไปใช้กับบุคคลอื่นๆ ในสังคมนอกรั้วมหาวิทยาลัย 
ทั้งที่ทุกวันนี้ กล่าวอ้างกันว่าสังคมไทยถือประชาธิปไตยเป็นที่ตั้ง แต่ยังคงปลูกฝังความเชื่อเหล่านี้ใน ประเพณีที่กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่จะมาพัฒนาประเทศต่อไปต้องเข้าร่วม อย่างประเพณีรับน้องแล้วนั้น 
แบบนี้แล้วจะกล่าวอ้างได้อย่างไร ว่าเราเป็นประเทศที่เป็นประชาธิปไตย 
ในเมื่อค่านิยม ประเพณี ระบบต่างๆ ยังเอื้อให้แก่ชนชั้นนาของไทยที่ใช้ระบบไม่ต่างกับ จักรวรรดินิยม 
อ้างอิงข้อมูล
9 
- บทความ “SOTUS การสืบทอดระบบขูดรีด” โดยกองบรรณาธิการเลี้ยวซ้าย จากหนังสือพิมพ์เลี้ยว ซ้าย (E-book) ฉบับที่ 72 (มิถุนายน 2554) 
- บทความ “ระบบ SOTUS คืออะไร?” โดย varit ton (นามแฝง) ห้องเรียนออนไลน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
10 
พิธีกรรมศิลปะ : นิทรรศการ มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนร่วมในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 
อรวรรณ จิตรรัมย์ 
ศิลปะนั้นมีคานิยามที่หลายอย่าง หากจะมองในนิยามของสังคมวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกฉียงใต้ ศิลปะน่าจะหมายถึง เรื่องราวที่เราพบเจอในวิถีชีวิตประจาวัน ในแง่เรื่องประโยชน์ใช้สอย แต่หากมองตาม นิยามของสังคมตะวันตกนั้น ศิลปะจะหมายถึง ในเรื่องความงาม สุนทรียศาสตร์ โดยที่ไม่ใช่เรื่องที่พบเจอใน ชีวิตประจาวัน ซึ่งในปัจจุบันนั้น คาว่าศิลปะของสังคมตะวันตก ก็ได้มามีอิทธิพลต่อสังเอเชียตะออกฉียงใต้ เช่นกัน กล่าวคือ ในปัจจุบัน นิยามคาว่า “ศิลปะ” จะอยู่ในเรื่องความงาม สุนทรียศาสตร์ 
เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.2556 ที่ผ่านมา ได้มีการจัดนิทรรศการ มโนทัศน์ ศิลปะ บริบทศิลปะและ ส่วนร่วมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นงานศิลปะร่วมสมัยของ ศิลปิน 40 คน จาก 8 ประเทศในเอเชียตะววันออกเฉียงใต้ โดย concept ของงานจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับปัญหา ต่างๆ ของแต่ละประเทศ ที่มีส่วนร่วมกัน โดยตัวศิลปินเองจะมีวิธีแก้ปัญหาหรือเสนอให้เห็นถึงปัญหาออกมาใน รูปแบบงานศิลปะ เช่น ของประเทศไทย ก็จะถูกเสนออกมาในผลงานศิลปะที่นัยยะเกี่ยวข้องกับการเมือง มาเลเซียก็จะเป็นในเรื่องเศรษฐกิจ เวียดนามก็จะเป็นเรื่องของความเหลื่อมล้า สิทธิ ความไม่เท่าเทียมกันของ คนในสังคม หรือ มีผลงานการสะท้อนเรื่องชนชั้น ชาติพันธุ์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งหากเริ่มมองตั้งแต่พื้นที่ที่ใช้จัด แสดงงานศิลปะในครั้งนี้ ก็จะเห็นได้ว่า เป็นการใช้พื้นที่เฉพาะ ที่ใช้ส่งเสริมให้งานนั้นดูมีคุณค่ามากขึ้น กล่าวคือเป็นพื้นที่ที่เป็นวงเฉพาะสาหรับแสดงผลงานศิลปะ ไม่ใช่จัดตามพื้นที่ทั่วไป ที่สามารถรับชมได้ง่าย มี การคัดคนร่วมงานด้วยบรรยากาศและพื้นที่ในการจัดงานศิลปะด้วยตัวของมันเอง หรือแม้แต่พิธีเปิดงานเองก็ ตามที่มีความเป็นทางการ เฉพาะ กระทั่งตัวผลงานศิลปะก็ไม่ได้ถูกสร้างมาเพื่อให้คนทั่วไปสามารถทาความ เข้าใจหรือรับรู้ได้ง่าย มันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ “aura” ของตัวชิ้นงานศิลปะ ดั่งที่วอลเทอร์ เบนยามิน เคย กล่าวว่า ชิ้นงานศิลปะแต่ละชิ้นนั้นเมื่อถูกสร้างขึ้นมา มันจะมี aura ในตัวของมันเอง หากว่ามีการเลียนแบบ หรือผลิตซ้า งานชิ้นนั้น aura ก็จะค่อยๆ ลดหน่อยลงไป ตามจานวนที่มากขึ้น ซึ่งก็คืองานบางชิ้นที่สามารถ เข้าใจได้ง่าย มีการผลิตซ้า มีความเป็น mass สูงนั้น เบนยามินมองว่า “งานเหล่านั้นไม่มี aura” หากมามองในเรื่องเรื่องที่ว่า ตัวชิ้นงานศิลปะนั้นจาเป็นต้องมี aura ก็เชื่อมโยงในเรื่องของคาว่า “วัฒนธรรม” นั่น ตามความหมายทที่เกี่ยงข้องกับงานศิลปะนั้น ไม่ใช่เรื่องราวมของวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เราพบ
11 
เห็นได้ทั่วไป แต่เป็นความหมายของวัฒนธรรมจากชนชั้นสูง จากกรอบความคิดของอังกฤษ เพื่อแบ่งแยกวิถี ชีวิตของชนชั้นสูงกับชนชั้นต่า หรือถ้าเป็น “วัฒน” ตามกรอบแนวคิดแบบวิวัฒนาการ และลัทธิดาร์วินเชิงสังคม ก็ยิ่งทาให้เห็นได้ชัดว่า มีเพียงคนบางกลุ่มเท่านั้นที่จะถือว่ามีวัฒนธรรม1 ซึ่งงานศิลปะนั้นเก็เปรียบเสมือน วัฒนธรรมที่มีหลายประเทศใช้สิ่งเหล่านี้เป็นตัวชี้วัดความเจริญก้าวหน้าของประเทศ ทาให้ยิ่งเป็นการตอกย้า ว่าความหมายของวัฒนธรรมที่เราเห็นในปัจจุบันนั้น หมายถึง “วัฒนธรรมของชนชั้นสูง” มากกว่าที่จะเป็น ความหมายตามกรอบความคิดของสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา2 ซึ่งการจัดนิทรรศการศิลปะส่วนใหญ่ อย่างเช่นนิทรรศการนี้ จะเห็นได้ว่าเป็นการตอบสนองต่อความหมายของวัฒนธรรมของชนชั้นสูงเช่นกัน ไม่ว่า จะเป็นสถานที่จัดงาน หรือผลงานศิลปะที่จาเป็นต้องทาความเข้าใจก็ตาม มันเป็นเรื่องที่ทาให้เห็นถึงรสนิยม ชั้นสูง เรื่องของการแบ่งชนชั้น 
ในขณะเดียวกัน การจัดนิทรรศการผลงานศิลปะนั้นก็จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนผ่าน เพื่อให้ผลงานนั้นดู มีคุณค่า หรือมีความศักสิทธิ์มากขึ้น เสหมือนการเข้าร่วมพิธีกรรม ในแง่ของงานศิลปะนั้น การแสวงหาจิต วิญญาณก็ยังคงเป็นสิ่งสาคัญ เช่นเดียวการเข้าร่วมพิธีกรรมอันศ กสิทธิ์ต่างๆหรือการเข้ามร่วมเชิงจิตวิญาณ อื่นๆ3 ดังนั้นจึงจะเห็นได้ว่างานศิลปะถูกยกย่องให้ดูว่ามีคุณค่าในแง่จิตวิญญาณ ความงาม เป็นสิ่งที่สูงส่ง ศิลปะจึงถูกแยกอาณาเขตออกไปเช่นเดียวกับศาสนาหรือการเมือง ทีมีความเฉพาะของกลุ่มคน ของพื้นที่เข้า มาเกี่ยวข้อง ซึ่งการก้าวข้ามไปสู่อีกอาณาเขตหนึ่งก็จาเป็นต้องมีพิธีกรรมในการเปลี่ยนผ่านเช่นกัน4 ดังนั้นตัว พิธีกรรมเองก็มีความคล้ายคลึงกับการจัดงานศิลปะ 
การที่มีพิธีเปิดงานและสูจิบัตรนั้นถือว่าเป็นการรับรู้ที่แตกต่างจากการชมงาน เพราะเป็นการใช้ ประสาทหูหรือการอ่านตัวอักษร แต่ไม่ใช่ใช้ตาเพื่อชมผลงาน5 ดังนั้นการแสดงผลงานศิลปะจึงเหมือนพิธีกรรม ที่เหมือนเป็นการรวมสิ่งที่แตกต่างกันมาอยู่ด้วยกัน ซึ่งจาเป็นที่จะต้องมีพิธีกรรมเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้ และ เสหมือนเป็นเงื่อนไข หรือสิ่งพิเศษ สิ่งลึกลับที่อยู่ในระหว่างการเข้าร่วมพิธีกรรม เช่นเดียวกัน จึงอาจกล่าวได้ว่า 
1 ธเนศ วงศ์ยานนาวา, ศิลปะกับสภาวะสมัยใหม่ : ความขัดแย้งและความลักลั่น, (กรุงเทพฯ : สานักงานศิลปะวัฒนธรรมร่วม สมัย,2552), 51. (อัดสาเนา) 
2 อ้างแล้ว, 45. 
3 ธเนศ วงศ์ยานนาวา, ศิลปะกับสภาวะสมัยใหม่ : ความขัดแย้งและความลักลั่น, (กรุงเทพฯ : สานักงานศิลปะวัฒนธรรมร่วม สมัย,2552), 57. (อัดสาเนา) 
4อ้างแล้ว, 60. 
5อ้างแล้ว, 69.
12 
สุดท้ายแล้ว ศิลปะเองก็ถูกทาให้ศักดิ์สิทธ์ด้วยการคดเลือกกลุ่มคน การเปลี่ยนผ่าน ด้วยตัวผลงานและพื้นที่ ของการแสดงศิลปะนั่นเอง
13 
บันทึกการอ่านบทความ “ข้างหลังภาพ” 
ผู้เขียน : ฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร 
อรวรรณ จิตรรัมย์ 
บทความ “ข้างหลังภาพ” เป็นเรื่องราวที่กล่าวถึง การเป็นทั้ง “ผู้บันทึกภาพ” และ “ผู้ถูกบันทึกภาพ” โดยใช้กล้องเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเรื่องราว ในเนื้อหาจะเป็นการกล่าวถึงการลงภาคสนามของผู้หญิงคน หนึ่งในฐานะนักมานุษยวิทยาและผู้บันทึกภาพ โดยกาหนดบริเวณพื้นที่ที่ประเทศเวียดนาม มีการกล่าวถึง “ภาพ” หรือ “สื่อ” ที่แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของผู้คน กลุ่มชนต่างๆ ในประเทศเวียดนาม ไม่ว่าจะเป็นการแสดง เรื่องราวของชาติพันธุ์วิทยาที่ฮานอย โดยเป็นการนาเสนอเรื่องราวที่ถูกเลือกมาแล้ว ไม่ใช่การนาเสนอความจริง ทั้งหมด และยังเป็นการใช้ “ภาพ” เพื่อเสมือนเป็นการ “แช่แข็ง” เรื่องราวของพวกเขาเอาไว้ โดยสิ่งที่ถูกออกมา นาเสนอนั้น กลับกลายเป็นวิถีชีวิตที่ห่างไกลจากความเป็นจริงของพวกเขา โดยพยายามลบเรื่องราว วิถีชีวิตใน ยุคปัจจุบันออกไป เช่น ข้าวของเครื่องใช้ที่มีความทันสมัย ไม่ได้ถูกนาเสนออกมา กลับมีเพียงข้าวของเครื่องใช้ แบบพื้นบ้านของกลุ่มชนนั้นๆ ที่ถูกนาเสนอออกมา เนื่องจากสิ่งทันสมัยเหล่านั้น อาจจะไปขัดกับความรู้สึกของ ผู้ชม แต่ของพื้นเมืองต่างๆ หรือการจัดฉากเพื่อการประกอบพิธีกรรมที่ถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบวีดิโอ ก็ เพื่อเป็นเพียงการจัดฉากให้ “คนอื่น” ดู เพื่อนกระตุ้นให้ผู้ที่มาชมมีความสนใจในความ “Exotic” หรือ “ความ แปลก” เพียงเท่านั้น ซึ่งการกระทาเหล่านี้ถือว่าเป็นการขัดต่อจริยธรรมของนักมานุษยวิทยา แต่หากมองอีกมุม หนึ่งก็อาจจะบอกได้ว่า เป็นการกล่าวถึงเรื่องราวที่เคยมีอยู่จริง การประกอบพิธีกรรม วิถีชีวิต ที่ไม่อาจบันทึก เก็บไว้ได้ เมื่อตอนที่มันยังมีอยู่ 
อย่างในกรณีของลุงเขียน นักวิชาการท้องถิ่นของที่นี้ แกมักจะถูกนักวิชาการต่างชาติไปหาและถ่ายรูป แกในชุดชาวไตดาอยู่เสมอ แต่ในความเป็นจริงแล้ว แกกลับไม่ได้ใส่ชุดไตดา กลับใส่ชุดสูทหรือเชิ๊ต อย่างที่ไม่ได้ ถูกนาเสนอออกไป 
หรือ ลุงขิ่ง นักวิชาการท้องถิ่นเช่นกัน ลุงขิ่นเป็นชาวไตขาว ที่บ้านของแกมีความสาคัญในด้าน ประวัติศาสตร์ไตดา – ขาว แต่กาลังจะจมหายไปเนื่องจากการสร้างเขื่อนเซินลา ดังนั้น แกจึงต้องการใครก็ได้ที่ สามรถมา “บันทึกภาพ” วิถีชีวิตของพวกแกเอาไว้ เพื่อการแช่แข็งเรื่องราวของพวกแก ประวัติศาสตร์ที่มีอยู่มา ยาวนาน ก่อนที่จะจมหายไปพร้อมการเกิดขึ้นของเขื่อนเซินลา
14 
แต่อย่างไรก็ตาม บางครั้งการถ่ายรูปก็อาจจะเป็นการ ”แทรกแซง” “บุกรุก” พื้นที่ของคนอื่นที่เขาไม่ ต้องการให้เราเข้าไป อย่างเช่น แม่ค้าบู๋นกัวที่ไม่ต้องการให้ถ่ายรูปของเธอ แม้ว่าผู้ที่เขียนบทความนี้จะพยายาม ชี้แจงเหตุผลให้ฟังก็ตาม หรือในกรณีที่มีนักมานุษยวิทยาตามเพื่อนชาวไตไปงานศพ ก็ถูกห้ามไม่ให้บันทึกภาพ ในงานเช่นกัน นอกจากนี้ ยังมีกรณีที่บันทึกภาพได้ แต่ห้ามนาไปเผยแพร่ อย่างเช่น ในครั้งหนึ่งที่ผู้เขียน บทความนี้ได้มีโอกาสไปร่วมงานศพของคนสนิทที่เซินลา โดยในวันที่ 10 ของการตายจะมี “มด” มาทาพิธีเสน ขวัญให้กับเครือญาติของผู้ตาย ในตอนนั้นคนที่เป็นมดก็ยังแต่งตัวตามปกติ แต่พอรู้ว่าผู้เขียนบทความเป็น นักวิจัยชาวต่างชาติ ก็เปลี่ยนการแต่งตัวให้แปลกกว่าเดิม เพื่อให้ดูน่าตื่นเต้นและทรงอานาจ เพื่อให้ บันทึก “ภาพ” ไปเผยแพร่ แต่สุดท้ายกลับถูกห้ามนาไปเผยแพร่ เนื่องจากคนในงานที่เป็นคนในพื้นที่มองว่า จะเป็นการ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจแบบผิดๆ ต่อมาเมื่อมีกล้องดิจิตอลเข้ามาแทนกล้องฟิล์ม ก็ส่งผลให้ปฏิสัมพันธ์ของ คนถ่ายกับผู้ถูกถ่ายดีขึ้น เพราะสามารถดูภาพหลังกล้องได้ทันทีว่า ภาพนั้นสามารถเอาไปเผยแพร่ได้หรือไม่ 
จากบทความนี้จะเห็นได้ว่า บางครั้งภาพถ่าย ก็ไม่ได้เป็นสิ่งที่บันทึกภาพความจริงหรือสะท้อนความ จริงออกมาได้ทั้งหมดแต่เป็นการเลือกถ่าย เช่น การถ่ายภาพในพิธีกรรม จะเป็นเพียงการเลือกถ่ายแต่บุคคลที่ผู้ ถ่ายคิดว่าสาคัญ เหตุการณ์สาคัญ ไม่ได้ถ่ายให้เห็นถึงเบื้องหลังความสาเร็จของพิธีนั้นๆ เช่น คนเตรียมงาน บุคคลอื่นๆ ที่อยู่ในงาน เป็นต้น ซึ่งการเลือกถ่ายเช่นนี้ บางครั้งจะมาจาการ “รับรู้” จากสื่อต่างๆ ที่เห็นจาก ประสบการณ์ที่ผ่านมา เช่น ห้องเรียน สารคดี พิพิทธภัณฑ์ เป็นต้น ที่ต่างก็เลือกที่จะนาเสนอบางมุมมองทั้งสิ้น 
ดังนั้น การถ่ายภาพจึงเหมือนกับการ “หยุด” หรือที่เรียกว่า “แช่แข็ง” ช่วงเวลา เหตุการณ์ ของภาพนั้น เอาไว้ และยังเป็นการเลือกนาเสนอเพียงบางส่วน บางมุมมอง ที่อยากจะถ่ายทอดออกมา ดังนั้น “ภาพ” จึง ไม่ใช่การนาเสนอความจริงทั้งหมด แต่เป็นเพียงแค่ “ส่วนหนึ่ง” เท่านั้น หรือบางครั้ง ก็เป็นเพียง “การจัดฉาก” เพื่อให้เห็นในสิ่งที่ผู้บันทึกต้องการให้เห็น นอกจากนี้แล้ว ในบางครั้ง “กล้อง” ยังเป็นเสมือนเครื่องมือหรือ สัญลักษณ์ที่แสดงถึงการ “บุกรุก” หรือ “รุกราน” ได้เช่นกัน จึงทาให้ในบางครั้ง ผู้บันทึกภาพก็ควรที่จะเลือกใช้ มันให้ถูกต้อง และที่สาคัญไม่ควรที่จะลืม “เคารพสิทธิ” ของผู้ถูกบันทึกภาพ รวมถึงจริยธรรมในการเลือก นาเสนอว่า มันเป็นความจริงแท้หรือเป็นเพียงบางมุมมอง “ฉาก” ที่เราอยากให้ผู้ชม “ดู” และเชื่อแบบนั้น

More Related Content

What's hot

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
Sp'z Puifai
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
panisra
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
kessara61977
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
Jiraporn
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 

What's hot (20)

(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เปิดโลกอาชีพ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 

Similar to รวมบทความสารคดี (6)

ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
คนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมาคนบ้าคนเมา
คนบ้าคนเมา
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 

รวมบทความสารคดี

  • 1. 1 รวมบทความสารคดี By อรวรรณ จิตรรัมย์
  • 2. 2 สารบัญ เรื่อง หน้า “ความเชื่อ ศรัทธา” แรงผลักดันที่กาหนดคุณค่าและความหมาย “ความชั่ว - ความดี” 3 “รับน้อง” พิธีกรรมศักสิทธิ์ หรือเศษซากจักรวรรดินิยม 6 พิธีกรรมศิลปะ : นิทรรศการ มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนร่วมใน 10 เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บันทึกการอ่านบทความ “ข้างหลังภาพ” 13
  • 3. 3 “ความเชื่อ ศรัทธา” แรงผลักดันที่กาหนดคุณค่าและความหมาย “ความชั่ว - ความดี” อรวรรณ จิตรรัมย์ ความเชื่อ ความศรัทธา พิธีกรรม เป็นสิ่งที่อยู่คู่มนุษย์มายาวนาน มนุษย์เลือกที่จะหาเหตุผลต่างๆ มา เพื่ออธิบายให้กับสิ่งที่อธิบายไม่ได้อยู่เสมอ ดั่งเช่นในอดีตที่มนุษย์เลือกใช้ความเชื่อของเทพเจ้าต่างๆ มาใช้ อธิบายในสิ่งที่เหนือธรรมชาติ ปรากฏการณ์ธรรมชาติต่างๆ ที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมมันได้ เหตุผลเหล่านั้น ถูกทาให้กลายเป็นสิ่งศักสิทธิ์ เป็นสิ่งที่ต้องเชื่ออย่างไม่มีเงื่อนไข สร้างพิธีกรรมขึ้นมา โดยจะมีผู้ควบคุมหรือตัว แทนที่สามารถติดต่อกับเทพเจ้าเหล่านั้นเป็นสื่อกลางที่คอยชี้แจงถึงประสงค์ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ต้องการจาก เหล่ามนุษย์ เพื่อแลกกับการยั้บยั้งภัยพิบัติต่างๆที่จะเกิดขึ้น พิธีกรรม ความเชื่อเหล่านี้ มีมาตั้งแต่สังคมยังเป็นแบบชนเผ่า พัฒนาการจนมาถึงนครรัฐ ผู้ที่เป็น สื่อกลางจะเป็นชนชั้นนาของสังคม และเป็นผู้ที่มีอานาจบทบาทในสังคมเรื่อยมา จากผู้เฒ่าประจาเผ่า แปรเปลี่ยนเปลี่ยนเป็นพ่อมด แปลเปลี่ยนเป็นนักบวช ความเชื่อและความศรัทธาจึงถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญใน การควบคุมสังคมใดสังคมหนึ่ง เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้มีอานาจในมือ สามารถกาหนดทิศทางหรือควบคุมให้ สังคมเป็นไปในทางที่เอื้อผลประโยชน์ต่อตนเอง และแน่นอนผลประโยชน์ก็เป็นสิ่งสาคัญในการที่ชนชั้นนาจะ เลือกกาหนดทิศทางความเชื่อให้สังคมเป็นไปในทางใด ผลประโยชน์ส่งผลให้เกิดการเหลื่อมล้าและไม่เท่ากันในสังคม เมื่อมีผู้ที่ได้ผลประโยชน์ ก็ย่อมมีผู้ที่เสีย ผลประโยชน์ เกิดการเอารัดเอาเปรียบ สิ่งที่จะช่วยให้ผลประโยชน์นี้ยังคงอยู่ในมือเรื่อยไปก็คือ “ความเชื่อ ศรัทธา” การสร้างสิ่งเหล่านี้ขึ้นมาเพื่อใช้ปกครองสังคม ชนชั้นนาใช้ความเชื่อเหล่านี้เพื่อกาจัดกลุ่มคนที่จะมา ทาให้ผลประโยชน์ที่ตนเคยได้รับหลุดลอยไป ดังที่จะเห็นได้จากประวัติศาสตร์ของโลกตะวันตก ช่วงยุคกลางที่ มีการล่าแม่มดเกิดขึ้น กล่าวคือ ผู้ที่คิดแปลกแยกแตกต่าง ศาสนาจะบอกว่าเป็นผู้ที่มีบาปหรือซาตาน จะต้อง โดนประชาทัณฑ์ โดนลงโทษประหารชีวิต สิ่งเหล่านี้ยังเป็นโมเดลแห่งความเกลียดชัง ที่ใช้เพื่อกาจัดผู้ที่แปลก แยกจากตน ผู้ที่จะทาให้อานาจของชนชั้นนาเสื่อมถอยลงตลอดมา โดยถูกเรียกว่า “ความดี” นอกจาก โมเดล “ความดี” จะถูกใช้โดยใช้ความเชื่อทางศาสนาเข้ามาเกี่ยวแล้ว ยังปรากฏให้เห็นใน ความเชื่อรูปแบบอื่น แต่ก็ยังไม่พ้นนิยามคาว่าความดีไปได้ เช่น ปรากฏในรูปแบบของการรักชาติ อย่างใน ประเทศไทยที่ตอนนี้กาลังเกิดปรากฏการณ์ ทา”ความดี” กันถ้วนหน้า ทาความดีโดยการ “ล่าแม่มด” กาจัดเสีย ให้สิ้น สิ่งต่างๆ เหล่าเกิดจากความเชื่อ ความศรัทธาบางอย่างว่านั่นคือ”ความดี” นั่นคือ”ความชั่ว” ความดี
  • 4. 4 จาเป็นต้องคงอยู่ไว้ ความชั่วจาเป็นต้องกาจัดให้สิ้นซากไป ความศรัทธาต่อสิ่งต่างๆ เหล่านี้ต่างเกิดจากชนชั้น อามาตย์(ชนชั้นนา)ของรัฐสร้างขึ้นมาเพื่อใช้ในการรักษาผลประโยชน์ตน เปรียบเสมือนการมีเทพเจ้าฝ่ายดีที่ คอยเชื่อเหลือเหล่ามนุษย์ กับภูตผีซาตานที่จาเป็นต้องกาจัดทิ้ง มีการกาหนดบทบาทว่าจะให้ใครหรือฝ่ายไหน เป็นความดีหรือความชั่ว ชนชั้นนาก็เปรียบเสมือนนักบวชที่คอยรับคาสั่งมาจากพระเจ้าเพื่อมาชี้แจงกับเหล่า มวลมนุษย์ ว่าทาอย่างไรพระเจ้าจึงจะพอใจและประทานสิ่งดีๆกลับมา การกาจัดสิ่งเลวร้ายจึงถือเป็นหน้าที่ อันศักสิทธิ์ การกาจัดซานตานจึงเป็นเรื่องที่จาเป็นอย่างยิ่งยวด แม้ว่าในโลกปัจจุบัน จะเป็นยุคที่เต็มไปด้วยการหาตรรกะ เหตุผลต่างๆ เพื่อมาตอบแทนความเชื่อที่ถูก มองว่าเป็นเรื่องงมงาย การเจริญก้าวหน้าของโลกวิทยาศาสตร์ที่ถูกใช้มาเพื่ออธิบายทดแทนความเชื่อ สิ่งที่มอง ไม่เห็นต่างๆ จนเหมือนว่าสังคมในยุคปัจจุบันจะเต็มไปด้วยความมีเหตุมีผล ตรรกะแล้วก็ตาม แต่ในเรื่อง “ความดีความชั่ว” ยังคงไม่หมดไป เรายังคงแยกอย่างชัดเจนว่าสิ่งไหนดี สิ่งไหนเลว สิ่งไหนดาสิ่งไหนขาว ดังที่ จะเห็นการมอบบทบาทที่ชนชั้นนาของสังคมไทยกาลังบอกเรา ที่เห็นได้ชัดเจนคือ ทักษิณคือตัวแทนของซาตาน คือความชั่วช้าทั้งปวง ต้องถอนรากถอนโคน “ประเทศไทยถอยหลังเข้าคลอง ยังดีกว่าติดอยู่ในระบอบทักษิณ” “ให้คนอื่นโกง ยังดีกว่าให้ตระกูลทักษิณโกง” คาว่า “ทักษิณ” กลายเป็นเสมือนผีร้ายหรือเจ้าแห่งปีศาจ ที่คนไทยต้องการกาจัดให้สิ้นซาก ทักษิณถูก ทาให้กลายเป็นฝ่ายซาตาน ที่มนุษย์ยอมทาทุกอย่างที่จะหลุดพ้นจากความกลัวนี้ สถาปนาฝ่ายเทพต่างๆ เพื่อ มากาจัดผีร้าย ยอมทาพิธีกรรมบูชาสิ่งต่างๆ มากมาย ไม่ต่างกับความเชื่อ ความศรัทธาของศาสนา ความเชื่อ ต่อพระเจ้า ระบอบประชาธิปไตยกลายเป็นเรื่องเลวร้าย เป็นระบอบของทักษิณซาตาน ระบอบเผด็จการกลับ กลายเป็นสิ่งที่ดีงาม บริสุทธิ์ ผู้ที่คิดต่างไปจากนี้กลายเป็นผีร้ายที่อยู่ฝ่ายแห่งความชั่ว ความเท่าเทียมกัน กลายเป็นเรื่องผิดปกติ กลุ่มอามาตย์กลายเป็นชนชั้นศักสิทธิ์ที่ได้สิทธิพิเศษมากกว่าบุคคลอื่นเนื่องจากเป็นผู้ที่ ใกล้ชิดกับพระเจ้า การกดขี่ข่มเหง เอารัดเอาเปรียบผู้ที่อ่อนแอกว่ากลายเป็นโองการจากสวรรค์ ความดีมีเพียง ทางเลือกเดียว สิทธิมนุษยชนกลายเป็นสิ่งที่ไร้ความหมาย จะมีความหมายก็ต่อเมื่อได้อ้างเพื่อรับใช้พระเจ้า เท่านั้น ประเทศไทยในปัจจุบันจึงเปรียบเสมือนโลกแห่งความถูกต้องที่กาลังถูกกัดกินจากโลกแห่งความผิด บาปจากซานตาน ดินแดนสวรรค์ของพระเจ้ากาลังถูกสั่นคลอนจากความชั่วร้าย เหล่ากลุ่มชนที่อยู่ใกล้ชิดกับ
  • 5. 5 พระเจ้าจาเป็นต้องออกมาต่อสู้กับซาตานเพื่อปกป้องประชาชนจากภัยร้ายต่างๆ โดยที่มวลชนเหล่านั้นจะต้อง เชื่อมั่นต่อฮีโร่เหล่านี้ ต้องศรัทธาอย่างไม่มีเงื่อนไข และจาเป็นต้องสูญเสียหรือได้รับความเจ็บปวดบางอย่าง เพื่อใช้ในการประกอบพิธีกรรมอันศักสิทธ์ครั้งนี้ เพื่อให้ได้โลกที่สวยงามตามที่พระเจ้าได้วาดไว้ แต่หากว่าโลกที่สวยงามใบนั้นจาเป็นต้องแลกมากับการสูญเสีย การถูกริดรอนสิทธิ การลดคุณค่าของ ความเป็นคน การถูกเอาเปรียบจากกลุ่มคนที่ไม่ได้ใกล้ชิดกับพระเจ้าเพื่อให้ได้โลกที่สงบสุขดั่งพระประสงค์ของ พระองค์แล้วละก็ บางทีโลกแห่งซานตาน โลกที่สามารถแสดงความเชื่อได้หลายรูปแบบมากกว่าการมีความดี เพียงหนึ่งเดียว เหล่าภูตผีสามารถจะปล่าวประกาศความชั่วของตัวเองได้เต็มที่ การรักษาสิทธิ คุณค่า อิสรภาพ หรือสิ่งที่คนคนหนึ่งพึงมีและได้รับ แทนที่จะเสียสละเพื่อมอบให้แก่พระเจ้าเสียแล้วนั้น โลกแห่งความ “ชั่วร้าย” ก็อาจจะน่าถวิลหามากกว่า โลกแห่ง “คุณความดี” ดั่งที่สังคมไทย ต้องการจะไปให้ถึง ก็เป็นได้
  • 6. 6 “รับน้อง” พิธีกรรมศักสิทธิ์ หรือเศษซากจักรวรรดินิยม อรวรรณ จิตรรัมย์ และแล้วก็เวียนมาถึงฤดูการแห่งการเปิดภาคเรียนใหม่ของนักศึกษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาของเหล่าบรรดา เฟรชชี่เด็กปีหนึ่งที่จะได้พบปะเพื่อนใหม่ สังคมใหม่ และคงหนีไม่พ้นประเพณีที่มีอยู่เกือบทุกสถาบันการศึกษา ระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งก็คือ “ระบบการรับน้อง” โดยให้เหตุผลว่า เพื่อฝึกนักศึกษาใหม่ให้รู้จักความเป็นพี่เป็น น้อง หรือที่รู้จักการในชื่อที่เรียกว่า “SOTUS” “SOTUS” มาจากอักษรย่อ 5 ตัว คือ S=Seniority เคารพผู้อาวุโส O=Order ต้องทาตามคาสั่งผู้อาวุโส T=Tradition ทาตามประเพณีที่ผู้อาวุโสคิดไว้ U=Unity ต้องคิดเหมือนๆ กันห้ามคิดแตกต่าง S=Spirit พร้อม พลีชีพเพื่อสถาบัน ประเพณีการรับรับน้องนั้น มีการสันนิษฐานว่าเริ่มต้นจากระบบอาวุโสของโรงเรียนกินนอนในประเทศ อังกฤษ (Fagging system) อย่าง oxford หรือ Cambridge และจากโรงเรียนนายร้อย Sand Hurst ที่ใช้เพื่อฝึก คนไปปกครองประเทศในอาณานิคมเมื่อประมาณปี ค.ศ.1850 ต่อมา โรงเรียนทหารของสหรัฐจาได้นาไป พัฒนาเป็นระบบ SOTUS ที่เข้มข้น เพื่อใช้ฝึกเหล่านายร้อยให้มีความเข้มเข็ง สามัคคี โดยมีประเพณีรับน้อง ใหม่ (Initiation ritual) เพื่อใช้ฝึกความอดทนของน้องใหม่มีการขู่ตะคอกหรือการว๊าก การดูหมิ่นต่างๆ เป็นต้น ต่อมาได้แพร่หลายไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆในสหรัฐ โดยมีการจัดตั้งกลุ่ม Fracternity ของนักศึกษาชาย และกลุ่ม Sorority ของนักศึกษาหญิง โดยมีการรับน้องของแต่ละกลุ่ม โดยระบบดังกล่าวเข้ามาในไทย เมื่อมี การก่อตั้งโรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยตามแบบโรงเรียนกินนอนในอังกฤษ การก่องตั้งโรงเรียนข้าราชการพลเรือน ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นจุฬาลงกรณ์วิทยาลัย การก่อตั้งโรงเรียนนายร้อยสาหรับฝึกทหารและตารวจ เพื่อส่งคนไป ปกครองตามหัวเมืองต่างๆ หรือดินแดนอดีตอาณานิคมของสยามอย่างเช่น ล้านนา มลายูปัตตานี ที่พึ่งถูก ผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่งของรัฐชาติสมัยใหม่ หลังรัชกาลที่ 5 เรื่อยมา ครั้นหลังสังครามโลกครั้งที่ 2 ได้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีการส่งคณาจารย์รุ่น แรกๆ ไปเรียนที่ Cornell University สหรัฐอเมริกา กับ University of the Philippines ที่ฟิลิปปินส์ ระบบ SOTUS จึงเริ่มต้นที่มหาวิทยาลัยเกษตร และแพร่ขยายไปทั่วประเทศ
  • 7. 7 ปัจจุบัน การรับน้องได้กลายมาเป็นวัฒนธรรมของการเรียนในระดับอุดมศึกษาที่จาเป็นต้องมี โดย อาศัยหลักความเชื่อที่ว่า เป็นประเพณีที่ช่วยหลอมรวมนักศึกษาใหม่ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ให้สามัคคีกัน ให้รักในสถาบัน เคารพรุ่นพี่ หรือจะเรียกได้ว่า เป็นการตอกย้าในความเป็นระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย เป็น ประเพณีที่มีการใส่ความศักสิทธิ์ลงไปจนกลายเป็น “พิธีกรรม” บ้างก็ถึงขนาดสั่งให้นักศึกษาใหม่ทุกคนสาบาน ต่อสิ่งศักสิทธิ์ประจามหาวิทยาลัยว่าจะจงรักภักดีต่อสถาบัน ระหว่างพิธีกรรมนี้ รุ่นพี่มักกรอกหูรุ่นน้องถึงคุณประโยชน์ของพิธีกรรมดังกล่าว รวมถึงประโยคในทานองที่ว่า “อยู่ข้างนอกคุณจะเป็นใครผมไม่สน แต่อยู่ที่นี่คุณคือรุ่นน้องของสถาบันแห่งนี้ พวกคุณต้องเชื่อฟังรุ่นพี่” “ถ้าแค่นี้ยังทนไม่ได้ แล้วเวลาไปอยู่สังคมข้างนอก สังคมทางานโดนกดดันมากกว่านี้อีก คุณจะทนได้ยังไง” อย่างในกรณีรุ่นพี่ของคณะวิชาในมหาวิทยาลัยเก่าแก่แห่งหนึ่ง ซึ่งมีความคิดจะเปลี่ยนแปลงระบบการ รับน้องใหม่ให้ ”ไม่มีการว๊าก” (การว๊ากคือการใช้คาพูดที่กดดัน รุนแรงแกนักศึกษาปี 1) ดังเช่นที่เป็นมา แต่กลับ ถูกดดันโดนรุ่นพี่ที่จบการศึกษา(พี่เก่า)ที่ยังต้องการให้คงระบบเดิมไว้ จนกลายเป็นดราม่าทางโซเชี่ยวมีเดียวอ ย่างมากมาย และผลสุดท้ายอิทธิพลคงพี่เก่าก็อยู่เหนือกว่าพลังของเด็กรุ่นใหม่ มีระบบการว๊ากเกิดขึ้นเช่นเดิม พวกแต่แค่เปลี่ยนชื่อจาก “พี่ว๊าก” เป็น “พี่ระเบียบ” พี่เก่าก็ยังคงเป็นตัวการสาคัญในความเคลื่อนไหวของระบบ รับน้อง ยังมีอานาจในการควบคุมว่าจะให้พอธีกรรมนี้เป็นไปในทิศทางใด โดยที่น้องๆ ที่เป็นผู้ดาเนินกิจกรรม ไม่มีสิทธิ์ที่จะเปลี่ยนแปลง สิ่งเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงอะไร? ทาไมบุคคลที่จบการศึกษาไปแล้วถึงยังมีอิธิพลและอานาจในมือที่ มากมายขนาดนี้ เสมือนมีคาประกาศิตที่รุ่นน้องที่ยังเรียนอยู่ในสถาบันไม่มีสิทธิ์บิดเบือน เปลี่ยนแปง แล้วทาไม พี่เก่าถึงยังคงวนเวียนอยู่กับกิจกรรมสถาบันศึกษา ไม่ยอมไปไหน? ซึ่งอาจจะสะท้อนถึงความพยายามที่จะยัง “มีตัวตน” ที่ชัดเจนอยู่ของตัวเอง ในสังคมข้างนอกรั้ว มหาวิทยาลัยที่เมื่อตนเองจบไป อาจจะกลายเป็นเพียงบุคคลธรรมดา เสียงที่มีไม่ได้มีพลังอะไร เป็นเพียงคนตัว เล็กๆ แต่เมื่อกลับเข้ามาสู้รั้วมหาวิทยาลัยกลับกลายเป็นอภิสิทธิ์ชนที่มีอานาจอยู่มือ มีคนเคารพยาเกรง ตัว ใหญ่ขึ้นมาทันที การกลายเป็นผู้ทรงอานาจจึงดูเป็นสิ่งที่เย้ายวนใจให้ไม่สามารถหลุดพ้นจากพิธีกรรมเหล่านี้ไป ได้ และยังส่งต่อวัฒนธรรมให้แก่รุ่นต่อๆ ไปยังไม่มีจบ ซึ่งในที่นี้ก็รวมถึงรุ่นพี่ที่ยังศึกษาอยู่ แต่มีอานาจและ บทบาทต่อรุ่นน้องด้วย
  • 8. 8 สิ่งเหล่านี้ สะท้อนหรือชวนให้ตั้งคาถามต่อพิธีกรรมรับน้องที่มากกว่าประเด็นเรื่องความศักสิทธิ์หรือไม่? คากล่าวอ้างของรุ่นพี่ที่ระบุว่า การรับน้องช่วยจัดระบบระเบียบเด็กที่เข้ามาใหม่ให้เป็นเดียวกัน ให้รัก ใครกลมเกลียว ยึดความเป็นพี่น้องของสถาบันนั้น ไม่มีกิจกรรมอื่นที่จะช่วยให้เกิดความรักใคร่สามัคคีโดยไม่ใช่ ความรุนแรง การลิดรอนสิทธิ หรือการพยายามที่จะควบคุมอานาจให้น้องที่ต่ากว่าเลยหรือ? ส่วนในประเด็น การเชิดชูสถบันที่ตนศึกษาอยู่นั้น มันคือการหล่อหลอมทาให้เกิดความคิดในการ “ยกตน” ให้สูง แล้วดูหมิ่น สถาบันอื่นหรือคนที่มีการศึกษาต่ากว่าในระดับอุดมศึกษาหรือไม่? ยิ่งไปกว่านั้น หากมองย้อนไปตั้งแต่จุดกาเนิดของระบบโซตัสจะเห็นได้แล้วว่า เดิมก่อเกิดมาเพื่อ ปกครองคนในประเทศอาณานิคมของพวกจักรววรดินิยม ที่สะท้อนในเรื่องการมองคน ”ไม่เท่ากัน” และเอารัด เอาเปรียบผู้อื่น ซึ่งในปัจจุบัน ประเทศเหล่านี้ได้ยกเลิกระบบดังกล่าวไปตั้งนานแล้ว โดยหันมาให้ความสาคัญ ให้ในเรื่องสิทธิ เสรีภาพ ของเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ยังคงเหลือตกค้างแต่ประเทศที่ได้รับเอาแนวคิดนี่ไปเท่านั้น หากมองให้ลึกลงไป จะเห็นได้ว่าประเพณีการรับน้องนี้ได้แฝงปลูกความเชื่อในเรื่องของการยอมจานน ต่อคนที่อาวุโสกว่า การจากัดสิทธิและเสียงของผู้ที่ถูกทาให้เชื่อว่ามีอานาจน้อยกว่า เป็นระบบที่เอื้ออานวยต่อ คนชนชั้นนาของสังคมไทย ที่ช่วยให้อานาจยังคงอยู่ในมือ มีความรู้สึกและการกระทาที่กดขี่ดูถูกผู้อื่นที่มีอานาจ น้อยกว่าได้อย่างไม่รู้สึกผิด ในขณะเดียวกันผู้น้อยเองก็รู้สึกว่าเป็นเรื่องปกติที่ต้องโดนจากัดเสียงและสิทธิอย่าง สู้ไม่ได้ และเมื่อบุคลเหล่านี้เมื่อได้จบจากสถาบันการศึกษาเพื่อออกสู่สังคม ก็จะมีความเชื่อเหล่านี้ติดตัวไป แล้วนาไปใช้กับบุคคลอื่นๆ ในสังคมนอกรั้วมหาวิทยาลัย ทั้งที่ทุกวันนี้ กล่าวอ้างกันว่าสังคมไทยถือประชาธิปไตยเป็นที่ตั้ง แต่ยังคงปลูกฝังความเชื่อเหล่านี้ใน ประเพณีที่กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่จะมาพัฒนาประเทศต่อไปต้องเข้าร่วม อย่างประเพณีรับน้องแล้วนั้น แบบนี้แล้วจะกล่าวอ้างได้อย่างไร ว่าเราเป็นประเทศที่เป็นประชาธิปไตย ในเมื่อค่านิยม ประเพณี ระบบต่างๆ ยังเอื้อให้แก่ชนชั้นนาของไทยที่ใช้ระบบไม่ต่างกับ จักรวรรดินิยม อ้างอิงข้อมูล
  • 9. 9 - บทความ “SOTUS การสืบทอดระบบขูดรีด” โดยกองบรรณาธิการเลี้ยวซ้าย จากหนังสือพิมพ์เลี้ยว ซ้าย (E-book) ฉบับที่ 72 (มิถุนายน 2554) - บทความ “ระบบ SOTUS คืออะไร?” โดย varit ton (นามแฝง) ห้องเรียนออนไลน์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
  • 10. 10 พิธีกรรมศิลปะ : นิทรรศการ มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน : ศิลปะและส่วนร่วมในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ อรวรรณ จิตรรัมย์ ศิลปะนั้นมีคานิยามที่หลายอย่าง หากจะมองในนิยามของสังคมวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกฉียงใต้ ศิลปะน่าจะหมายถึง เรื่องราวที่เราพบเจอในวิถีชีวิตประจาวัน ในแง่เรื่องประโยชน์ใช้สอย แต่หากมองตาม นิยามของสังคมตะวันตกนั้น ศิลปะจะหมายถึง ในเรื่องความงาม สุนทรียศาสตร์ โดยที่ไม่ใช่เรื่องที่พบเจอใน ชีวิตประจาวัน ซึ่งในปัจจุบันนั้น คาว่าศิลปะของสังคมตะวันตก ก็ได้มามีอิทธิพลต่อสังเอเชียตะออกฉียงใต้ เช่นกัน กล่าวคือ ในปัจจุบัน นิยามคาว่า “ศิลปะ” จะอยู่ในเรื่องความงาม สุนทรียศาสตร์ เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ.2556 ที่ผ่านมา ได้มีการจัดนิทรรศการ มโนทัศน์ ศิลปะ บริบทศิลปะและ ส่วนร่วมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นงานศิลปะร่วมสมัยของ ศิลปิน 40 คน จาก 8 ประเทศในเอเชียตะววันออกเฉียงใต้ โดย concept ของงานจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับปัญหา ต่างๆ ของแต่ละประเทศ ที่มีส่วนร่วมกัน โดยตัวศิลปินเองจะมีวิธีแก้ปัญหาหรือเสนอให้เห็นถึงปัญหาออกมาใน รูปแบบงานศิลปะ เช่น ของประเทศไทย ก็จะถูกเสนออกมาในผลงานศิลปะที่นัยยะเกี่ยวข้องกับการเมือง มาเลเซียก็จะเป็นในเรื่องเศรษฐกิจ เวียดนามก็จะเป็นเรื่องของความเหลื่อมล้า สิทธิ ความไม่เท่าเทียมกันของ คนในสังคม หรือ มีผลงานการสะท้อนเรื่องชนชั้น ชาติพันธุ์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งหากเริ่มมองตั้งแต่พื้นที่ที่ใช้จัด แสดงงานศิลปะในครั้งนี้ ก็จะเห็นได้ว่า เป็นการใช้พื้นที่เฉพาะ ที่ใช้ส่งเสริมให้งานนั้นดูมีคุณค่ามากขึ้น กล่าวคือเป็นพื้นที่ที่เป็นวงเฉพาะสาหรับแสดงผลงานศิลปะ ไม่ใช่จัดตามพื้นที่ทั่วไป ที่สามารถรับชมได้ง่าย มี การคัดคนร่วมงานด้วยบรรยากาศและพื้นที่ในการจัดงานศิลปะด้วยตัวของมันเอง หรือแม้แต่พิธีเปิดงานเองก็ ตามที่มีความเป็นทางการ เฉพาะ กระทั่งตัวผลงานศิลปะก็ไม่ได้ถูกสร้างมาเพื่อให้คนทั่วไปสามารถทาความ เข้าใจหรือรับรู้ได้ง่าย มันเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ “aura” ของตัวชิ้นงานศิลปะ ดั่งที่วอลเทอร์ เบนยามิน เคย กล่าวว่า ชิ้นงานศิลปะแต่ละชิ้นนั้นเมื่อถูกสร้างขึ้นมา มันจะมี aura ในตัวของมันเอง หากว่ามีการเลียนแบบ หรือผลิตซ้า งานชิ้นนั้น aura ก็จะค่อยๆ ลดหน่อยลงไป ตามจานวนที่มากขึ้น ซึ่งก็คืองานบางชิ้นที่สามารถ เข้าใจได้ง่าย มีการผลิตซ้า มีความเป็น mass สูงนั้น เบนยามินมองว่า “งานเหล่านั้นไม่มี aura” หากมามองในเรื่องเรื่องที่ว่า ตัวชิ้นงานศิลปะนั้นจาเป็นต้องมี aura ก็เชื่อมโยงในเรื่องของคาว่า “วัฒนธรรม” นั่น ตามความหมายทที่เกี่ยงข้องกับงานศิลปะนั้น ไม่ใช่เรื่องราวมของวิถีชีวิตของมนุษย์ที่เราพบ
  • 11. 11 เห็นได้ทั่วไป แต่เป็นความหมายของวัฒนธรรมจากชนชั้นสูง จากกรอบความคิดของอังกฤษ เพื่อแบ่งแยกวิถี ชีวิตของชนชั้นสูงกับชนชั้นต่า หรือถ้าเป็น “วัฒน” ตามกรอบแนวคิดแบบวิวัฒนาการ และลัทธิดาร์วินเชิงสังคม ก็ยิ่งทาให้เห็นได้ชัดว่า มีเพียงคนบางกลุ่มเท่านั้นที่จะถือว่ามีวัฒนธรรม1 ซึ่งงานศิลปะนั้นเก็เปรียบเสมือน วัฒนธรรมที่มีหลายประเทศใช้สิ่งเหล่านี้เป็นตัวชี้วัดความเจริญก้าวหน้าของประเทศ ทาให้ยิ่งเป็นการตอกย้า ว่าความหมายของวัฒนธรรมที่เราเห็นในปัจจุบันนั้น หมายถึง “วัฒนธรรมของชนชั้นสูง” มากกว่าที่จะเป็น ความหมายตามกรอบความคิดของสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา2 ซึ่งการจัดนิทรรศการศิลปะส่วนใหญ่ อย่างเช่นนิทรรศการนี้ จะเห็นได้ว่าเป็นการตอบสนองต่อความหมายของวัฒนธรรมของชนชั้นสูงเช่นกัน ไม่ว่า จะเป็นสถานที่จัดงาน หรือผลงานศิลปะที่จาเป็นต้องทาความเข้าใจก็ตาม มันเป็นเรื่องที่ทาให้เห็นถึงรสนิยม ชั้นสูง เรื่องของการแบ่งชนชั้น ในขณะเดียวกัน การจัดนิทรรศการผลงานศิลปะนั้นก็จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนผ่าน เพื่อให้ผลงานนั้นดู มีคุณค่า หรือมีความศักสิทธิ์มากขึ้น เสหมือนการเข้าร่วมพิธีกรรม ในแง่ของงานศิลปะนั้น การแสวงหาจิต วิญญาณก็ยังคงเป็นสิ่งสาคัญ เช่นเดียวการเข้าร่วมพิธีกรรมอันศ กสิทธิ์ต่างๆหรือการเข้ามร่วมเชิงจิตวิญาณ อื่นๆ3 ดังนั้นจึงจะเห็นได้ว่างานศิลปะถูกยกย่องให้ดูว่ามีคุณค่าในแง่จิตวิญญาณ ความงาม เป็นสิ่งที่สูงส่ง ศิลปะจึงถูกแยกอาณาเขตออกไปเช่นเดียวกับศาสนาหรือการเมือง ทีมีความเฉพาะของกลุ่มคน ของพื้นที่เข้า มาเกี่ยวข้อง ซึ่งการก้าวข้ามไปสู่อีกอาณาเขตหนึ่งก็จาเป็นต้องมีพิธีกรรมในการเปลี่ยนผ่านเช่นกัน4 ดังนั้นตัว พิธีกรรมเองก็มีความคล้ายคลึงกับการจัดงานศิลปะ การที่มีพิธีเปิดงานและสูจิบัตรนั้นถือว่าเป็นการรับรู้ที่แตกต่างจากการชมงาน เพราะเป็นการใช้ ประสาทหูหรือการอ่านตัวอักษร แต่ไม่ใช่ใช้ตาเพื่อชมผลงาน5 ดังนั้นการแสดงผลงานศิลปะจึงเหมือนพิธีกรรม ที่เหมือนเป็นการรวมสิ่งที่แตกต่างกันมาอยู่ด้วยกัน ซึ่งจาเป็นที่จะต้องมีพิธีกรรมเพื่อให้อยู่ร่วมกันได้ และ เสหมือนเป็นเงื่อนไข หรือสิ่งพิเศษ สิ่งลึกลับที่อยู่ในระหว่างการเข้าร่วมพิธีกรรม เช่นเดียวกัน จึงอาจกล่าวได้ว่า 1 ธเนศ วงศ์ยานนาวา, ศิลปะกับสภาวะสมัยใหม่ : ความขัดแย้งและความลักลั่น, (กรุงเทพฯ : สานักงานศิลปะวัฒนธรรมร่วม สมัย,2552), 51. (อัดสาเนา) 2 อ้างแล้ว, 45. 3 ธเนศ วงศ์ยานนาวา, ศิลปะกับสภาวะสมัยใหม่ : ความขัดแย้งและความลักลั่น, (กรุงเทพฯ : สานักงานศิลปะวัฒนธรรมร่วม สมัย,2552), 57. (อัดสาเนา) 4อ้างแล้ว, 60. 5อ้างแล้ว, 69.
  • 12. 12 สุดท้ายแล้ว ศิลปะเองก็ถูกทาให้ศักดิ์สิทธ์ด้วยการคดเลือกกลุ่มคน การเปลี่ยนผ่าน ด้วยตัวผลงานและพื้นที่ ของการแสดงศิลปะนั่นเอง
  • 13. 13 บันทึกการอ่านบทความ “ข้างหลังภาพ” ผู้เขียน : ฆัสรา ขมะวรรณ มุกดาวิจิตร อรวรรณ จิตรรัมย์ บทความ “ข้างหลังภาพ” เป็นเรื่องราวที่กล่าวถึง การเป็นทั้ง “ผู้บันทึกภาพ” และ “ผู้ถูกบันทึกภาพ” โดยใช้กล้องเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเรื่องราว ในเนื้อหาจะเป็นการกล่าวถึงการลงภาคสนามของผู้หญิงคน หนึ่งในฐานะนักมานุษยวิทยาและผู้บันทึกภาพ โดยกาหนดบริเวณพื้นที่ที่ประเทศเวียดนาม มีการกล่าวถึง “ภาพ” หรือ “สื่อ” ที่แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตของผู้คน กลุ่มชนต่างๆ ในประเทศเวียดนาม ไม่ว่าจะเป็นการแสดง เรื่องราวของชาติพันธุ์วิทยาที่ฮานอย โดยเป็นการนาเสนอเรื่องราวที่ถูกเลือกมาแล้ว ไม่ใช่การนาเสนอความจริง ทั้งหมด และยังเป็นการใช้ “ภาพ” เพื่อเสมือนเป็นการ “แช่แข็ง” เรื่องราวของพวกเขาเอาไว้ โดยสิ่งที่ถูกออกมา นาเสนอนั้น กลับกลายเป็นวิถีชีวิตที่ห่างไกลจากความเป็นจริงของพวกเขา โดยพยายามลบเรื่องราว วิถีชีวิตใน ยุคปัจจุบันออกไป เช่น ข้าวของเครื่องใช้ที่มีความทันสมัย ไม่ได้ถูกนาเสนออกมา กลับมีเพียงข้าวของเครื่องใช้ แบบพื้นบ้านของกลุ่มชนนั้นๆ ที่ถูกนาเสนอออกมา เนื่องจากสิ่งทันสมัยเหล่านั้น อาจจะไปขัดกับความรู้สึกของ ผู้ชม แต่ของพื้นเมืองต่างๆ หรือการจัดฉากเพื่อการประกอบพิธีกรรมที่ถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบวีดิโอ ก็ เพื่อเป็นเพียงการจัดฉากให้ “คนอื่น” ดู เพื่อนกระตุ้นให้ผู้ที่มาชมมีความสนใจในความ “Exotic” หรือ “ความ แปลก” เพียงเท่านั้น ซึ่งการกระทาเหล่านี้ถือว่าเป็นการขัดต่อจริยธรรมของนักมานุษยวิทยา แต่หากมองอีกมุม หนึ่งก็อาจจะบอกได้ว่า เป็นการกล่าวถึงเรื่องราวที่เคยมีอยู่จริง การประกอบพิธีกรรม วิถีชีวิต ที่ไม่อาจบันทึก เก็บไว้ได้ เมื่อตอนที่มันยังมีอยู่ อย่างในกรณีของลุงเขียน นักวิชาการท้องถิ่นของที่นี้ แกมักจะถูกนักวิชาการต่างชาติไปหาและถ่ายรูป แกในชุดชาวไตดาอยู่เสมอ แต่ในความเป็นจริงแล้ว แกกลับไม่ได้ใส่ชุดไตดา กลับใส่ชุดสูทหรือเชิ๊ต อย่างที่ไม่ได้ ถูกนาเสนอออกไป หรือ ลุงขิ่ง นักวิชาการท้องถิ่นเช่นกัน ลุงขิ่นเป็นชาวไตขาว ที่บ้านของแกมีความสาคัญในด้าน ประวัติศาสตร์ไตดา – ขาว แต่กาลังจะจมหายไปเนื่องจากการสร้างเขื่อนเซินลา ดังนั้น แกจึงต้องการใครก็ได้ที่ สามรถมา “บันทึกภาพ” วิถีชีวิตของพวกแกเอาไว้ เพื่อการแช่แข็งเรื่องราวของพวกแก ประวัติศาสตร์ที่มีอยู่มา ยาวนาน ก่อนที่จะจมหายไปพร้อมการเกิดขึ้นของเขื่อนเซินลา
  • 14. 14 แต่อย่างไรก็ตาม บางครั้งการถ่ายรูปก็อาจจะเป็นการ ”แทรกแซง” “บุกรุก” พื้นที่ของคนอื่นที่เขาไม่ ต้องการให้เราเข้าไป อย่างเช่น แม่ค้าบู๋นกัวที่ไม่ต้องการให้ถ่ายรูปของเธอ แม้ว่าผู้ที่เขียนบทความนี้จะพยายาม ชี้แจงเหตุผลให้ฟังก็ตาม หรือในกรณีที่มีนักมานุษยวิทยาตามเพื่อนชาวไตไปงานศพ ก็ถูกห้ามไม่ให้บันทึกภาพ ในงานเช่นกัน นอกจากนี้ ยังมีกรณีที่บันทึกภาพได้ แต่ห้ามนาไปเผยแพร่ อย่างเช่น ในครั้งหนึ่งที่ผู้เขียน บทความนี้ได้มีโอกาสไปร่วมงานศพของคนสนิทที่เซินลา โดยในวันที่ 10 ของการตายจะมี “มด” มาทาพิธีเสน ขวัญให้กับเครือญาติของผู้ตาย ในตอนนั้นคนที่เป็นมดก็ยังแต่งตัวตามปกติ แต่พอรู้ว่าผู้เขียนบทความเป็น นักวิจัยชาวต่างชาติ ก็เปลี่ยนการแต่งตัวให้แปลกกว่าเดิม เพื่อให้ดูน่าตื่นเต้นและทรงอานาจ เพื่อให้ บันทึก “ภาพ” ไปเผยแพร่ แต่สุดท้ายกลับถูกห้ามนาไปเผยแพร่ เนื่องจากคนในงานที่เป็นคนในพื้นที่มองว่า จะเป็นการ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจแบบผิดๆ ต่อมาเมื่อมีกล้องดิจิตอลเข้ามาแทนกล้องฟิล์ม ก็ส่งผลให้ปฏิสัมพันธ์ของ คนถ่ายกับผู้ถูกถ่ายดีขึ้น เพราะสามารถดูภาพหลังกล้องได้ทันทีว่า ภาพนั้นสามารถเอาไปเผยแพร่ได้หรือไม่ จากบทความนี้จะเห็นได้ว่า บางครั้งภาพถ่าย ก็ไม่ได้เป็นสิ่งที่บันทึกภาพความจริงหรือสะท้อนความ จริงออกมาได้ทั้งหมดแต่เป็นการเลือกถ่าย เช่น การถ่ายภาพในพิธีกรรม จะเป็นเพียงการเลือกถ่ายแต่บุคคลที่ผู้ ถ่ายคิดว่าสาคัญ เหตุการณ์สาคัญ ไม่ได้ถ่ายให้เห็นถึงเบื้องหลังความสาเร็จของพิธีนั้นๆ เช่น คนเตรียมงาน บุคคลอื่นๆ ที่อยู่ในงาน เป็นต้น ซึ่งการเลือกถ่ายเช่นนี้ บางครั้งจะมาจาการ “รับรู้” จากสื่อต่างๆ ที่เห็นจาก ประสบการณ์ที่ผ่านมา เช่น ห้องเรียน สารคดี พิพิทธภัณฑ์ เป็นต้น ที่ต่างก็เลือกที่จะนาเสนอบางมุมมองทั้งสิ้น ดังนั้น การถ่ายภาพจึงเหมือนกับการ “หยุด” หรือที่เรียกว่า “แช่แข็ง” ช่วงเวลา เหตุการณ์ ของภาพนั้น เอาไว้ และยังเป็นการเลือกนาเสนอเพียงบางส่วน บางมุมมอง ที่อยากจะถ่ายทอดออกมา ดังนั้น “ภาพ” จึง ไม่ใช่การนาเสนอความจริงทั้งหมด แต่เป็นเพียงแค่ “ส่วนหนึ่ง” เท่านั้น หรือบางครั้ง ก็เป็นเพียง “การจัดฉาก” เพื่อให้เห็นในสิ่งที่ผู้บันทึกต้องการให้เห็น นอกจากนี้แล้ว ในบางครั้ง “กล้อง” ยังเป็นเสมือนเครื่องมือหรือ สัญลักษณ์ที่แสดงถึงการ “บุกรุก” หรือ “รุกราน” ได้เช่นกัน จึงทาให้ในบางครั้ง ผู้บันทึกภาพก็ควรที่จะเลือกใช้ มันให้ถูกต้อง และที่สาคัญไม่ควรที่จะลืม “เคารพสิทธิ” ของผู้ถูกบันทึกภาพ รวมถึงจริยธรรมในการเลือก นาเสนอว่า มันเป็นความจริงแท้หรือเป็นเพียงบางมุมมอง “ฉาก” ที่เราอยากให้ผู้ชม “ดู” และเชื่อแบบนั้น