SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
บทที่ ๑   หลักธรรมของผู้สั่งสอนหรือให้การศึกษา (ครู อาจารย์ หรือผู้แสดงธรรม)
ขอบข่ายเนื้อหา 	ผู้ทำหน้าที่สั่งสอน ให้การศึกษาแก่ผู้อื่น โดยเฉพาะครู อาจารย์ พึงประกอบด้วยคุณสมบัติ และประพฤติตามหลักปฏิบัติ ดังนี้ 		ก. เป็นกัลยาณมิตร 		ข. ตั้งใจประสิทธิ์ความรู้ 		ค. มีลีลาครูครบทั้งสี่ 		ง. มีหลักตรวจสอบถาม 		จ. ทำหน้าที่ครูต่อศิษย์ 2 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
เป็นกัลยาณมิตร คือ ประกอบด้วยองค์คุณของกัลยาณมิตร หรือ กัลยาณมิตรธรรม ๗ ประการ ดังนี้ ๑. ปิโยน่ารัก คือ มีเมตตากรุณา ใส่ใจคนและประโยชน์สุขของเขา เข้าถึงจิตใจ สร้างความรู้สึกสนิทสนมเป็นกันเอง ชวนใจผู้เรียนให้อยากเข้าไปปรึกษาไต่ถาม ๒. ครุน่าเคารพ คือ เป็นผู้หนักแน่น ถือหลักการเป็นสำคัญ และมีความประพฤติสมควรแก่ฐานะ ทำให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ เป็นที่พึ่งได้และปลอดภัย ๓. ภาวนีโยน่าเจริญใจ คือ มีความรู้จริง ทรงภูมิปัญญาแท้จริง และเป็นผู้ฝึกฝนปรับปรุงตนอยู่เสมอ เป็นที่น่ายกย่องควรเอาอย่าง ทำให้ศิษย์เอ่ยอ้างและรำลึกถึงด้วยความซาบซึ้ง มั่นใจ และภาคภูมิใจ 3 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
ก.เป็นกัลยาณมิตร(ต่อ) ๔. วตฺตา รู้จักพูดให้ได้ผล คือ รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ รู้ว่าเมื่อไรควรพูดอะไร อย่างไร คอยให้คำแนะนำว่ากล่าวตักเตือน เป็นที่ปรึกษาที่ดี ๕. วจนกฺขโมอดทนต่อถ้อยคำ คือ พร้อมที่จะรับฟังคำปรึกษาซักถามแม้จุกจิก ตลอดจนคำล่วงเกินและคำตักเตือนวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ อดทน ฟังได้ ไม่เบื่อหน่าย ไม่เสียอารมณ์* ๖.คมฺภีรญฺจกถํกตฺตาแถลงเรื่องล้ำลึกได้ คือ กล่าวชี้แจงเรื่องต่างๆ ที่ยุ่งยากลึกซึ้งให้เข้าใจได้ และสอนศิษย์ให้ได้เรียนรู้เรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ๗. โน จฏฺฐาเนนิโยชเยไม่ชักนำในอฐาน คือ ไม่ชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย หรือเรื่องเหลวไหลไม่สมควร (องฺ.สตฺตก. ๒๓/๓๔/๓๓) 4 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
ข. ตั้งใจประสิทธิ์ความรู้ โดยตั้งตนอยู่ในธรรมของผู้แสดงธรรม ที่เรียกว่า ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ คือ 	๑. อนุบุพพิกถาสอนให้มีขั้นตอนถูกลำดับ คือ แสดงหลักธรรม หรือเนื้อหาตามลำดับความง่ายยากลุ่มลึก มีเหตุผลสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปโดยลำดับ ๒. ปริยายทัสสาวีจับจุดสำคัญมาขยายให้เข้าใจเหตุผล คือ ชี้แจง ยกเหตุผลมาแสดง ให้เข้าใจชัดเจนในแต่ละแง่แต่ละประเด็น อธิบายยักเยื้องไปต่างๆ ให้มองเห็นกระจ่างตามแนวเหตุผล 5 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
๓. อนุทยตา ตั้งจิตเมตตาสอนด้วยความปรารถนาดี คือ สอนเขาด้วยจิตเมตตา มุ่งจะให้เป็นประโยชน์แก้ผู้รับคำสอน ๔. อนามิสันดรไม่มีจิตเพ่งเล็งเห็นแก่อามิส คือ สอนเขามิใช่มิใช่มุ่งที่ตนจะได้ลาภ สินจ้าง หรือผลประโยชน์ตอบแทน ๕. อนุปหัจจ์*วางจิตตรงไม่กระทบตนและผู้อื่น คือ สอนตามหลักตามเนื้อหา มุ่งแสดงอรรถ แสดงธรรม ไม่ยกตน ไม่เสียดสีข่มขี่ผู้อื่น (องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕) 6 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
ค. มีลีลาครูครบทั้งสี่ ครูที่สามารถมีลีลาของนักสอน ดังนี้ ๑. สันทัสสนาชี้ให้ชัด จะสอนอะไร ก็ชี้แจงแสดงเหตุผล แยกแยะอธิบายให้ผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้ง ดังจูงมือไปดูเห็นกับตา ๒. สมาทปนาชวนให้ปฏิบัติ คือ สิ่งใดควรทำ ก็บรรยายให้มองเห็นความสำคัญ และซาบซึ้งในคุณค่า เห็นสมจริง จนผู้ฟังยอมรับ อยากลงมือทำ หรือนำไปปฏิบัติ ๓. สมุตเตชนาเร้าให้กล้า คือ ปลุกใจให้คึกคัก เกิดความกระตือรือร้น มีกำลังใจแข็งขัน มั่นใจจะทำให้สำเร็จ ไม่กลัวเหน็ดเหนื่อยหรือยากลำบาก ๔. สัมปหังสนาปลุกให้ร่าเริง คือ ทำบรรยากาศให้สนุกสดชื่น แจ่มใส เบิกบานใจ ให้ผู้ฟังแช่มชื่น มีความหวัง มองเห็นผลดีและทางสำเร็จ จำง่ายๆ ว่า สอนให้ แจ่มแจ้ง จูงใจ แกล้วกล้า ร่าเริง (เช่น ที.สี. ๙/๑๙๘/๑๖๑)   7 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
ง. มีหลักตรวจสอบถาม เมื่อพูดอย่างรวบรัดที่สุด ครูอาจตรวจสอบตนเอง ด้วยลักษณะการสอนของพระบรมครู ๓ ประการ คือ  	๑. สอนด้วยความรู้จริง รู้จริง ทำได้จริง จึงสอนเขา 	๒. สอนอย่างมีเหตุผล ให้เขาพิจารณาเข้าใจแจ้งด้วยปัญญาของเขาเอง 	๓. สอนให้ได้ผลจริง สำเร็จความมุ่งหมายของเรื่องที่สอนนั้นๆ เช่น ให้เข้าใจได้จริง เห็นความจริง ทำได้จริง นำไปปฏิบัติได้ผลจริง เป็นต้น (องฺ.ติก. ๒๐/๕๖๕/๓๕๖)   8 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
จ. ทำหน้าที่ครูต่อศิษย์ คือ ปฏิบัติต่อศิษย์ โดยอนุเคราะห์ตามหลักธรรมเสมือนเป็น ทิศเบื้องขวา* ดังนี้ 	๑. แนะนำฝึกอบรมให้เป็นคนดี 	๒. สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง 	๓. สอนศิลปวิทยาให้สิ้นเชิง 	๔. ส่งเสริมยกย่องความดีงามความสามารถให้ปรากฏ 	๕. สร้างเครื่องคุ้มภัยในสารทิศ คือ สอนฝึกศิษย์ให้ใช้วิชาเลี้ยงชีพได้จริงและรู้จักดำรงตนด้วยดี ที่จะเป็นประกันให้ดำเนินชีวิตดีงามโดยสวัสดี มีความสุขความเจริญ** (ที.ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓)   9 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
แทรกภาพนิ่ง 10 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
การบันทึกภาพหน้าจอคอมพิวเตอร์ 1 11 การสร้างอัลบั้มรูปจาก Power Point  วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างอัลบั้มรูปอย่างรวดเร็วไว้ใช้แสดงทั่วไป ขั้นตอน/วิธีการ เมนู “แทรก” เลือก อัลบั้มรูป รูปเลือกเมนู “สร้างอัลบั้มรูป” ปรากฏหน้าจอขึ้นมา ให้เลือก “แฟ้ม/ดิสก์” เพื่อเลือกรูปจากที่เตรียมไว้ ที่เค้าโครงรูปภาพ ให้เลือกแบบ “1 รูปภาพ” รูปร่างกรอบให้เลือก “สี่เหลี่ยมแบบมีเงา” คลิกปุ่ม “สร้าง” 2 3 4 5 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
ตาราง (Table) จำนวนนิสิต มจร.นครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๓
แผนภูมิ (Graph) แสดงจำนวนนิสิต ภาคเรียน ๑/๒๕๕๓ แยกตามสาขาวิชา
แผนภูมิ -2 จำนวนนิสิต ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๓  จำแนกตามสัดส่วนตามสาขาวิชา
แผนผัง 1แบบรายการ ธรรมะสำหรับการครองชีวิต หมวดที่ ๔
แผนผัง2  กระบวนการ ชีวิตและความตาย
แผนผัง 3  วงกลม อิริยาบทของคน
แผนผัง4  ลำดับชั้น โครงสร้างส่วนงาน วข.นครศรีธรรมราช
แผนผัง5  ความสัมพันธ์ หลักทิศ ๖ ความสัมพันธ์ของบุคคล
แผนผัง ๖ เมทริกซ์ ประเภทของดอกไม้
แผนผัง ๗  พีรามิด การบริหารงานขององค์กร
แผนผัง ๗  พีรามิด การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร  มจร.
Effect 1 เข้า ตัวอย่างผลงานวิชาการ
Effect 2 เน้น
Effect 2  จบ
Effect 4  เส้นทางการเคลื่อนที่
Video Insert  Video Convert Video Video  Cutter
ความพยายามทำให้สำเร็จ
ต่างด้าว 34 บาท แรงงานต่างด้าว

More Related Content

What's hot

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
kittitach06709
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
sofia-m15
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
Rorsed Mardra
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
Teeraporn Pingkaew
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
Nongruk Srisukha
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon
 

What's hot (15)

เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
Jerome bruner
Jerome  brunerJerome  bruner
Jerome bruner
 
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
1e0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8b2e0b8a3e0b980e0b8a3e0b8b5e0b8a2e0b8...
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
บรูเนอร์
บรูเนอร์บรูเนอร์
บรูเนอร์
 
การเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือการเรียนแบบร่วมมือ
การเรียนแบบร่วมมือ
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
วิธีการสอนโดยใช้ศูนย์การเรียนรู้
วิธีการสอนโดยใช้ศูนย์การเรียนรู้วิธีการสอนโดยใช้ศูนย์การเรียนรู้
วิธีการสอนโดยใช้ศูนย์การเรียนรู้
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการบรูเนอร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของเจโรม บรูเนอร์
 
ไหว้ครู
ไหว้ครูไหว้ครู
ไหว้ครู
 

Similar to คุณธรรมสำหรับครูSlideshare

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
hadesza
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Noppasorn Boonsena
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
teacherhistory
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
Kanjana Pothinam
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
Aon Wallapa
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
poms0077
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
poms0077
 

Similar to คุณธรรมสำหรับครูSlideshare (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
คุณลักษณะของครูที่ดี ตอนที่ 1
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
คุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณคุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
 
4 บทความ
4 บทความ4 บทความ
4 บทความ
 
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯการอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
การอ่านอย่างมีวิจารณญาณฯ
 
จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3จิตวิทยาการเรียนรู้3
จิตวิทยาการเรียนรู้3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 

คุณธรรมสำหรับครูSlideshare

  • 1. บทที่ ๑ หลักธรรมของผู้สั่งสอนหรือให้การศึกษา (ครู อาจารย์ หรือผู้แสดงธรรม)
  • 2. ขอบข่ายเนื้อหา ผู้ทำหน้าที่สั่งสอน ให้การศึกษาแก่ผู้อื่น โดยเฉพาะครู อาจารย์ พึงประกอบด้วยคุณสมบัติ และประพฤติตามหลักปฏิบัติ ดังนี้ ก. เป็นกัลยาณมิตร ข. ตั้งใจประสิทธิ์ความรู้ ค. มีลีลาครูครบทั้งสี่ ง. มีหลักตรวจสอบถาม จ. ทำหน้าที่ครูต่อศิษย์ 2 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 3. เป็นกัลยาณมิตร คือ ประกอบด้วยองค์คุณของกัลยาณมิตร หรือ กัลยาณมิตรธรรม ๗ ประการ ดังนี้ ๑. ปิโยน่ารัก คือ มีเมตตากรุณา ใส่ใจคนและประโยชน์สุขของเขา เข้าถึงจิตใจ สร้างความรู้สึกสนิทสนมเป็นกันเอง ชวนใจผู้เรียนให้อยากเข้าไปปรึกษาไต่ถาม ๒. ครุน่าเคารพ คือ เป็นผู้หนักแน่น ถือหลักการเป็นสำคัญ และมีความประพฤติสมควรแก่ฐานะ ทำให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ เป็นที่พึ่งได้และปลอดภัย ๓. ภาวนีโยน่าเจริญใจ คือ มีความรู้จริง ทรงภูมิปัญญาแท้จริง และเป็นผู้ฝึกฝนปรับปรุงตนอยู่เสมอ เป็นที่น่ายกย่องควรเอาอย่าง ทำให้ศิษย์เอ่ยอ้างและรำลึกถึงด้วยความซาบซึ้ง มั่นใจ และภาคภูมิใจ 3 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 4. ก.เป็นกัลยาณมิตร(ต่อ) ๔. วตฺตา รู้จักพูดให้ได้ผล คือ รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ รู้ว่าเมื่อไรควรพูดอะไร อย่างไร คอยให้คำแนะนำว่ากล่าวตักเตือน เป็นที่ปรึกษาที่ดี ๕. วจนกฺขโมอดทนต่อถ้อยคำ คือ พร้อมที่จะรับฟังคำปรึกษาซักถามแม้จุกจิก ตลอดจนคำล่วงเกินและคำตักเตือนวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ อดทน ฟังได้ ไม่เบื่อหน่าย ไม่เสียอารมณ์* ๖.คมฺภีรญฺจกถํกตฺตาแถลงเรื่องล้ำลึกได้ คือ กล่าวชี้แจงเรื่องต่างๆ ที่ยุ่งยากลึกซึ้งให้เข้าใจได้ และสอนศิษย์ให้ได้เรียนรู้เรื่องราวที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ๗. โน จฏฺฐาเนนิโยชเยไม่ชักนำในอฐาน คือ ไม่ชักจูงไปในทางที่เสื่อมเสีย หรือเรื่องเหลวไหลไม่สมควร (องฺ.สตฺตก. ๒๓/๓๔/๓๓) 4 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 5. ข. ตั้งใจประสิทธิ์ความรู้ โดยตั้งตนอยู่ในธรรมของผู้แสดงธรรม ที่เรียกว่า ธรรมเทศกธรรม ๕ ประการ คือ ๑. อนุบุพพิกถาสอนให้มีขั้นตอนถูกลำดับ คือ แสดงหลักธรรม หรือเนื้อหาตามลำดับความง่ายยากลุ่มลึก มีเหตุผลสัมพันธ์ต่อเนื่องกันไปโดยลำดับ ๒. ปริยายทัสสาวีจับจุดสำคัญมาขยายให้เข้าใจเหตุผล คือ ชี้แจง ยกเหตุผลมาแสดง ให้เข้าใจชัดเจนในแต่ละแง่แต่ละประเด็น อธิบายยักเยื้องไปต่างๆ ให้มองเห็นกระจ่างตามแนวเหตุผล 5 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 6. ๓. อนุทยตา ตั้งจิตเมตตาสอนด้วยความปรารถนาดี คือ สอนเขาด้วยจิตเมตตา มุ่งจะให้เป็นประโยชน์แก้ผู้รับคำสอน ๔. อนามิสันดรไม่มีจิตเพ่งเล็งเห็นแก่อามิส คือ สอนเขามิใช่มิใช่มุ่งที่ตนจะได้ลาภ สินจ้าง หรือผลประโยชน์ตอบแทน ๕. อนุปหัจจ์*วางจิตตรงไม่กระทบตนและผู้อื่น คือ สอนตามหลักตามเนื้อหา มุ่งแสดงอรรถ แสดงธรรม ไม่ยกตน ไม่เสียดสีข่มขี่ผู้อื่น (องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๑๕๙/๒๐๕) 6 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 7. ค. มีลีลาครูครบทั้งสี่ ครูที่สามารถมีลีลาของนักสอน ดังนี้ ๑. สันทัสสนาชี้ให้ชัด จะสอนอะไร ก็ชี้แจงแสดงเหตุผล แยกแยะอธิบายให้ผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้ง ดังจูงมือไปดูเห็นกับตา ๒. สมาทปนาชวนให้ปฏิบัติ คือ สิ่งใดควรทำ ก็บรรยายให้มองเห็นความสำคัญ และซาบซึ้งในคุณค่า เห็นสมจริง จนผู้ฟังยอมรับ อยากลงมือทำ หรือนำไปปฏิบัติ ๓. สมุตเตชนาเร้าให้กล้า คือ ปลุกใจให้คึกคัก เกิดความกระตือรือร้น มีกำลังใจแข็งขัน มั่นใจจะทำให้สำเร็จ ไม่กลัวเหน็ดเหนื่อยหรือยากลำบาก ๔. สัมปหังสนาปลุกให้ร่าเริง คือ ทำบรรยากาศให้สนุกสดชื่น แจ่มใส เบิกบานใจ ให้ผู้ฟังแช่มชื่น มีความหวัง มองเห็นผลดีและทางสำเร็จ จำง่ายๆ ว่า สอนให้ แจ่มแจ้ง จูงใจ แกล้วกล้า ร่าเริง (เช่น ที.สี. ๙/๑๙๘/๑๖๑)   7 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 8. ง. มีหลักตรวจสอบถาม เมื่อพูดอย่างรวบรัดที่สุด ครูอาจตรวจสอบตนเอง ด้วยลักษณะการสอนของพระบรมครู ๓ ประการ คือ ๑. สอนด้วยความรู้จริง รู้จริง ทำได้จริง จึงสอนเขา ๒. สอนอย่างมีเหตุผล ให้เขาพิจารณาเข้าใจแจ้งด้วยปัญญาของเขาเอง ๓. สอนให้ได้ผลจริง สำเร็จความมุ่งหมายของเรื่องที่สอนนั้นๆ เช่น ให้เข้าใจได้จริง เห็นความจริง ทำได้จริง นำไปปฏิบัติได้ผลจริง เป็นต้น (องฺ.ติก. ๒๐/๕๖๕/๓๕๖)   8 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 9. จ. ทำหน้าที่ครูต่อศิษย์ คือ ปฏิบัติต่อศิษย์ โดยอนุเคราะห์ตามหลักธรรมเสมือนเป็น ทิศเบื้องขวา* ดังนี้ ๑. แนะนำฝึกอบรมให้เป็นคนดี ๒. สอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง ๓. สอนศิลปวิทยาให้สิ้นเชิง ๔. ส่งเสริมยกย่องความดีงามความสามารถให้ปรากฏ ๕. สร้างเครื่องคุ้มภัยในสารทิศ คือ สอนฝึกศิษย์ให้ใช้วิชาเลี้ยงชีพได้จริงและรู้จักดำรงตนด้วยดี ที่จะเป็นประกันให้ดำเนินชีวิตดีงามโดยสวัสดี มีความสุขความเจริญ** (ที.ปา. ๑๑/๒๐๐/๒๐๓)   9 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 10. แทรกภาพนิ่ง 10 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 11. การบันทึกภาพหน้าจอคอมพิวเตอร์ 1 11 การสร้างอัลบั้มรูปจาก Power Point วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างอัลบั้มรูปอย่างรวดเร็วไว้ใช้แสดงทั่วไป ขั้นตอน/วิธีการ เมนู “แทรก” เลือก อัลบั้มรูป รูปเลือกเมนู “สร้างอัลบั้มรูป” ปรากฏหน้าจอขึ้นมา ให้เลือก “แฟ้ม/ดิสก์” เพื่อเลือกรูปจากที่เตรียมไว้ ที่เค้าโครงรูปภาพ ให้เลือกแบบ “1 รูปภาพ” รูปร่างกรอบให้เลือก “สี่เหลี่ยมแบบมีเงา” คลิกปุ่ม “สร้าง” 2 3 4 5 บทที่ ๑ คุณธรรมสำหรับครู : พระครูพิจิตรศุภการ ๕ ก.พ. ๕๔
  • 12.
  • 13. ตาราง (Table) จำนวนนิสิต มจร.นครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๓
  • 14. แผนภูมิ (Graph) แสดงจำนวนนิสิต ภาคเรียน ๑/๒๕๕๓ แยกตามสาขาวิชา
  • 15. แผนภูมิ -2 จำนวนนิสิต ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๓ จำแนกตามสัดส่วนตามสาขาวิชา
  • 17. แผนผัง2 กระบวนการ ชีวิตและความตาย
  • 18. แผนผัง 3 วงกลม อิริยาบทของคน
  • 19. แผนผัง4 ลำดับชั้น โครงสร้างส่วนงาน วข.นครศรีธรรมราช
  • 20. แผนผัง5 ความสัมพันธ์ หลักทิศ ๖ ความสัมพันธ์ของบุคคล
  • 21. แผนผัง ๖ เมทริกซ์ ประเภทของดอกไม้
  • 22. แผนผัง ๗ พีรามิด การบริหารงานขององค์กร
  • 23. แผนผัง ๗ พีรามิด การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร มจร.
  • 24.
  • 25. Effect 1 เข้า ตัวอย่างผลงานวิชาการ
  • 27. Effect 2 จบ
  • 28. Effect 4 เส้นทางการเคลื่อนที่
  • 29.
  • 30. Video Insert Video Convert Video Video Cutter
  • 31.
  • 33. ต่างด้าว 34 บาท แรงงานต่างด้าว