SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
“โทรทัศน์และภาพยนตร์” 
“โทรทัศน์และภาพยนตร์” เป็นสื่อการสอนประเภทที่ 7 โดย Edgar dale ได้ 
แบ่งสื่อการสอนออกเป็น 10 ประเภท ซึ่งพิจารณาจากลักษณะของ 
ประสบการณ์ที่ได้รับจากสื่อการสอนประเภทนัน้โดยยึดเอาความเป็นรูปธรรม 
และนามธรรมเป็นหลักในการแบ่งประเภทและได้เรียงลาดับจากประสบการณ์ที่ 
เป็นรูปธรรมที่สุดไปหาประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมที่สุด เรียกว่า “กรวย 
ประสบการณ์” (Cone of Experience)
โทรทัศน์ (Television)
โทรทัศน์ หมายถึง ระบบการส่งภาพและเสียงไปพร้อมๆ กันด้วย 
เครื่องมืออิเลคทรอนิคส์เพื่อสื่อสารตามเป้าประสงค์ 
คาว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคาใน 
ภาษาอังกฤษ คือ 
television ซึ่งเป็นคา ผสมจากภาษากรีก 
tele- ("ระยะไกล“ - โทร) และvision 
ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" - 
ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี)
โทรทัศน์เป็นสื่อที่เจริญรุดหน้ามาก สามารถถ่ายทอด 
ข่าวสารได้ทัง้โดยคาพูด ข้อเขียน และรูปภาพ เป็นทัง้ภาพสี 
ขาวดา และภาพนิ่ง ภาพยนตร์และอื่น ๆ ถ่ายทอดข่าวสารได้ 
เร็วมาก และส่งภาพในระยะทางไกล ๆได้ด้วย รายการทาง 
โทรทัศน์จะคล้ายกับวิทยุแต่มีความหลากหลายกว่า โทรทัศน์ 
จึงเป็นสื่อที่มีบทบาทและมีผู้นิยมมาก
หลักการ 
- การวิจัยส่วนมากพบว่า โทรทัศน์ใช้สอนหลักความคิดรวบยอดและกฎเกณฑ์ 
ได้ผลดีที่สุด โทรทัศน์มีอิทธิพลต่อความรู้สึกของผู้ชม 
- โทรทัศน์เป็นเครื่องมือที่สามารถให้การศึกษาได้ทุกระดับ
ข้อดีของโทรทัศน์ 
1. ช่วยจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ เพราะโทรทัศน์ให้ผู้เรียนได้เห็นทัง้ 
ภาพและได้ยินเสียงในเวลาเดียวกัน เหมือนกับผู้ดูได้อยู่ใน 
สภาพเหตุการณ์นัน้ด้วย
ข้อดีของโทรทัศน์ 
2. เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลได้อย่างทวั่ถึง ทาให้มนุษย์ 
ได้รับข้อมูลในด้านต่างๆมากขึน้ โดยรับผ่านทัง้ทางตา และหู 
(ในวัยเด็กอาจจะส่งผลในเรื่องภาษาในแง่ที่ดีได้ เช่น มีรูปลิง 
แล้วมีพิธีกรในรายการบอกว่า นี่คือลิง เด็กก็จะสามารถ 
เชื่อมโยงโดยผ่านโทรทัศน์ได้)
ข้อดีของโทรทัศน์ 
3.ทาให้ผู้เรียนได้เรียนจากครูที่มีความชานาญใน 
เนือ้หาวิชานัน้จริงๆ และทาให้ครูประจาได้เห็นตัวอย่างการ 
สอนที่ดี และสามารถปรับปรุงวิธีสอนของตนให้ดีขึน้
4.โทรทัศน์ช่วยให้ครูสามารถสอนนักเรียนได้พร้อมๆ กันทุกห้องเรียน ทาให้นักเรียนมีโอกาสได้ 
เรียนเนือ้หาเหมือนๆ กันจากครูคนเดียวกัน ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและแรงงานครูได้เป็น 
อย่างมาก 
5.เป็นเครื่องมือที่สามารถลดขีดจากัดและ 
อุปสรรคต่างๆ ได้ เช่น เวลา ระยะทาง ขนาด โดย 
ใช้เทคนิคการถ่ายทารูปแบบต่างๆ ได้ 
6. ช่วยลดภาวะของผู้ใช้ คือ แทนที่จะบรรยาย 
หลายแห่งต่อคนที่ต่างๆเห็นได้ในเวลาเดียวกัน
ข้อจำกัดของโทรทัศน์ 
1. ส่งผลให้เด็กเกิดพัฒนาการล่าช้าได้ โดยเฉพาะในเรื่องกล้ามเนือ้ส่วนต่างๆ 
เพราะ.การดูโทรทัศน์จะส่งผลให้เด็กมีกิจกรรมต่างๆน้อยลง เช่น การออกไปเล่น 
นอกบ้าน การจับสิ่งของอื่นๆ ทาให้กล้ามเนือ้ไม่ได้ทางานอย่างเต็มที่ตามช่วงวัย 
2. พัฒนาการทางสติปัญญาอาจจะมีปัญหา โดยเฉพาะลักษณะการเชื่อมโยง 
ความเข้าใจของสงิ่ต่างๆที่พบในโทรทัศน์ เพราะโทรทัศน์นัน้มีการตัดภาพไปมา 
อย่างรวดเร็ว อาจจะทาให้เด็กไม่สามารถเข้าใจได้ว่า อะไรเป็นอะไร อะไรเป็น 
สาเหตุ อะไรเป็นผลลัพธ์
3. ไม่ส่งเสริมความสามารถของแต่ละบุคคล เพราะเวลาการสอนของแต่ละ 
บทเรียนของโทรทัศน์คงที่ นักเรียนที่เรียนช้าและนักเรียนที่เรียนเร็วจะต้อง 
ติดตามบทเรียนไปพร้อมกัน ทาให้เรียนเร็ว เบื่อหน่ายและคนที่เรียนช้าตามไม่ 
ทัน 
4. ครูผู้สอนทางโทรทัศน์ไม่มีโอกาสได้เห็นปฏิกิริยาของนักเรียนที่มีต่อการ 
สอน ทาให้ไม่มีโอกาส แก้ไขปรับปรุงการสอนทันทีทันใด ให้เหมาะสมกับ 
ปฏิกิริยาของนักเรียน 
5. ผู้ใช้ควรยึดหลักไว้ว่า โทรทัศน์ไม่ใช่เครื่องมือที่ใช้สอนแทนครู แต่โทรทัศน์ 
เป็นเครื่องช่วยสอนเท่านัน้ ครูควรพยายามใช้โทรทัศน์ให้ได้ประโยชน์เต็มที่ 
ในทางที่ถูกที่ควร
ภาพยนตร์ (Motion Picture)
คาว่า “ภาพยนตร์” (Films) ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ 
ภาพยนตร์ พ.ศ. 2473 ได้ให้ความหมายไว้ว่า คือ สิ่งที่ถูกถ่าย อัด 
หรือกระทา ด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียง หรือทัง้รูปและเสียง 
เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือ ข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือ 
เสียง หรือทัง้รูปและเสียง ได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์ หรือเครื่อง 
อย่างอื่นทานองเดียวกัน
ภาพยนตร์มีทัง้ภาพและเสียงประกอบอื่น ๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเลื่อนเป็นชุด 
ภาพโปร่งแสง ทัง้นีเ้ป็นเทคนิคต่างๆที่จะให้ผู้สอนเลือกใช้ให้เหมาะกับการ 
สอนแต่ละแบบ ภาพยนตร์เป็นสื่อที่ใช้ประสาทสัมผัสทางตา นับว่าเป็นสื่อ 
การสอนที่ให้ความประทับใจและทาให้ผู้เรียนจดจาเรื่องราวเนือ้หาได้นาน 
เพราะผู้เรียนจะได้ดูและได้ฟังคาบรรยายไปพร้อมๆกัน
ข้อดีภาพยนตร์ 
1. ภาพยนตร์ช่วยเชื่อมการเห็นภาพลักษณะ 
เคลื่อนไหวกับเสียงบรรยายประกอบด้วยการใช้ 
ประสาทรับรู้ถึง 2 อย่างทัง้จากการได้เห็นและการ 
ได้ยินในขณะเดียวกันนีเ้อง ทาให้การเรียนรู้มี 
ประสิทธิภาพ
ข้อดีภาพยนตร์ 
2. ภาพยนตร์ช่วยขจัดอุปสรรคในด้านความสามารถในการเรียนรู้ 
ภาพยนตร์เป็นเสมือนผู้สื่อสารที่มีแนวคิดที่มีประสิทธิภาพ ซงึ่จะใช้ทักษะการ 
อ่านเพียงเล็กน้อยเท่านัน้เอง นักเรียนที่ประสบปัญหาความยุ่งยากหรือไม่ 
เข้าใจ ประสบการณ์การเรียนรู้บางอย่างที่มีความซับซ้อน เช่น เรื่อง 
กระแสไฟฟ้าหรือเรื่องปฏิกิริยานิวเคลียร์ภาพยนตร์จะช่วยแก้ไขปัญหานีไ้ด้ด้วย 
เทคนิคการใช้งานกราฟิก และเทคนิคการถ่ายทาเข้าช่วยจะทาให้นักเรียนเข้าใจ 
ในบทเรียนเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวได้กระจ่าง นอกจากนีผู้้เรียนที่ขาดความสนใจ 
ในบทเรียนก็สามารถแก้ไขได้โดยใช้ภาพยนตร์เกี่ยวกับการแสดง หรือภาพยนตร์สี 
ธรรมชาติภาพที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวจะทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการ 
เรียนมากขึน้ได้
3. ภาพยนตร์ช่วยสร้างสิ่งต่างๆในอดีตได้ 
เช่น เหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์ ทาให้ 
น่าตื่นเต้นและเชื่อถือได้โดยการแสดง 
นาฏกรรมต่างๆ 
4. ภาพยนตร์ช่วยสร้างประสบการณ์ร่วม 
ช่วยเชื่อมประสบการณ์ที่แตกต่างกันของ 
สมาชิกในกลุ่มได้เช่น ใช้ภาพยนตร์ที่ใช้การ 
แสดงบทบาทเพื่อสร้างปัญหาสาหรับการทุก 
คนได้มีประสบการณ์ร่วมกันได้ก็เพราะการ 
ประยุกต์ใช้เนือ้หาของภาพยนตร์นัน้ นนั่เอง 
ข้อดีภำพยนตร์
ข้อดีภำพยนตร์ 
5. ภาพยนตร์สามารถแสดงการการกระทาที่ติดต่อเนื่องกันให้เห็นและ 
ทาได้เหมือนสภาพความเป็นจริงตามธรรมชาติได้ ซึ่งสื่อชนิดอื่น 
โดยเฉพาะสื่อทางภาษา หรือสื่อสิ่งพิมพ์ไม่สามารถจะทาได้ เช่น เทคนิค 
การถ่ายทาแบบสโลโมชั่น หรือเทคนิคแอนิเมชั่น ฯลฯ เป็นต้น 
6. ภาพยนตร์ทาให้เห็นประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างใกล้ชิด การ 
สาธิตของผู้ทรงคุณวุฒิถ่ายทาเป็นภาพยนตร์ทาให้เห็นการแสดงการ 
ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆแสดงขัน้ตอนประกอบการบรรยาย โดยถ่าย 
แบบระยะใกล้ ทาให้ผู้เรียนทุกคนได้เห็นภาพชัดเจนได้เห็นขัน้ตอนต่างๆ 
ของการสาธิตวิธีการหรือขัน้ตอนของกระบวนการต่างๆได้ชัดเจนกว่า 
การสอนแบบปกติ
ข้อดีภำพยนตร์ 
7. ภาพยนตร์เอาชนะอุปสรรคทางกายภาพในการเรียนหลายด้าน เช่น สามารถ 
เรียนรู้โลกภาพนอกได้กว้างขวาง เช่น การศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวจีน 
สเปน ฯลฯ หรือชีวิตสัตว์ใต้ทะเล การทัศนศึกษา ภูมิประเทศถิ่น 
ทะเลทราย ภูเขา ป่าไม้ ฯลฯ โดยภาพยนตร์ 
8. ภาพยนตร์บางชนิดสามารถใช้ในการทดสอบได้ด้วยคุณสมบัติของ 
ภาพยนตร์ที่มีความยืดหยุ่นได้เช่น ใช้บางตอนไม่จาเป็นจะต้องใช้ทัง้เรื่องก็ 
ได้ ปิดเสียงบรรยายตามตอนที่ต้องการก็ได้ เราสามารถทาภาพยนตร์มาใช้เป็น 
เครื่องมือการทดสอบความเจริญก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม 
วัตถุประสงค์ด้านต่างๆ
ข้อจำกัดของภำพยนตร์ 
การใช้เครื่องฉายภาพยนตร์ต้องอาศัยความรู้ความชานาญ 
ใช้เครื่องฉายได้ยากกว่าสื่อชนิดอื่นๆ 
ราคาค่อนข้างแพง ทาให้จานวนภาพยนตร์ที่ต้องใช้ไม่เพียงพอกับความต้อง 
ของผู้ใช้ 
จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมกับการประยุกต์ใช้โดยอาศัยคู่มือการเลือกเรื่องที่ 
เหมาะสมกับเนือ้หาวิชา ความสามารถของนักเรียน ความเหมาะสมกับระดับชัน้
4. ครูจะต้องระมัดระวังเกี่ยวกับความเหมาะสมของเนือ้หา ความคิดรวบยอด 
ที่อาจจะไม่สมบูรณ์แบบ หรือเป็นเรื่องราวบางตอนที่ล้าสมัย การตัดสินใจ 
เลือกภาพยนตร์ครูและผู้ออกแบบระบบการสอนจะต้องใช้ข้อมูลอื่นประกอบ 
ในการเลือกภาพยนตร์ด้วย 
5. ทดลองฉายดูเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการพิจารณาเลือกใช้ภาพยนตร์ ครูควร 
จดบันทึกเนือ้หาความคิดรวบยอดที่สาคัญขณะทดลองฉาย การทดลองฉาย 
ดู จะทาให้มีประโยชน์ต่อการวางแผนการจัดกิจกรรมต่างๆที่จะใช้ในการเรียน 
การสอน การประเมินผลการเรียนการพิจารณาใช้สื่ออื่นๆประกอบให้สัมพันธ์ 
กับภาพยนตร์
จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนด้วยโทรทัศน์และภาพยนตร์ 
1. ใช้เสนอเนือ้หาของบทเรียนโดยตรง ทาให้ผู้เรียนได้เข้าใจ 
เรื่องราวต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง 
2. ใช้เพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียน ให้มีความตัง้ใจในการ 
เรียน 
3. เพื่อฝึกฝนและพัฒนาทักษะที่ต้องการ 
4. ใช้เปลี่ยนความคิดรวบยอด และทัศนคติเป็นไปในทางที่พึง 
ปรารถนา 
5. แนะนาปัญหาต่างๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเรียนแบบ 
แก้ปัญหาหรือเพื่อการแก้ปัญหาเป็นรายบุคคล
6. ใช้ในการศึกษาเป็นรายบุคคล 
7. ใช้เป็นข้อสนทนา เพื่อประกอบกิจกรรมอย่าง 
อื่น เช่น เป็นข้อสนเทศในกิจกรรมทัศนศึกษา 
นอกสถานที่ 
8. ใช้ทบทวน สรุป บทเรียน หรือหน่วยการเรียนรู้ 
9. ใช้ที่กาหนดไว้ภาพยนตร์เป็นเครื่องมือทดสอบ 
หรือประเมินผลความรู้ความสามารถ ทักษะ 
และเจตคตขิองผู้เรียน ตามวัตถุประสงค์ต่างๆ
การนาโทรทัศน์มาใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 
- การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 
- รายการโทรทัศน์สอนภาษาอังกฤษ เช่น 
รายการ Chris Delivery, รายการ The 
Breakdown, รายการ WINK WINK 
English 
- ภาพยนตร์ภาษาอังกฤษบรรยายไทย
English Breakfast 
Chris Delivery 
The Breakdown 
ภาษา Plaza Film
#ผู้สอนต้องไม่ลืมว่าการใช้สื่อการเรียนการสอนด้วยโทรทัศน์และ 
ภาพยนตร์ เป็นการสื่อสารทางเดียว ผู้เรียนไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับส่อื 
ได้ ดงันั้น ควรจัดกิจกรรมเสริมให้นักเรียนได้คิดต่อยอดจากสิ่งที่เรียนรู้ 
เพราะการใช้ส่อืเพียงอย่างเดียวไม่ได้ส่งเสริมความสามารถของแต่ละบุคคล 
ตัวอย่างเช่น การชมรายการสอนภาษาอังกฤษ ผู้สอนควรสร้างแบบฝึกหัดที่ 
เกี่ยวกับเรื่องนั้นให้ผู้เรียนทา ทั้งนี้ ผู้สอนต้องเตรียมการสอน และออกแบบ 
การสอนที่เอือ้ประโยชน์ให้ผู้เรียนได้รับความรู้อย่างเต็มที่โดยไม่ลืมที่จะ 
ประเมินผลความรู้ความสามารถ ทักษะและเจตคติของผู้เรียนเพื่อให้ตรง 
ตามวัตถุประสงค์ต่างๆที่กา หนดไว้
การเชื่อมโยงการใช้โทรทัศน์และภาพยนตร์ 
กับการเรียนการสอนในศตวรรษที่21
ในการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21การสอนที่จัดวา่มีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องมี 
คุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ที่ทาหน้าที่สอน ผู้สอนต้องมีลักษณะของผู้ที่สามารถชีแ้นะ 
การเรียนรู้ (Learning Coaching) และสามารถทาหน้าที่เป็นผู้นาผู้เรียนท่องเที่ยวไปสู่ 
โลกแห่งการเรียนรู้ได้ กล่าวคือ ผู้เรียนจะเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ผ่าน 
คาแนะนาของผู้สอน ตัวอย่างการใช้โทรทัศน์และภาพยนตร์ในการเรียนการสอน อาทิ 
หลังจากให้ผู้เรียนชมภาพยนตร์ภาษาอังกฤษบรรยายไทย ควรจัดให้มีกิจกรรมให้ผู้เรียน 
ได้เกิดความรู้ต่อยอด เช่น สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับจากภาพยนตร์ และแสดงความ 
คิดเห็นในการนาแนวคิดนัน้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
คณะผู้จัดทำ 
นางสาวจินดาภรณ์ เทียนอินทร์ 554102006 
นางสาวชบาไพร ขานาพึง 554102012 
นางสาวพิชญ์กัญญาฬ์ สร้อยจิตร 554102041 
นายบุญนา เรืองเพชร 554102049 
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

More Related Content

What's hot

เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลWuttipong Tubkrathok
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีJanchai Pokmoonphon
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กSaowalak Kaewket
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 

Similar to โทรทัศน์และภาพยนตร์ - กรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์gingphaietc
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อpoms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Anny Hotelier
 
เหตุผลN2
เหตุผลN2เหตุผลN2
เหตุผลN2krubuatoom
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์tuphung
 
Multimedia learning-principles
Multimedia learning-principlesMultimedia learning-principles
Multimedia learning-principlesWind Vento
 
เทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละครเทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละครAttapon Thapanya
 
เทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละครเทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละครchatchai khaoprathum
 

Similar to โทรทัศน์และภาพยนตร์ - กรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale (12)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อ
สื่อสื่อ
สื่อ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
เหตุผลN2
เหตุผลN2เหตุผลN2
เหตุผลN2
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์
 
Multimedia learning-principles
Multimedia learning-principlesMultimedia learning-principles
Multimedia learning-principles
 
Train for the new trainer 2014
Train for the new trainer 2014Train for the new trainer 2014
Train for the new trainer 2014
 
เทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละครเทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละคร
 
เทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละครเทคนิคบทละคร
เทคนิคบทละคร
 

โทรทัศน์และภาพยนตร์ - กรวยประสบการณ์ของ Edgar Dale

  • 1.
  • 2. “โทรทัศน์และภาพยนตร์” “โทรทัศน์และภาพยนตร์” เป็นสื่อการสอนประเภทที่ 7 โดย Edgar dale ได้ แบ่งสื่อการสอนออกเป็น 10 ประเภท ซึ่งพิจารณาจากลักษณะของ ประสบการณ์ที่ได้รับจากสื่อการสอนประเภทนัน้โดยยึดเอาความเป็นรูปธรรม และนามธรรมเป็นหลักในการแบ่งประเภทและได้เรียงลาดับจากประสบการณ์ที่ เป็นรูปธรรมที่สุดไปหาประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมที่สุด เรียกว่า “กรวย ประสบการณ์” (Cone of Experience)
  • 3.
  • 5. โทรทัศน์ หมายถึง ระบบการส่งภาพและเสียงไปพร้อมๆ กันด้วย เครื่องมืออิเลคทรอนิคส์เพื่อสื่อสารตามเป้าประสงค์ คาว่าโทรทัศน์ในภาษาไทย มีที่มาจากคาใน ภาษาอังกฤษ คือ television ซึ่งเป็นคา ผสมจากภาษากรีก tele- ("ระยะไกล“ - โทร) และvision ที่มาจากภาษาละติน visio ("การมองเห็น" - ทัศน์) มักเรียกย่อเป็น TV (ทีวี)
  • 6. โทรทัศน์เป็นสื่อที่เจริญรุดหน้ามาก สามารถถ่ายทอด ข่าวสารได้ทัง้โดยคาพูด ข้อเขียน และรูปภาพ เป็นทัง้ภาพสี ขาวดา และภาพนิ่ง ภาพยนตร์และอื่น ๆ ถ่ายทอดข่าวสารได้ เร็วมาก และส่งภาพในระยะทางไกล ๆได้ด้วย รายการทาง โทรทัศน์จะคล้ายกับวิทยุแต่มีความหลากหลายกว่า โทรทัศน์ จึงเป็นสื่อที่มีบทบาทและมีผู้นิยมมาก
  • 7. หลักการ - การวิจัยส่วนมากพบว่า โทรทัศน์ใช้สอนหลักความคิดรวบยอดและกฎเกณฑ์ ได้ผลดีที่สุด โทรทัศน์มีอิทธิพลต่อความรู้สึกของผู้ชม - โทรทัศน์เป็นเครื่องมือที่สามารถให้การศึกษาได้ทุกระดับ
  • 8. ข้อดีของโทรทัศน์ 1. ช่วยจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ เพราะโทรทัศน์ให้ผู้เรียนได้เห็นทัง้ ภาพและได้ยินเสียงในเวลาเดียวกัน เหมือนกับผู้ดูได้อยู่ใน สภาพเหตุการณ์นัน้ด้วย
  • 9. ข้อดีของโทรทัศน์ 2. เป็นสื่อที่สามารถกระจายข้อมูลได้อย่างทวั่ถึง ทาให้มนุษย์ ได้รับข้อมูลในด้านต่างๆมากขึน้ โดยรับผ่านทัง้ทางตา และหู (ในวัยเด็กอาจจะส่งผลในเรื่องภาษาในแง่ที่ดีได้ เช่น มีรูปลิง แล้วมีพิธีกรในรายการบอกว่า นี่คือลิง เด็กก็จะสามารถ เชื่อมโยงโดยผ่านโทรทัศน์ได้)
  • 10. ข้อดีของโทรทัศน์ 3.ทาให้ผู้เรียนได้เรียนจากครูที่มีความชานาญใน เนือ้หาวิชานัน้จริงๆ และทาให้ครูประจาได้เห็นตัวอย่างการ สอนที่ดี และสามารถปรับปรุงวิธีสอนของตนให้ดีขึน้
  • 11. 4.โทรทัศน์ช่วยให้ครูสามารถสอนนักเรียนได้พร้อมๆ กันทุกห้องเรียน ทาให้นักเรียนมีโอกาสได้ เรียนเนือ้หาเหมือนๆ กันจากครูคนเดียวกัน ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่ายและแรงงานครูได้เป็น อย่างมาก 5.เป็นเครื่องมือที่สามารถลดขีดจากัดและ อุปสรรคต่างๆ ได้ เช่น เวลา ระยะทาง ขนาด โดย ใช้เทคนิคการถ่ายทารูปแบบต่างๆ ได้ 6. ช่วยลดภาวะของผู้ใช้ คือ แทนที่จะบรรยาย หลายแห่งต่อคนที่ต่างๆเห็นได้ในเวลาเดียวกัน
  • 12. ข้อจำกัดของโทรทัศน์ 1. ส่งผลให้เด็กเกิดพัฒนาการล่าช้าได้ โดยเฉพาะในเรื่องกล้ามเนือ้ส่วนต่างๆ เพราะ.การดูโทรทัศน์จะส่งผลให้เด็กมีกิจกรรมต่างๆน้อยลง เช่น การออกไปเล่น นอกบ้าน การจับสิ่งของอื่นๆ ทาให้กล้ามเนือ้ไม่ได้ทางานอย่างเต็มที่ตามช่วงวัย 2. พัฒนาการทางสติปัญญาอาจจะมีปัญหา โดยเฉพาะลักษณะการเชื่อมโยง ความเข้าใจของสงิ่ต่างๆที่พบในโทรทัศน์ เพราะโทรทัศน์นัน้มีการตัดภาพไปมา อย่างรวดเร็ว อาจจะทาให้เด็กไม่สามารถเข้าใจได้ว่า อะไรเป็นอะไร อะไรเป็น สาเหตุ อะไรเป็นผลลัพธ์
  • 13. 3. ไม่ส่งเสริมความสามารถของแต่ละบุคคล เพราะเวลาการสอนของแต่ละ บทเรียนของโทรทัศน์คงที่ นักเรียนที่เรียนช้าและนักเรียนที่เรียนเร็วจะต้อง ติดตามบทเรียนไปพร้อมกัน ทาให้เรียนเร็ว เบื่อหน่ายและคนที่เรียนช้าตามไม่ ทัน 4. ครูผู้สอนทางโทรทัศน์ไม่มีโอกาสได้เห็นปฏิกิริยาของนักเรียนที่มีต่อการ สอน ทาให้ไม่มีโอกาส แก้ไขปรับปรุงการสอนทันทีทันใด ให้เหมาะสมกับ ปฏิกิริยาของนักเรียน 5. ผู้ใช้ควรยึดหลักไว้ว่า โทรทัศน์ไม่ใช่เครื่องมือที่ใช้สอนแทนครู แต่โทรทัศน์ เป็นเครื่องช่วยสอนเท่านัน้ ครูควรพยายามใช้โทรทัศน์ให้ได้ประโยชน์เต็มที่ ในทางที่ถูกที่ควร
  • 15. คาว่า “ภาพยนตร์” (Films) ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์ พ.ศ. 2473 ได้ให้ความหมายไว้ว่า คือ สิ่งที่ถูกถ่าย อัด หรือกระทา ด้วยวิธีใด ๆ ให้ปรากฏรูปหรือเสียง หรือทัง้รูปและเสียง เป็นเรื่องหรือเหตุการณ์ หรือ ข้อความอันจักถ่ายทอดรูปหรือ เสียง หรือทัง้รูปและเสียง ได้ด้วยเครื่องฉายภาพยนตร์ หรือเครื่อง อย่างอื่นทานองเดียวกัน
  • 16. ภาพยนตร์มีทัง้ภาพและเสียงประกอบอื่น ๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเลื่อนเป็นชุด ภาพโปร่งแสง ทัง้นีเ้ป็นเทคนิคต่างๆที่จะให้ผู้สอนเลือกใช้ให้เหมาะกับการ สอนแต่ละแบบ ภาพยนตร์เป็นสื่อที่ใช้ประสาทสัมผัสทางตา นับว่าเป็นสื่อ การสอนที่ให้ความประทับใจและทาให้ผู้เรียนจดจาเรื่องราวเนือ้หาได้นาน เพราะผู้เรียนจะได้ดูและได้ฟังคาบรรยายไปพร้อมๆกัน
  • 17. ข้อดีภาพยนตร์ 1. ภาพยนตร์ช่วยเชื่อมการเห็นภาพลักษณะ เคลื่อนไหวกับเสียงบรรยายประกอบด้วยการใช้ ประสาทรับรู้ถึง 2 อย่างทัง้จากการได้เห็นและการ ได้ยินในขณะเดียวกันนีเ้อง ทาให้การเรียนรู้มี ประสิทธิภาพ
  • 18. ข้อดีภาพยนตร์ 2. ภาพยนตร์ช่วยขจัดอุปสรรคในด้านความสามารถในการเรียนรู้ ภาพยนตร์เป็นเสมือนผู้สื่อสารที่มีแนวคิดที่มีประสิทธิภาพ ซงึ่จะใช้ทักษะการ อ่านเพียงเล็กน้อยเท่านัน้เอง นักเรียนที่ประสบปัญหาความยุ่งยากหรือไม่ เข้าใจ ประสบการณ์การเรียนรู้บางอย่างที่มีความซับซ้อน เช่น เรื่อง กระแสไฟฟ้าหรือเรื่องปฏิกิริยานิวเคลียร์ภาพยนตร์จะช่วยแก้ไขปัญหานีไ้ด้ด้วย เทคนิคการใช้งานกราฟิก และเทคนิคการถ่ายทาเข้าช่วยจะทาให้นักเรียนเข้าใจ ในบทเรียนเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวได้กระจ่าง นอกจากนีผู้้เรียนที่ขาดความสนใจ ในบทเรียนก็สามารถแก้ไขได้โดยใช้ภาพยนตร์เกี่ยวกับการแสดง หรือภาพยนตร์สี ธรรมชาติภาพที่มีลักษณะการเคลื่อนไหวจะทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการ เรียนมากขึน้ได้
  • 19. 3. ภาพยนตร์ช่วยสร้างสิ่งต่างๆในอดีตได้ เช่น เหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์ ทาให้ น่าตื่นเต้นและเชื่อถือได้โดยการแสดง นาฏกรรมต่างๆ 4. ภาพยนตร์ช่วยสร้างประสบการณ์ร่วม ช่วยเชื่อมประสบการณ์ที่แตกต่างกันของ สมาชิกในกลุ่มได้เช่น ใช้ภาพยนตร์ที่ใช้การ แสดงบทบาทเพื่อสร้างปัญหาสาหรับการทุก คนได้มีประสบการณ์ร่วมกันได้ก็เพราะการ ประยุกต์ใช้เนือ้หาของภาพยนตร์นัน้ นนั่เอง ข้อดีภำพยนตร์
  • 20. ข้อดีภำพยนตร์ 5. ภาพยนตร์สามารถแสดงการการกระทาที่ติดต่อเนื่องกันให้เห็นและ ทาได้เหมือนสภาพความเป็นจริงตามธรรมชาติได้ ซึ่งสื่อชนิดอื่น โดยเฉพาะสื่อทางภาษา หรือสื่อสิ่งพิมพ์ไม่สามารถจะทาได้ เช่น เทคนิค การถ่ายทาแบบสโลโมชั่น หรือเทคนิคแอนิเมชั่น ฯลฯ เป็นต้น 6. ภาพยนตร์ทาให้เห็นประสบการณ์การเรียนรู้ได้อย่างใกล้ชิด การ สาธิตของผู้ทรงคุณวุฒิถ่ายทาเป็นภาพยนตร์ทาให้เห็นการแสดงการ ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆแสดงขัน้ตอนประกอบการบรรยาย โดยถ่าย แบบระยะใกล้ ทาให้ผู้เรียนทุกคนได้เห็นภาพชัดเจนได้เห็นขัน้ตอนต่างๆ ของการสาธิตวิธีการหรือขัน้ตอนของกระบวนการต่างๆได้ชัดเจนกว่า การสอนแบบปกติ
  • 21. ข้อดีภำพยนตร์ 7. ภาพยนตร์เอาชนะอุปสรรคทางกายภาพในการเรียนหลายด้าน เช่น สามารถ เรียนรู้โลกภาพนอกได้กว้างขวาง เช่น การศึกษาชีวิตความเป็นอยู่ของชาวจีน สเปน ฯลฯ หรือชีวิตสัตว์ใต้ทะเล การทัศนศึกษา ภูมิประเทศถิ่น ทะเลทราย ภูเขา ป่าไม้ ฯลฯ โดยภาพยนตร์ 8. ภาพยนตร์บางชนิดสามารถใช้ในการทดสอบได้ด้วยคุณสมบัติของ ภาพยนตร์ที่มีความยืดหยุ่นได้เช่น ใช้บางตอนไม่จาเป็นจะต้องใช้ทัง้เรื่องก็ ได้ ปิดเสียงบรรยายตามตอนที่ต้องการก็ได้ เราสามารถทาภาพยนตร์มาใช้เป็น เครื่องมือการทดสอบความเจริญก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของผู้เรียนตาม วัตถุประสงค์ด้านต่างๆ
  • 22. ข้อจำกัดของภำพยนตร์ การใช้เครื่องฉายภาพยนตร์ต้องอาศัยความรู้ความชานาญ ใช้เครื่องฉายได้ยากกว่าสื่อชนิดอื่นๆ ราคาค่อนข้างแพง ทาให้จานวนภาพยนตร์ที่ต้องใช้ไม่เพียงพอกับความต้อง ของผู้ใช้ จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมกับการประยุกต์ใช้โดยอาศัยคู่มือการเลือกเรื่องที่ เหมาะสมกับเนือ้หาวิชา ความสามารถของนักเรียน ความเหมาะสมกับระดับชัน้
  • 23. 4. ครูจะต้องระมัดระวังเกี่ยวกับความเหมาะสมของเนือ้หา ความคิดรวบยอด ที่อาจจะไม่สมบูรณ์แบบ หรือเป็นเรื่องราวบางตอนที่ล้าสมัย การตัดสินใจ เลือกภาพยนตร์ครูและผู้ออกแบบระบบการสอนจะต้องใช้ข้อมูลอื่นประกอบ ในการเลือกภาพยนตร์ด้วย 5. ทดลองฉายดูเป็นวิธีการที่ดีที่สุดในการพิจารณาเลือกใช้ภาพยนตร์ ครูควร จดบันทึกเนือ้หาความคิดรวบยอดที่สาคัญขณะทดลองฉาย การทดลองฉาย ดู จะทาให้มีประโยชน์ต่อการวางแผนการจัดกิจกรรมต่างๆที่จะใช้ในการเรียน การสอน การประเมินผลการเรียนการพิจารณาใช้สื่ออื่นๆประกอบให้สัมพันธ์ กับภาพยนตร์
  • 24. จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนด้วยโทรทัศน์และภาพยนตร์ 1. ใช้เสนอเนือ้หาของบทเรียนโดยตรง ทาให้ผู้เรียนได้เข้าใจ เรื่องราวต่างๆ ได้อย่างกว้างขวาง 2. ใช้เพื่อเร้าความสนใจของผู้เรียน ให้มีความตัง้ใจในการ เรียน 3. เพื่อฝึกฝนและพัฒนาทักษะที่ต้องการ 4. ใช้เปลี่ยนความคิดรวบยอด และทัศนคติเป็นไปในทางที่พึง ปรารถนา 5. แนะนาปัญหาต่างๆ เพื่อประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเรียนแบบ แก้ปัญหาหรือเพื่อการแก้ปัญหาเป็นรายบุคคล
  • 25. 6. ใช้ในการศึกษาเป็นรายบุคคล 7. ใช้เป็นข้อสนทนา เพื่อประกอบกิจกรรมอย่าง อื่น เช่น เป็นข้อสนเทศในกิจกรรมทัศนศึกษา นอกสถานที่ 8. ใช้ทบทวน สรุป บทเรียน หรือหน่วยการเรียนรู้ 9. ใช้ที่กาหนดไว้ภาพยนตร์เป็นเครื่องมือทดสอบ หรือประเมินผลความรู้ความสามารถ ทักษะ และเจตคตขิองผู้เรียน ตามวัตถุประสงค์ต่างๆ
  • 26. การนาโทรทัศน์มาใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ - การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม - รายการโทรทัศน์สอนภาษาอังกฤษ เช่น รายการ Chris Delivery, รายการ The Breakdown, รายการ WINK WINK English - ภาพยนตร์ภาษาอังกฤษบรรยายไทย
  • 27. English Breakfast Chris Delivery The Breakdown ภาษา Plaza Film
  • 28. #ผู้สอนต้องไม่ลืมว่าการใช้สื่อการเรียนการสอนด้วยโทรทัศน์และ ภาพยนตร์ เป็นการสื่อสารทางเดียว ผู้เรียนไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับส่อื ได้ ดงันั้น ควรจัดกิจกรรมเสริมให้นักเรียนได้คิดต่อยอดจากสิ่งที่เรียนรู้ เพราะการใช้ส่อืเพียงอย่างเดียวไม่ได้ส่งเสริมความสามารถของแต่ละบุคคล ตัวอย่างเช่น การชมรายการสอนภาษาอังกฤษ ผู้สอนควรสร้างแบบฝึกหัดที่ เกี่ยวกับเรื่องนั้นให้ผู้เรียนทา ทั้งนี้ ผู้สอนต้องเตรียมการสอน และออกแบบ การสอนที่เอือ้ประโยชน์ให้ผู้เรียนได้รับความรู้อย่างเต็มที่โดยไม่ลืมที่จะ ประเมินผลความรู้ความสามารถ ทักษะและเจตคติของผู้เรียนเพื่อให้ตรง ตามวัตถุประสงค์ต่างๆที่กา หนดไว้
  • 30. ในการเรียนการสอนศตวรรษที่ 21การสอนที่จัดวา่มีประสิทธิภาพ ผู้สอนต้องมี คุณสมบัติมากกว่าการเป็นผู้ที่ทาหน้าที่สอน ผู้สอนต้องมีลักษณะของผู้ที่สามารถชีแ้นะ การเรียนรู้ (Learning Coaching) และสามารถทาหน้าที่เป็นผู้นาผู้เรียนท่องเที่ยวไปสู่ โลกแห่งการเรียนรู้ได้ กล่าวคือ ผู้เรียนจะเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ผ่าน คาแนะนาของผู้สอน ตัวอย่างการใช้โทรทัศน์และภาพยนตร์ในการเรียนการสอน อาทิ หลังจากให้ผู้เรียนชมภาพยนตร์ภาษาอังกฤษบรรยายไทย ควรจัดให้มีกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้เกิดความรู้ต่อยอด เช่น สรุปความรู้และแนวคิดที่ได้รับจากภาพยนตร์ และแสดงความ คิดเห็นในการนาแนวคิดนัน้ไปประยุกต์ใช้ในอนาคต
  • 31. คณะผู้จัดทำ นางสาวจินดาภรณ์ เทียนอินทร์ 554102006 นางสาวชบาไพร ขานาพึง 554102012 นางสาวพิชญ์กัญญาฬ์ สร้อยจิตร 554102041 นายบุญนา เรืองเพชร 554102049 คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ